The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียนศิลปะ ป.2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หนังสือเรียนศิลปะ ป.2

หนังสือเรียนศิลปะ ป.2

˹§Ñ ÊÍ× àÃÂÕ ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾×é¹°Ò¹
¡Å‹ÁØ ÊÒÃСÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙÈÅÔ »Ð

ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ò

µÒÁËÅ¡Ñ ÊµÙ Ã᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ¢¹éÑ ¾×¹é °Ò¹ ¾·Ø ¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼àÙŒ ÃÂÕ ºàÃÂÕ § ñðð.-

¨ÃÕ ¾Ñ¹¸ ÊÁ»ÃÐʧ¤

หนังสือเรียน รายวชิ าพืน้ ฐาน

ศิลปะ

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒

กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผู้เรียบเรียง

จีรพันธ์ สมประสงค์

ผู้ตรวจ

ผศ.รสริน สทุ องหลอ่
จิรวฒั น์ โคตรสมบตั ิ
ผศ. ดร.ชัยฤทธ์ิ ศิลาเดช

บรรณาธิการ

ผศ. ดร.ผดุง พรมมูล

หนังสอื เรยี น รายวชิ าพืน้ ฐาน

ศิลปะ

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๒

้ ูลทา รร านกร านกห ห า ิ
จีรพันธ์ สมประสงค.์

หนงั สือเรยี น รายวชิ าพื้นฐาน ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2.--
กรุงเทพฯ : แม็คเอ็ดดูเคชั่น, 2560.

208 หน้า.
1. ศลิ ปะ--การศกึ ษาและการสอน (ประถมศึกษา). I. ชอื่ เรอ่ื ง.
372.5
ISBN 978-616-274-805-9

สงวนลขิ สิทธ์ิ : มกราคม ๒๕๖๐
สงวนลขิ สิทธต์ิ ามกฎหมาย หา้ มลอกเลยี น ไม่วา่ จะเปน็
สว่ นหนง่ึ ส่วนใดของหนงั สอื เลม่ นี้ นอกจากจะได้รับอนญุ าต
เป็นลายลักษณ์อกั ษร

จดั พิมพแ์ ละจ�ำ หน่�ยโดย

ส่งธนาณัตสิ ่งั จ่าย ไปรษณีย์ลาดพร้าว
ในนาม บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จาำ กัด
เลขที่ ๙/๙๙ อาคารแม็ค ซอยลาดพร้าว ๓๘ ถนนลาดพร้าว
แขวงจนั ทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐
☎ ๐-๒๙๓๘-๒๐๒๒-๗ โทรสาร ๐-๒๙๓๘-๒๐๒๘

