The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียนศิลปะ ป.4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หนังสือเรียนศิลปะ ป.4

หนังสือเรียนศิลปะ ป.4

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹
¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙŒÈÅÔ »Ð

ªéѹ»ÃжÁÈ¡Ö ÉÒ»‚·èÕ ô

µÒÁËÅ¡Ñ ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ¢é¹Ñ ¾é¹× °Ò¹ ¾Ø·¸È¡Ñ ÃÒª òõõñ

¼àÙŒ ÃÂÕ ºàÃÕ§ ñðð.-

¨ÃÕ ¾Ñ¹¸ ÊÁ»ÃÐʧ¤

หนงั สอื เรียน รายวิชาพื้นฐาน

ศิลปะ

ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔

กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ผู้เรียบเรยี ง

จีรพันธ์ สมประสงค์

ผตู้ รวจ

ผศ.รสริน สทุ องหล่อ
จิรวัฒน์ โคตรสมบตั ิ
ผศ. ดร.ชัยฤทธ์ิ ศลิ าเดช

บรรณาธกิ าร

ผศ. ดร.ผดงุ พรมมลู

หนังสือเรยี น รายวชิ าพ้ืนฐาน

ศลิ ปะ

ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๔

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมดุ แหง่ ชาติ
จีรพันธ์ สมประสงค.์
หนังสือเรยี น รายวชิ าพนื้ ฐาน ศลิ ปะ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4.--
กรงุ เทพฯ : แมค็ เอด็ ดูเคช่นั , 2560.
192 หนา้ .
1. ศิลปะ--การศึกษาและการสอน (ประถมศกึ ษา). I. ช่อื เรอื่ ง.
372.5
ISBN 978-616-274-807-3

สงวนลิขสทิ ธิ์ : มกราคม ๒๕๖๐
สงวนลขิ สิทธติ์ ามกฎหมาย หา้ มลอกเลยี น ไมว่ า่ จะเปน็
สว่ นหนึ่งสว่ นใดของหนังสอื เล่มนี้ นอกจากจะไดร้ บั อนุญาต
เปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร

จดั พิมพ์และจ�ำ หนา่ ยโดย

สง่ ธนาณตั สิ ั่งจา่ ย ไปรษณยี ล์ าดพร้าว
ในนาม บรษิ ัท แม็คเอด็ ดเู คชน่ั จ�ำ กดั
เลขที่ 9/99 อาคารแม็ค ซอยลาดพร้าว 38 ถนนลาดพร้าว
แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรงุ เทพฯ 10900
☎ 0-2938-2022-7 โทรสาร 0-2938-2028

www.MACeducation.com

พิมพ์ที่ : บรษิ ัท สภุ ัชนญิ ค์ พรินติง้ กรปุ๊ จ�ำ กัด

คำ� นำ�

หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ เป็น
หนังสือเรียนท่ีได้ผ่านการปรับปรุงพัฒนาด้วยวิสัยทัศน์ของผู้เรียบเรียง โดยมุ่งให้หนังสือศิลปะน้ีทัน
ยุคสมัยและทันเหตุการณ์ในการด�ำเนินการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ
ทัง้ นีส้ บื เนื่องมาจากการใช้หลกั สูตรการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ ไดด้ �ำเนินการใช้
มาจนครบรอบ ๖ ปแี ลว้ และผลจากไดม้ กี ารศกึ ษาวจิ ยั และตดิ ตามประเมนิ ผลการใชห้ ลกั สตู รเปน็ ระยะๆ
มาอย่างต่อเนื่องในหลายรูปแบบ เช่น ในการจัดประชุมโต๊ะกลมของผู้เช่ียวชาญเพ่ือวิเคราะห์หลักสูตร
การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ และการจัดประชุมประชาพจิ ารณแ์ บบ Focus Group อีก ๕ จดุ
ทว่ั ประเทศ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๔๗ และการจดั สมั มนาแบบ Online ผ่านทางเว็บไซต์ของกระทรวง
ศกึ ษาธกิ าร ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ตลอดจนการนเิ ทศตดิ ตามผลการใชห้ ลกั สตู รจากโรงเรยี นนำ� รอ่ งตา่ งๆ ใน
ปี พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๔๗ พบว่า หลกั สตู ร/มาตรฐานและสาระการเรยี นรทู้ ผ่ี า่ นมายงั มีประเด็นปัญหาซง่ึ
เป็นอุปสรรคสำ� คัญตอ่ การพฒั นาหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน โดยเฉพาะอย่างยง่ิ สาระการเรียนร้ขู าด
ความชดั เจน ซำ้� ซอ้ น จงึ นำ� ไปสกู่ ารปฏบิ ตั จิ รงิ ไดย้ าก ดงั นน้ั คณะกรรมการและผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ นการพฒั นา
หลักสูตรจึงได้มาร่วมกันด�ำเนินการปรับมาตรฐานและผลการเรียนรู้รายปี รายภาค ให้เป็นมาตรฐาน
การเรียนรู้ชน้ั ปแี ละสาระการเรียนรู้ชนั้ ปี
ผลจากการปรับหลักสูตรแกนกลางใหม่ไปเป็นมาตรฐานการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ครั้งนี้
ทางบรษิ ทั แมค็ เอด็ ดเู คชน่ั จำ� กดั เขา้ ใจสถานการณด์ ี จงึ ไดใ้ หม้ กี ารดำ� เนนิ การปรบั ปรงุ หนงั สอื เรยี นของ
กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะใหม่ทั้งหมด (ตลอดแนว ๑๒ ป)ี ใหต้ รงและสอดรับกบั มาตรฐานการเรยี นรู้
และสาระการเรียนรูท้ ก่ี ำ� หนดใหม่ ไดแ้ ก่ การทบทวนปรับปรุงหนว่ ยการเรยี นรู้ใหม่ การปรบั สาระการ
เรียนรู้ประจ�ำหน่วยใหม่ให้ตรงกับสาระการเรียนรู้ชั้นปีท่ีก�ำหนด การเพิ่มเติมเนื้อหาสาระที่ขาดและ
ตรวจสอบเน้นผลให้สะท้อนถึงมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะให้
ตรงประเด็น และให้เห็นถึงความแตกต่างในเนื้อหาสาระระหว่างช่วงชั้นและชั้นปี ไม่ให้มีการเรียน
ซ�้ำซ้อนกัน และดูถึงความยากง่ายให้เหมาะสมกับวัยและระดับชั้นของผู้เรียน ทั้งนี้โดยยึดถือตาม
มาตรฐานช้ันปที ก่ี ำ� หนดไวท้ ุกประการ

จีรพันธ์ สมประสงค์

หนงั สอื เรยี น ศลิ ปะ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ ตรงตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ดังนี้

สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ ทัศนศลิ ป์ ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
วิเคราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณ์คุณคา่ งานทศั นศลิ ป์ ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคดิ
ต่องานศลิ ปะอย่างอสิ ระ ชื่นชม และประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจ�ำวัน
ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งทศั นศลิ ป์ประวตั ศิ าสตร์และวฒั นธรรม
เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภมู ิปญั ญาไทยและสากล

สาระที่ ๒ ดนตรี ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์
วจิ ารณค์ ณุ คา่ ดนตรี ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคดิ ตอ่ ดนตรอี ยา่ งอสิ ระ ชน่ื ชม
และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำ� วัน
ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม
เห็นคุณค่าของดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ ศ ๓.๑ เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ยา่ งสรา้ งสรรค ์ วเิ คราะห ์ วพิ ากษ์
วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม
และประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำ� วนั
ศ ๓.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวตั ศิ าสตร ์ และวฒั นธรรม
เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล

คำ� ชแ้ี จง

หนังสือเรียน รายวิชาพนื้ ฐาน ศิลปะ กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ บริษทั
แม็คเอ็ดดูเคช่ัน จำ�กัด ได้จัดทำ�และพัฒนาขึ้นใหม่ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยในการจัดทำ�และพัฒนาหนังสือเรียนแม็คครั้งน้ี นอกจากจัดเนื้อหาให้ตรงกับ
สาระแกนกลางและตัวชี้วัดช้ันปีที่กระทรวงศึกษาธิการกำ�หนดแล้ว บริษัท แม็คเอ็ดดูเคช่ัน จำ�กัด
ได้ดำ�เนินการศกึ ษาวจิ ัยมาดำ�เนนิ การพัฒนาหนงั สือเรยี นเลม่ นี้ ดังน้ี
๑. จัดท�ำสาระการเรียนรู้ให้ตรงตามตัวชี้วัดชั้นปีและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้ของ
หลกั สูตรทุกมาตรฐานท่หี ลกั สูตรแกนกลางกำ� หนดให้เรียนในแต่ละปี
๒. จัดให้มีกิจกรรมเพ่ือฝึกกระบวนการเรียนรู้ท่ีมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จนบรรลุตาม
มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชวี้ ดั ช้ันปขี องหลกั สตู ร ซ่ึงสามารถศึกษารายละเอียดได้จากแผนการจัดการ
เรยี นรทู้ บ่ี รษิ ทั ไดจ้ ดั ทำ�ขนึ้ ตามแนวทางการวางแผนแบบมองยอ้ นกลบั (Backward Design) โดยสอดแทรก
ไว้ในกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจและ/หรือกิจกรรมแนะนำ� ท้ังน้ีผู้สอนควรชี้แจงและให้คำ�แนะนำ�
เพิ่มเตมิ เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนทกุ คนปฏิบัตไิ ด้จรงิ
๓. เพ่ือสนองนโยบายในการพัฒนาประเทศ โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและนโยบาย
ใหม้ กี ารขบั เคลอ่ื นปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสสู่ ถานศกึ ษาทกุ ระดบั ไดม้ กี ารเพม่ิ เตมิ เนอื้ หาและกจิ กรรม
การเรียนรู้ในรูปแบบภาระงานท่ีมุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป
ประยุกต์ใช้ โดยแทรกไว้ในกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจบางหน่วยท่ีมีเน้ือหาสอดคล้อง โดยใช้ตรา
สญั ลกั ษณโ์ ครงการขบั เคลอ่ื นปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสสู่ ถานศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ก�ำกบั ไว้ เพื่อเป็นจุดสังเกตส�ำหรับครผู ้สู อนจะได้แนะน�ำผ้เู รยี น และครูควรเพมิ่ เตมิ รายละเอยี ดเกย่ี วกับ
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งใหแ้ กผ่ เู้ รยี นตามความเหมาะสม ทง้ั นคี้ วรเนน้ การเชอ่ื มโยงไปสกู่ ารปฏบิ ตั จิ รงิ
ในชวี ิตประจำ� วัน

บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จำ�กัด ขอขอบพระคุณทุกท่านท่ีให้ความไว้วางใจเลือกใช้ส่ือการเรียนรู้
ของบริษัท จึงขอตั้งปณิธานว่า จะสร้างสรรค์ส่ือการเรียนรู้ที่มีคุณค่า และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
วงการศกึ ษาตลอดไป


บริษัท แม็คเอ็ดดเู คชัน่ จ�ำกดั

สารบญั

ทศั นศิลป์ หนา้

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ การสร้างสรรคศ์ ิลปะจากธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ๑

ตรงตามมาตรฐาน ศ ๑.๑ ตัวชีว้ ัดขอ้ ๑, ๓, ๕, ๖, ๘ และ ศ ๑.๒ ตัวชี้วัดขอ้ ๑, ๒

๑.๑ ทศั นธาตุในธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม (เสน้ /ส/ี รูปร่าง-รูปทรง/ ๔
พ้นื ผิว-บริเวณว่าง/นำ�้ หนัก/แสง-เงา) ๕
- ลกั ษณะของเสน้ ๕
- ลกั ษณะของส ี ๖
- ลักษณะของรปู รา่ งและรูปทรง ๗
- ลักษณะของพนื้ ผิว-บริเวณวา่ ง ๗
- ลักษณะของนำ�้ หนกั -ระยะความลกึ ๘
- ลักษณะของแสง-เงา ๑๑
- การเขยี นภาพจากเส้น รปู ร่าง และรปู ทรง ๑๑
๑.๒ การเขยี นภาพจากธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม (การจัดภาพ/การระบายสภี าพ) ๑๒
- การจัดภาพ ๑๕
- การระบายสภี าพ
๑.๓ การเขียนภาพเร่ืองราว จนิ ตนาการ และเหตุการณ์ในทอ้ งถิ่น ๑๘

หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒ การประยกุ ต์ใชท้ ักษะสรา้ งงานศิลปะ ๑๙
๑๙
ตรงตามมาตรฐาน ศ ๑.๑ ตวั ชี้วดั ข้อ ๒,​๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๙ และ ศ ๑.๒ ตวั ชี้วดั ขอ้ ๑, ๒ ๒๐
๒๕
๒.๑ การประยกุ ตท์ ดลองสแี ละวสั ด ุ ๒๗
- วสั ดุทใี่ ชใ้ นการเขียนภาพระบายส ี ๒๗
๒.๒ เทคนิควธิ ีการทดลองฝึกทกั ษะดว้ ยสี ๒๙
๒.๓ วสั ดอุ ปุ กรณใ์ นการวาดภาพ ๓๐
๒.๔ การประยกุ ต์สรา้ งงานศลิ ปะด้วยวัสดุต่างๆ
- ประเภทของการสรา้ งสรรค์งานวัสดุ
- ประเภทของวสั ดทุ ีใ่ ช้ในการสรา้ งสรรค์
- การปฏบิ ัตงิ านสรา้ งสรรค์ด้วยวัสด ุ

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๓ สนุ ทรียะในการสร้างงานศิลปะและวฒั นธรรม หนา้

ตรงตามมาตรฐาน ศ ๑.๑ ตวั ชว้ี ัดขอ้ ๑, ๓, ๔, ๕, ๖ และ ศ ๑.๒ ตวั ชว้ี ัดข้อ ๑, ๒ ๓๖

๓.๑ ศลิ ปะในการปั้น ๓๗
- ประเภทของงานปัน้ ๓๗
- วสั ดทุ ใ่ี ชใ้ นการปัน้ ๓๙
- การปฏิบัตงิ านปน้ั ๓๙
๓.๒ ศลิ ปะในการแกะสลกั ๔๔
- ประเภทและวสั ดทุ ี่ใช้ในการแกะสลกั ๔๔
- เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการแกะสลกั ๔๕
- การปฏิบตั งิ านแกะสลัก ๔๕
๓.๓ ศลิ ปะในการพมิ พ์ภาพ ๔๙
- ประเภทของการพมิ พ์ภาพ ๔๙
- ลักษณะของการพมิ พ์ภาพ ๕๑
- การปฏบิ ัติงานพิมพ์ภาพ ๕๒
๓.๔ ศิลปะในการวาดภาพวฒั นธรรมและประเพณีในทอ้ งถนิ่ ๕๖
- หลกั การวาดภาพชุมชน ๕๖
- หลกั การวาดภาพวัฒนธรรมและประเพณี ๕๗

ดนตรี ๕๙
๖๐
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๔ เสียงจังหวะและโน้ตดนตรี
๖๑
ตรงตามมาตรฐาน ศ ๒.๑ ตวั ช้ีวัดขอ้ ๑, ๒,​๓, ๔, ๕, ๗ และ ศ ๒.๒ ตวั ชี้วัดขอ้ ๑, ๒ ๖๑
๖๓
๔.๑ การเคลอื่ นไหวตามเสียงและจังหวะดนตร ี ๗๔
- ลกั ษณะการเคล่ือนไหวร่างกายตามจังหวะ ๗๔
- ลักษณะของจังหวะ ๗๖
๔.๒ เคร่ืองเคาะจงั หวะ
- ประเภทของเคร่อื งเคาะจังหวะ
- การรวมวงเล่นเครื่องเคาะจังหวะ

๔.๓ เรยี นรู้โน้ตเพลง หน้า
- โนต้ ไทย ๗๘
- โนต้ สากล ๗๘
๗๙
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๕ วฒั นธรรมดนตรใี นท้องถนิ่ ไทย
๘๕
ตรงตามมาตรฐาน ศ ๒.๑ ตัวช้วี ดั ข้อ ๕, ๖, ๗ และ ศ ๒.๒ ตัวชี้วัดข้อ ๑, ๒
๘๖
๕.๑ การแสดงพ้นื เมืองประกอบดนตร ี ๘๖
- การแสดงพื้นเมอื งประกอบดนตรภี าคกลาง ๘๗
- การแสดงพน้ื เมืองประกอบดนตรีภาคเหนอื ๘๘
- การแสดงพืน้ เมืองประกอบดนตรภี าคใต ้ ๘๙
- การแสดงพืน้ เมืองประกอบดนตรีภาคอีสาน
๙๒
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๖ ทกั ษะการฟงั และการขับรอ้ งเพลง
๙๓
ตรงตามมาตรฐาน ศ ๒.๑ ตวั ชี้วดั ข้อ ๒, ๕, ๗ และ ศ ๒.๒ ตวั ชวี้ ดั ข้อ ๑, ๒ ๙๓
๙๓
๖.๑ การฟงั และการร้องเพลงไทยเดมิ ๙๔
- ประเภทของเพลงไทยเดิม ๙๘
- จงั หวะของเพลงไทยเดิม ๙๘
- เครื่องดนตรไี ทย ๑๐๓
- หลกั การปฏิบตั ิในการฟงั และการขบั ร้องเพลงไทยเดิม ๑๐๓
- เพลงไทยเดมิ ทค่ี วรฝกึ รอ้ ง ๑๐๖
๖.๒ การฟังและการร้องเพลงไทยสากล ๑๐๗
- เคร่ืองดนตรีสากล ๑๑๐
- การขับรอ้ งเพลงไทยสากล ๑๑๓
- เพลงไทยสากลท่ีควรฝึกร้อง ๑๑๓
- การฝกึ รอ้ งเพลงประเภทปลุกใจ ๑๑๔
๖.๓ การฟงั และการรอ้ งเพลงพระราชนพิ นธ ์
- เพลงพระราชนพิ นธ์
- เพลงพระราชนพิ นธท์ คี่ วรฝกึ ร้อง

นาฏศิลป์ หนา้

หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๗ การรับรทู้ างนาฏศิลป ์ ๑๑๗
๑๑๘
ตรงตามมาตรฐาน ศ ๓.๑ ตวั ชีว้ ัดข้อ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ และ ศ ๓.๒ ตวั ชว้ี ดั ข้อ ๑, ๒, ๓, ๔
๑๑๙
๗.๑ ท่าร่ายร�ำไทย ๑๒๐
- นาฏยศพั ท์เบ้ืองตน้ ๑๓๑
๗.๒ การแสดงท่าทางประกอบเพลง ๑๔๗
๗.๓ ทา่ รำ� เตน้ ในการแสดงประกอบเพลง ๑๔๗
- ภาษาท่า ๑๕๐
- รำ� วงมาตรฐาน ๑๕๗
๗.๔ ภาษาทา่ สากล
๑๖๒
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๘ การแสดงพน้ื เมืองในทอ้ งถิ่นไทย
๑๖๓
ตรงตามมาตรฐาน ศ ๓.๑ ตัวชว้ี ัดขอ้ ๒, ๓, ๔, ๕ และ ศ ๓.๒ ตวั ชีว้ ดั ขอ้ ๑, ๒, ๓, ๔ ๑๖๓
๑๗๑
๘.๑ การแสดงพ้นื เมอื งอย่างมีคุณค่าตามแบบนาฏศลิ ปไ์ ทย ๑๗๒
- การแสดงพ้ืนเมืองของภาคตา่ งๆ ทค่ี วรร้จู ัก ๑๗๙
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
ดัชนี

กล่มุ สาระการเรียนร้ศู ิลปะ
ทัศนศลิ ป์

¡ÒÃÊÌҧÊÃäÈÅÔ »Ð¨Ò¡

ñ ¸รรมªาµáิ ละส§ิè áÇ´ล้Íม

ศิลกปาะรจสารก้าธงรสรรมรชคา์ ติ ๑.๑ ทัศนธาตุในธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (เส้น/สี/รูปร่าง-
และส่งิ แวดลอ้ ม รูปทรง/พน้ื ผวิ -บรเิ วณว่าง/น้ำาหนัก/แสง-เงา) (มฐ. ศ ๑.๑
ตัวชี้วัดขอ้ ๑, ๓, ๕, ๘ และ ศ ๑.๒ ตวั ชีว้ ดั ขอ้ ๒)

๑.๒ การเขยี นภาพจากธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม (การจัดภาพ/
การระบายสีภาพ) (มฐ. ศ ๑.๑ ตวั ชวี้ ัดขอ้ ๑, ๓, ๕, ๖, ๘ และ ศ
๑.๒ ตัวช้วี ัดข้อ ๑, ๒)

๑.๓ การเขยี นภาพเรอ่ื งราว จนิ ตนาการ และเหตกุ ารณใ์ นทอ้ งถน่ิ
(มฐ. ศ ๑.๑ ตวั ช้ีวดั ข้อ ๕, ๖, ๘ และ ศ ๑.๒ ตัวชว้ี ดั ขอ้ ๑, ๒)

จดุ ประสงค์การเรียนรปู้ ระจาำ หนว่ ย
๑. บอกลกั ษณะของเสน้ ส ี รปู รา่ ง รูปทรง พื้นผิว บริเวณว่าง นา้ำ หนกั แสง และเงาต่างๆ

ได ้ (มฐ. ศ ๑.๑ ตวั ชว้ี ัดข้อ ๑, ๓, ๕, ๘ และ ศ ๑.๒ ตัวชวี้ ัดขอ้ ๒)
๒. เขียนภาพจากเส้น สี รูปร่าง รูปทรง พ้ืนผิว บริเวณว่าง น้ำาหนัก แสง และเงาได้

(มฐ. ศ ๑.๑ ตวั ชีว้ ดั ข้อ ๓, ๕, ๘ และ ศ ๑.๒ ตัวชว้ี ัดขอ้ ๑, ๒)
๓. เขียนภาพธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มตามหลกั การจัดภาพได ้ (มฐ. ศ ๑.๑ ตวั ช้วี ัดข้อ ๑,

๓, ๕, ๘ และ ศ ๑.๒ ตวั ช้ีวดั ข้อ ๑, ๒)
๔. ระบายสภี าพตามลกั ษณะเหมือนจริง และตามจนิ ตนาการได้ (มฐ. ศ ๑.๑ ตวั ชวี้ ัดข้อ ๕,

๖, ๘ และ ศ ๑.๒ ตวั ชี้วดั ข้อ ๑, ๒)
๕. เขยี นภาพจากเรอ่ื งราว จนิ ตนาการ และเหตกุ ารณใ์ นท้องถิ่นได้ (มฐ. ศ ๑.๑ ตัวช้วี ัดข้อ

๕, ๖, ๘ และ ศ ๑.๒ ตัวชี้วดั ขอ้ ๑, ๒)

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ การสรา้ งสรรคศ์ ิลปะจากธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม 3

๑.๑ ทัศนธาตุในธรรมชาตแิ ละ
ส่ิงแวดลอ้ ม (เส้น/ส/ี รูปรา่ ง-รปู ทรง/
พนื้ ผิว-บรเิ วณวา่ ง/น้ำ�หนัก/แสง-เงา)

ในธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมรอบๆ ตัวเรา มีส่ิงท่ีน่าสนใจมากมาย ซ่ึงมองเป็นรูป
เป็นร่างสวยงาม ดูแปลกตา ความสวยงามของธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเหล่านี้ชวนให้เรา
ได้ฝึกสังเกต รับรู้ มองเห็นด้วยตา ซึ่งสามารถถ่ายทอดออกมาในรูปของงานศิลปะได้อย่าง
มากมาย ทั้งในเรื่องของจินตนาการและประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลได้จากการสังเกต รับรู้
ดงั น้นั การรู้จกั สงั เกตสง่ิ ทอี่ ยู่รอบตวั น้จี งึ เป็นพื้นฐานเบอ้ื งต้นในการฝกึ ฝนการสรา้ งสรรคง์ าน
ศลิ ปะ

เส้น รูปรา่ ง รปู ทรงในธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม

ในเร่ืองของทัศนธาตุซึ่งเป็นส่วนประกอบสำ�คัญและมีความจำ�เป็นในการนำ�มา
สรา้ งสรรค์งานศิลปะ เราต้องเรยี นรแู้ ละทำ�ความเข้าใจ เพ่ือใหส้ ามารถน�ำ ความรู้ ทกั ษะ และ
ประสบการณ์ท่ีเรียนรู้มาไปอธิบาย จำ�แนกแยกแยะ หรือเปรียบเทียบกับสิ่งต่างๆ ท่ีมีใน
ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มรอบๆ ตวั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งตามลักษณะเฉพาะของทศั นธาตุ

4 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๑ การสร้างสรรค์ศลิ ปะจากธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม

ลักษณะของเส้น

เส้น คือ จุดท่ีเคล่อื นทไี่ ป เสน้ มมี ิตเิ ดยี ว คือ มีความยาว มีทศิ ทาง และมีขนาด เสน้ มี
ลักษณะแตกต่างกนั ไป เชน่ เส้นตรง เสน้ โคง้ เส้นคด เส้นฟันปลา (ซิกแซก) ทิศทางของเสน้
มีทั้งแนวราบ แนวดิ่ง แนวเฉียง ขนาดของเส้นจึงไม่มีความกว้าง ข้ึนอยู่กับอุปกรณ์ท่ีใช้ใน
การลากเสน้ นนั้ ๆ

เสน้ สามารถใหค้ วามรสู้ กึ ทแ่ี ตกตา่ งกนั ไปอีกด้วย เช่น
๑. เสน้ ต้ังหรือเส้นดงิ่ ให้ความรสู้ ึกมน่ั คง แข็งแรง
แสดงให้เห็นถึงความมีระเบยี บเรยี บร้อย

๒. เส้นนอน ให้ความรู้สึกราบเรียบ สงบน่ิง ไม่
เคล่ือนไหว แสดงถงึ ความนิ่ง ความกว้าง

๓. เส้นเฉียง ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว ไม่อยู่น่ิง
แสดงถึงความไมม่ ่ันคงและไมป่ ลอดภัย

๔. เสน้ โคง้ ใหค้ วามรสู้ ึกนุ่มนวล อ่อนโยน แสดงถงึ
ความกลมกลืนและสนกุ สนาน

๕. เสน้ ประหรอื เสน้ ขาด ใหค้ วามรสู้ กึ ตน่ื เตน้ สบั สน
แสดงถึงความแตกแยกและไม่เปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๑ การสร้างสรรค์ศิลปะจากธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม 5

แสดงภาพจากเสน้

ลกั ษณะของสี

สมี อี ทิ ธพิ ลตอ่ ความรสู้ กึ ของผดู้ ู สสี ง่ เสรมิ ใหผ้ ดู้ เู กดิ การรบั รไู้ ด้ เกดิ ความรสู้ กึ ทางอารมณ์
ทางความคิด ระบบของสีแบง่ เปน็ ๓ กลมุ่ คือ สแี ท้ สอี อ่ น และสีแก่
หลกั การของสีมกี ารกำ�หนดลักษณะของสไี ว้ ๓ ขั้น คือ
สขี ้ันที่ ๑ เป็นสหี ลกั ไดแ้ ก่ สแี ดง สเี หลอื ง และสนี ้ำ�เงนิ
สีข้ันที่ ๒ เปน็ สีทเี่ กิดขนึ้ จากการผสมกนั ของสขี น้ั ท่ี ๑ ได้แก่ สสี ้ม สเี ขียว และสีมว่ ง
สขี น้ั ที่ ๓ เป็นสีท่เี กิดขน้ึ จากการผสมกันของสขี ้ันที่ ๑ และสขี นั้ ที่ ๒ ไดแ้ ก่ สแี ดงส้ม สี
เหลอื งสม้ สีเขียวเหลือง สเี ขียวน้�ำ เงิน สีมว่ งนำ้�เงนิ และสมี ว่ งแดง

ลักษณะของรปู รา่ ง-รูปทรง

รปู รา่ ง คอื เส้นรอบนอกหรอื เสน้ เค้าโครงของรปู ทม่ี องเหน็ เปน็ ๒ มิติ คอื ความกวา้ ง
กับความสงู หรอื ภาพท่สี ามารถมองเห็นได้เพียงด้านเดียว

6 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ การสรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะจากธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

รปู ทรง คอื ภาพทแี่ สดงปริมาตรและรายละเอียดภายในเสน้ ขอบเขต มีลักษณะเปน็
๓ มติ ิ มองเห็นความกว้าง ความยาว ความหนาหรือความลึก
รูปร่าง-รูปทรงสามารถแบ่งได้ ๓ ประเภท คือ รูปร่าง-รูปทรงเรขาคณิต รูปร่าง-
รปู ทรงธรรมชาติ และรปู ร่าง-รปู ทรงอสิ ระ

รูปร่าง

รูปทรง

ลักษณะของพืน้ ผิว-บริเวณว่าง


พน้ื ผวิ เปน็ ลกั ษณะภายนอกของวตั ถตุ า่ งๆ ทสี่ ามารถมองเหน็ ไดด้ ว้ ยตาหรอื สมั ผสั จบั
ตอ้ งได้ พื้นผวิ ให้ความรู้สึกตอบสนองได้ เช่น พ้นื ผวิ มัน พ้นื ผวิ ละเอียด พนื้ ผวิ หยาบ พน้ื ผวิ
เรียบ พื้นผวิ ขรขุ ระ เปน็ ตน้
บริเวณวา่ ง เป็นลกั ษณะของทวี่ า่ งหรอื ช่องไฟ เปน็ มวลอากาศทโี่ อบล้อมรปู ทรงเปน็
ระยะห่าง มองดูลกึ เขา้ ไปในภาพได้

ผิวอะลมู ิเนียม หนิ ตน้ ไม้ คลน่ื หินและหญา้

อากาศที่โอบล้อมรปู ทรง ระยะห่างระหวา่ งรปู ทรง บรเิ วณภายในรปู ทรง บรเิ วณวา่ งมองดูเป็นช่องลึก

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑ การสร้างสรรค์ศลิ ปะจากธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม 7

ลักษณะของน�้ำ หนัก-ระยะความลึก

นำ้�หนัก เปน็ ความออ่ นแกข่ องสตี า่ งๆ มรี ะดบั ค่าน�้ำ หนักของแสง-เงาก่อใหเ้ กดิ ความ
เปน็ ธรรมชาตสิ มจริงในภาพน้นั ๆ ได้
ระยะความลึก จะปรากฏควบคู่กับนำ้�หนัก ระยะความลึกก็คือ มิติ แบ่งออกได้ ๒
ลกั ษณะ คือ
๑. ระยะความลกึ แบบ ๒ มติ ิ แสดงระยะดว้ ยความกวา้ ง และความยาว ลกั ษณะเปน็
รูปร่าง
๒. ระยะความลึกแบบ ๓ มิติ จะแสดงความกว้าง ความยาว และความลกึ มลี กั ษณะ
เปน็ รปู ทรง

ลักษณะของแสง-เงา

แสง-เงา คือ น้ำ�หนักความอ่อนแก่ เป็นความแตกต่างของแสงและเงาท่ีปรากฏบน
วัตถุนั้นๆ จะช่วยให้ภาพท่ีปรากฏมีความกลมกลืน เหมือนจริง มองเห็นภาพมีส่วนโค้ง
ส่วนเว้า ต้ืน-ลึกได้ด้วยการนำ�แสง-เงามาใช้อย่างถูกต้อง แสงจึงเป็นความสว่างที่ทำ�ให้
สายตาเรามองเห็นภาพได้ ส่วนเงาคอื สว่ นทแ่ี สงสวา่ งเขา้ ไปไมถ่ ึงนั่นเอง

บริเวณแสงสวา่ งจดั บรเิ วณเงา
บรเิ วณแสงสว่าง บรเิ วณเงาเขม้ จดั

บริเวณเงาตกทอด

ลกั ษณะของแสงและเงา

8 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ การสรา้ งสรรค์ศิลปะจากธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม

การเขยี นภาพจากเส้น รูปรา่ ง และรูปทรง

เราสามารถน�ำ เสน้ รปู รา่ ง และรปู ทรงในลกั ษณะตา่ งๆ มาเขยี นประกอบกนั ใหเ้ กดิ เปน็
ภาพตามความคดิ หรอื จินตนาการของเราได้ เชน่

ภาพจากเส้นเป็นรูปทรง

ภาพจากเส้นเปน็ รปู ร่าง-รปู ทรง

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ การสร้างสรรคศ์ ลิ ปะจากธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม 9

หนู ท�ำ ได้

๑. ให้นักเรยี นบันทึกธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมรอบตัวดว้ ยเส้น รูปร่าง และรปู ทรง
ตัวอย่างการบันทกึ ภาพธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม

๒. ให้นักเรียนนำ�เส้น รูปร่าง และรูปทรงท่ีบันทึกได้จากธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
ในขอ้ ๑ มาฝกึ เขยี นให้เกดิ เป็นภาพตามความคดิ และจนิ ตนาการอยา่ งอสิ ระ

ตวั อยา่ งการวาดภาพตามความคดิ และจินตนาการ

10 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ การสรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะจากธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

แนวการวดั ผลและประเมนิ ผล

วธิ ีวัดผล
สงั เกตพฤตกิ รรมการท�ำ งานในชนั้ เรยี น โดยเลอื กใชเ้ ครอ่ื งมอื วดั ผลหมายเลข
๓, ๔, ๖ และ ๗
เครอื่ งมอื วดั ผล
เลอื กใชเ้ ครอ่ื งมอื วดั ผลจากการท�ำ กจิ กรรม “หนทู �ำ ได”้ โดยใชเ้ ครอ่ื งมอื วดั ผล
หมายเลข ๓, ๔,​ ๖ และ ๗
เกณฑ์การผ่าน
ผา่ นเกณฑ์ปานกลางในทุกกจิ กรรม

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ การสรา้ งสรรค์ศลิ ปะจากธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม 11

๑.๒ การเขียนภาพจากธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม

(การจัดภาพ/การระบายสีภาพ)

สิ่งต่างๆ ที่แวดล้อมอยู่รอบตัวเรา หากเรารู้จักสังเกตธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมนั้น
ด้วยการจดจำ�รูปและลักษณะการเคล่ือนไหว แล้วนำ�มาถ่ายทอด จะทำ�ให้เกิดเป็นภาพตาม
ความนึกคิดหรือจินตนาการที่สวยงามได้ แต่ในการเขียนภาพสิ่งต่างๆ เหล่าน้ันออกมาให้
ถูกตอ้ งและสวยงาม จ�ำ เปน็ ต้องเรยี นรู้หลกั การจัดภาพดงั ต่อไปนี้

การจดั ภาพ

การเขยี นภาพใหด้ ดู ตี อ้ งค�ำ นงึ ถงึ ความเหมาะสมระหวา่ งเนอื้ ทใ่ี นกระดาษกบั ภาพทเี่ รา
จะถ่ายทอดลงไป ดังน้ัน เราจึงควรจัดภาพด้วยการร่างภาพก่อนท่ีจะเร่ิมทำ�การเขียนภาพ
ซึง่ มหี ลักในการจัดภาพเบอื้ งต้นดังตอ่ ไปน้ี
๑. พิจารณาภาพที่ต้องการจะวาดว่าควรจัดวางในแนวต้ังหรือแนวนอน เพื่อจัดเก็บ
รายละเอยี ดสำ�คัญของภาพใหอ้ ยภู่ ายในกรอบกระดาษทจี่ ะวาด
๒. ก�ำ หนดขนาดของคน สัตว์ สงิ่ ของต่างๆ ให้เหมาะสมกับขนาดกระดาษ
๓. กำ�หนดวางจุดเด่นของภาพ ซ่ึงควรวางไว้ประมาณกึ่งกลางของภาพ และเนื้อหา
ประกอบในภาพตอ้ งมพี อสมควรและไมก่ ระจัดกระจายหรอื มากเกินไป
๔. การวางน�ำ้ หนกั ของภาพ โดยแบ่งภาพเปน็ ๒ สว่ น ควรจัดวางภาพทง้ั ซ้ายมือและ
ขวามือให้ดมู ีความรสู้ ึกเทา่ ๆ กัน อยา่ ให้ข้างใดขา้ งหนึ่งมีน�ำ้ หนักมากกวา่ กัน เพราะจะท�ำ ให้
ภาพดูเอียง เกดิ ความไม่สมดุลกนั ในภาพ

12 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ การสร้างสรรค์ศลิ ปะจากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

การจัดวางภาพไดส้ มดลุ และสวยงาม การจดั ภาพวางน�ำ้ หนกั ไม่เหมาะสม
และภาพไมส่ มดุล

การระบายสีภาพ

ปัจจุบันนี้มีสีท่ีใช้ในการวาดภาพอยู่หลายชนิด เราสามารถเลือกใช้ได้ตามความ
เหมาะสมกับสภาพและทุนทรัพย์ท่ีมี สีที่เหมาะกับการใช้ระบายสี เช่น สีไม้ (ดินสอสี)
สชี อลก์ สีเทยี น สีนำ�้ สีโปสเตอร์

การระบายสีให้เกิดเป็นภาพนน้ั มี ๒ ลักษณะ คือ
๑. การระบายสีภาพตามลักษณะเหมอื นจริงตรงกบั ที่ตาเห็น
๒. การระบายสีภาพตามลักษณะความคิดหรือจินตนาการของผู้เขียน แต่ไม่ว่าจะ
เป็นการระบายสีภาพในลักษณะใดก็ตาม อย่าลืมเน้นสี และเน้นความแตกต่างของสีระหว่าง
รูปและพ้ืนหลังรูปให้มีนำ้�หนักต่างกัน เพ่ือทำ�ให้ภาพวาดท่ีปรากฏมีความชัดเจนและเห็น
เด่นชัดขน้ึ

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ การสรา้ งสรรค์ศลิ ปะจากธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม 13

ภาพสิ่งแวดล้อมในสวนสาธารณะ

หนู ทำ� ได้

๑. ให้นักเรียนสังเกตธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวและถ่ายทอดออกมาเป็น
ภาพวาดคนละ ๑ ภาพ
๒. เมอ่ื นกั เรยี นวาดภาพเสรจ็ แลว้ ใหต้ อบค�ำ ถามตอ่ ไปนโ้ี ดยเขยี นไวด้ า้ นหลงั ของภาพ
๒.๑ จุดเดน่ ของภาพคอื อะไร
๒.๒ ภาพมคี วามสมดุลกนั หรือไม่
๒.๓ ความเหมาะสมระหว่างพ้ืนที่กับภาพวาดเป็นอยา่ งไร
๒.๔ ปญั หาทีพ่ บในการวาดภาพคืออะไร
๒.๕ แนวทางทคี่ วรปฏบิ ัตใิ นการแกป้ ญั หามีอะไรบ้าง

14 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ การสร้างสรรคศ์ ิลปะจากธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

แนวการวดั ผลและประเมินผล



วธิ ีวัดผล
สงั เกตพฤตกิ รรมการท�ำ งานในชนั้ เรยี น โดยเลอื กใชเ้ ครอื่ งมอื วดั ผลหมายเลข
๓, ๔, ๖ และ ๗
เครื่องมอื วัดผล
เลอื กใชเ้ ครอ่ื งมอื วดั ผลจากการท�ำ กจิ กรรม “หนทู �ำ ได”้ โดยใชเ้ ครอื่ งมอื วดั ผล
หมายเลข ๓, ๔,​ ๖ และ ๗
เกณฑ์การผ่าน
ผา่ นเกณฑป์ านกลางในทุกกจิ กรรม

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๑ การสรา้ งสรรค์ศลิ ปะจากธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม 15

๑.๓ การเขียนภาพเรื่องราว
จนิ ตนาการ และเหตกุ ารณใ์ นท้องถ่ิน

การเขียนภาพเร่ืองราว จินตนาการ และเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น จัดว่า
เป็นการวาดภาพท่ีเกี่ยวกับชีวิตประจำ�วันในท้องถิ่นตน หรือเป็นการถ่ายทอดเร่ืองราวที่เป็น
เหตุการณ์เด่นๆ ท่ีน่าสนใจและชื่นชม หรือเป็นภาพวิถีชีวิตในท้องถิ่นให้ปรากฏเป็นภาพที่
สวยงาม ดูแล้วเข้าใจได้ เช่น ภาพการจราจรในชุมชน ภาพคนไปซ้ือของในตลาดยามเช้า
ภาพโรงงานปลอ่ ยควันพิษทำ�ลายส่ิงแวดล้อม ภาพเรือขนสินค้า

ภาพเร่ืองราวประทบั ใจเก่ียวกับเหตกุ ารณใ์ นชวี ิตประจำ�วันในท้องถ่นิ ตน
ผลงานของ ด.ญ.วริศรา สขุ สวุ รรณ

16 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ การสร้างสรรคศ์ ลิ ปะจากธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม

การเขียนภาพเรื่องราว จินตนาการ และเหตุการณ์ในท้องถ่ิน นอกจากจะเป็นการ

สะท้อนให้เห็นภาพชีวิตของผู้คนในชุมชนแล้ว ยังเป็นการกระตุ้นให้คนในชุมชนของท้องถ่ิน
เกิดจิตสำ�นึกที่ดีงามในการช่วยกันรับรู้ปัญหา รู้จักอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม และร่วมมือกันแก้ไข
ปญั หาตา่ งๆ ทเี่ กิดขึ้นในทอ้ งถิน่ และชมุ ชนท่อี ยอู่ าศยั ของตนอีกด้วย
หลักในการเขียนภาพเรือ่ งราว จนิ ตนาการ และเหตกุ ารณ์ในทอ้ งถ่ิน มดี ังน้ี
๑. เลือกเร่ืองราวหรือเหตุการณ์ท่ีต้องการจะถ่ายทอดออกมาเป็นภาพ ซ่ึงอาจมาจาก
ทศั นคติท่ดี ีทช่ี ื่นชอบหรืออาจเปน็ ทัศนคตทิ ไี่ ม่ดนี �ำ มาเสนอเพ่อื การแก้ไขก็ได้
๒. ก�ำ หนดรายละเอยี ดในภาพวา่ ควรมสี งิ่ ใดบา้ ง เพอื่ สอื่ ความหมายเปน็ ภาพไดช้ ดั เจน
๓. กำ�หนดจุดเด่นของภาพ ออกแบบและจัดวางให้สอดคล้องกับเรื่อง โดยสื่อ
ความหมายตรงกับเรือ่ ง
๔. จัดวางภาพให้มีความเหมาะสม กลมกลืน ได้รูปร่างและสัดส่วนท่ีเหมาะสม
สมั พนั ธ์กัน
๕. จดั น้ำ�หนกั ของภาพใหม้ คี วามสมดุลกนั
๖. ระบายสีให้เหมาะสมตามความชอบและความถนดั

ภาพวาดจากจินตนาการ ผลงานของ ด.ญ.บงกช ศริ สิ รอ้ ยเงนิ

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ การสร้างสรรคศ์ ิลปะจากธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม 17

หนู ท�ำ ได้

ให้นักเรียนวาดภาพเหตุการณ์ท่ีเกิดในชุมชน หรือภาพจินตนาการในชุมชนของตน
มาคนละ ๑ ภาพ (ระบายสีให้สวยงาม) โดยกำ�หนดชื่อเร่ืองหรือเหตุการณ์ท่ีต้องการส่ือ
และเล่าเรอ่ื งเหตกุ ารณห์ รอื จนิ ตนาการในภาพ เขยี นไวใ้ ตภ้ าพ แลว้ ร่วมกันประเมนิ ผล

แนวการวัดผลและประเมนิ ผล



วธิ วี ดั ผล
สงั เกตพฤตกิ รรมการท�ำ งานในชน้ั เรยี น โดยเลอื กใชเ้ ครอ่ื งมอื วดั ผลหมายเลข
๓, ๔, ๖ และ ๗
เครอื่ งมือวดั ผล
เลอื กใชเ้ ครอื่ งมอื วดั ผลจากการท�ำ กจิ กรรม “หนทู �ำ ได”้ โดยใชเ้ ครอื่ งมอื วดั ผล
หมายเลข ๓, ๔,​ ๖ และ ๗
เกณฑก์ ารผ่าน
ผ่านเกณฑ์ปานกลางในทกุ กจิ กรรม

หนงั สือเรยี นแมค็
ศิลปะ

ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๔

ÃÒ¤Ò ñðð ºÒ·


Click to View FlipBook Version