www.MACeducation.com

พมิ พ์ท่ี : บริษัท ก.พล (1996) จำากัด

คา� นา�

หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพืน้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ เปน็ หนังสือ
เรียนท่ีได้ผ่านการปรับปรุงพัฒนาด้วยวิสัยทัศน์ของผู้เรียบเรียง โดยมุ่งให้หนังสือศิลปะน้ีทันยุคสมัย
และทันเหตุการณ์ในการด�าเนินการปรับปรุงเปล่ียนแปลงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ ของกระทรวงศึกษาธิการ
ทง้ั นสี้ ืบเนอื่ งมาจากการใชห้ ลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ ได้ดา� เนนิ การใช้
มาจนครบรอบ ๖ ปแี ลว้ และผลจากไดม้ กี ารศกึ ษาวจิ ยั และตดิ ตามประเมนิ ผลการใชห้ ลกั สตู รเปน็ ระยะๆ
มาอย่างต่อเน่ืองในหลายรูปแบบ เช่น ในการจัดประชุมโต๊ะกลมของผู้เช่ียวชาญเพื่อวิเคราะห์หลักสูตร
การศึกษาขั้นพ้นื ฐานในป ี พ.ศ. ๒๕๔๖ และการจดั ประชุมประชาพิจารณแ์ บบ Focus Group อกี ๕ จุด
ทว่ั ประเทศ ในป ี พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๔๗ และการจดั สัมมนาแบบ Online ผ่านทางเวบ็ ไซต์ของกระทรวง
ศกึ ษาธกิ าร ในป ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ตลอดจนการนเิ ทศตดิ ตามผลการใชห้ ลกั สตู รจากโรงเรยี นนา� รอ่ งตา่ งๆ ใน
ปี พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๔๗ พบวา่ หลกั สตู ร/มาตรฐานและสาระการเรยี นรูท้ ่ผี ่านมายังมปี ระเด็นปญั หาซ่ึง
เปน็ อปุ สรรคส�าคัญต่อการพฒั นาหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน โดยเฉพาะอย่างยงิ่ สาระการเรยี นรูข้ าด
ความชดั เจน ซา�้ ซอ้ น จงึ นา� ไปสกู่ ารปฏบิ ตั จิ รงิ ไดย้ าก ดงั นน้ั คณะกรรมการและผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ นการพฒั นา
หลักสูตรจึงได้มาร่วมกันด�าเนินการปรับมาตรฐานและผลการเรียนรู้รายปี รายภาค ให้เป็นมาตรฐาน
การเรยี นรชู้ นั้ ปแี ละสาระการเรยี นรชู้ ัน้ ปี
ผลจากการปรับหลักสูตรแกนกลางใหม่ไปเป็นมาตรฐานการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้คร้ังนี้
ทางบรษิ ทั แมค็ เอด็ ดเู คชนั่ จา� กดั เขา้ ใจสถานการณด์ ี จงึ ไดใ้ หม้ กี ารดา� เนนิ การปรบั ปรงุ หนงั สอื เรยี นของ
กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะใหม่ท้ังหมด (ตลอดแนว ๑๒ ป)ี ใหต้ รงและสอดรบั กับมาตรฐาน การเรียนรู้
และสาระการเรยี นรทู้ กี่ �าหนดใหม ่ ไดแ้ ก่ การทบทวนปรับปรงุ หน่วยการเรยี นรู้ใหม ่ การปรบั สาระการ
เรียนรู้ประจ�าหน่วยใหม่ให้ตรงกับสาระการเรียนรู้ชั้นปีท่ีก�าหนด การเพ่ิมเติมเน้ือหาสาระท่ีขาดและ
ตรวจสอบเนน้ ผลใหส้ ะทอ้ นถงึ มาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานของกลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะใหต้ รงประเดน็
และใหเ้ หน็ ถงึ ความแตกต่างในเนื้อหาสาระระหวา่ งชว่ งชนั้ และช้ันป ี ไมใ่ ห้มีการเรยี นซา�้ ซ้อนกนั และดู
ถงึ ความยากงา่ ยใหเ้ หมาะสมกบั วยั และระดบั ชนั้ ของผเู้ รยี น ทงั้ นโ้ี ดยยดึ ถอื ตามมาตรฐานชน้ั ปที กี่ า� หนด
ไวท้ กุ ประการ

จีรพันธ์ สมประสงค์

หนังสอื เรยี น ศลิ ปะ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๒ ตรงตามสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ดงั น้ี

สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้

สาระท่ี ๑ ทัศนศิลป์ ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิด
ต่องานศลิ ปะอย่างอสิ ระ ช่นื ชม และประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจา� วัน

สาระท่ี ๒ ดนตรี ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งทศั นศลิ ป ์ประวตั ศิ าสตร ์ และวฒั นธรรม
เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
ภูมปิ ัญญาไทย และสากล
ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ ์
วจิ ารณค์ ณุ คา่ ดนตรี ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชน่ื ชม
และประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจา� วนั
ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม
เหน็ คณุ คา่ ของดนตรที เี่ ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ภมู ปิ ญั ญา
ไทยและสากล

สาระที่ ๓ นาฏศลิ ป์ ศ ๓.๑ เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ยา่ งสร้างสรรค ์ วเิ คราะห ์ วพิ ากษ ์
วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และ
ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจา� วนั
ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธร์ ะหวา่ งนาฏศลิ ป ์ ประวตั ิศาสตรแ์ ละวัฒนธรรม
เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล

ค�าชีแ้ จง

ส�าหรบั ครูผสู้ อนและผูป้ กครอง

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๒
บริษัท แม็คเอ็ดดูเคช่ัน จ�ากัด ได้จัดท�าและพัฒนาขึ้นใหม่ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยในการจัดท�าและพัฒนาหนังสือเรียนแม็คคร้ังน้ี นอกจากจัดเนื้อหาให้ตรงกับ
สาระแกนกลางและตวั ชี้วัดชน้ั ปีท่กี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารก�าหนดแล้ว ยงั ไดน้ า� ผลการวจิ ัยประเมนิ ผลการ
ใชส้ อ่ื การเรยี นรตู้ ามหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๔ ซง่ึ บรษิ ทั แมค็ เอด็ ดเู คชนั่ จา� กดั
ไดด้ �าเนนิ การศึกษาวิจัยมาดา� เนนิ การพฒั นาหนงั สอื เรียนชุดน้ ี ดังนี้
๑. จัดท�าสาระการเรียนรู้ให้ตรงตามตัวชี้วัดช้ันปีและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้ของ
หลักสตู รทกุ มาตรฐานที่หลกั สูตรแกนกลางกา� หนดให้เรียนในแต่ละปี
๒. จัดให้มีกิจกรรมเพื่อฝึกกระบวนการเรียนรู้ท่ีมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จนบรรลุตาม
มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชี้วดั ชั้นปีของหลกั สตู ร ซ่ึงสามารถศกึ ษารายละเอียดไดจ้ ากแผนการจดั การ
เรียนรู้ท่ีบริษัทได้จัดท�าขึ้นตามแนวทางการวางแผนแบบมองย้อนกลับ (Backward Design) โดยสอด
แทรกไว้ในกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ และ/หรือกิจกรรมแนะน�า ทั้งนี้ครูผู้สอนควรชี้แจงและให้
ค�าแนะนา� เพ่มิ เตมิ เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นทกุ คนปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ
๓. เพื่อสนองนโยบายในการพัฒนาประเทศ โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและนโยบาย
ใหม้ กี ารขบั เคลอื่ นปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสสู่ ถานศกึ ษาทกุ ระดบั ไดม้ กี ารเพม่ิ เตมิ เนอ้ื หาและกจิ กรรม
การเรียนรู้ในรูปแบบภาระงานที่มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและน�าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป
ประยุกต์ใช้ โดยแทรกไว้ในกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจบางหน่วยท่ีมีเนื้อหาสอดคล้อง โดยใช้ตรา
สญั ลกั ษณโ์ ครงการขบั เคลอ่ื นปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสสู่ ถานศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ก�ากบั ไว ้ เพอื่ เป็นจดุ สังเกตสา� หรบั ครูผสู้ อนจะได้แนะนา� ผู้เรยี น และครคู วรเพ่มิ เติมรายละเอียดเกีย่ วกับ
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งใหแ้ กผ่ เู้ รยี นตามความเหมาะสม ทง้ั นคี้ วรเนน้ การเชอ่ื มโยงไปสกู่ ารปฏบิ ตั จิ รงิ
ในชวี ิตประจา� วัน
บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จ�ากัด ขอขอบพระคุณทุกท่านที่ให้ความไว้วางใจเลือกใช้ส่ือการเรียนรู้
ของบรษิ ัท จงึ ขอตง้ั ปณิธานว่า จะสรา้ งสรรค์สอ่ื การเรียนร้ทู ี่มคี ุณค่า และเกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ตอ่ วงการ
ศึกษาตลอดไป

บรษิ ทั แม็คเอ็ดดูเคช่ัน จา� กัด

สารบัญ หนา้

ทศั นศิลป์
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ เรยี นรศู้ ลิ ปะทหี่ ลากหลาย ๒

ตรงตามมาตรฐาน ศ ๑.๑ ตวั ชว้ี ัดขอ้ ๑, ๒, ๓, ๔, ๖, ๗ และ ศ ๑.๒ ตวั ชว้ี ดั ขอ้ ๑ ๓

๑.๑ การสังเกตรบั รธู้ รรมชาติและสิง่ แวดล้อม ๕
- การสังเกตสตั ว์ ๖
- การสังเกตพืช ๘
- การสังเกตยานพาหนะ ๑๑
- การสงั เกตส่งิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ ๑๑
๑๕
๑.๒ การเขยี นภาพระบายสจี ากธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม ๑๕
- วสั ดุอปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในการเขยี นภาพระบายส ี ๑๖
๑๖
๑.๓ การพิมพ์ภาพจากธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ๒๒
- วสั ดอุ ุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการพิมพ์ ๒๒
- ขนั้ ตอนการพิมพ ์ ๒๓
- การพมิ พภ์ าพแบบต่างๆ ๒๓

๑.๔ การป้ันจากธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
- วสั ดุอุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการป้ัน
- ข้ันตอนการปัน้
- การปน้ั เปน็ รูปรา่ ง รปู ทรงต่างๆ

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ พ้นื ฐานศลิ ปะ หน้า

๓๒

ตรงตามมาตรฐาน ศ ๑.๑ ตวั ชวี้ ัดข้อ ๑, ๒, ๓, ๔, ๖, ๗ และ ศ ๑.๒ ตัวชีว้ ดั ขอ้ ๑, ๒

๒.๑ ทัศนธาตุ ในส่งิ แวดลอ้ ม ๓๓
- เส้น ๓๔
- ส ี ๓๕
- รูปร่าง รปู ทรง ๓๕
๓๙
๒.๒ การเขยี นภาพระบายสีและการใชว้ ัสดุอุปกรณ์ศลิ ป์ ๓๙
- การลากเสน้ ประกอบภาพ

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๓ สร้างสรรค์สนกุ ๔๗

ตรงตามมาตรฐาน ศ ๑.๑ ตวั ชี้วดั ขอ้ ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘ และ ศ ๑.๒ ตัวชวี้ ดั ขอ้ ๑, ๒

๓.๑ การเขยี นภาพระบายสีจากเรื่องเลา่ และนิทาน ๔๘
- การจดั ภาพ ๔๙
๓.๒การจัดตกแตง่ กระบะทราย ๕๓
- การจดั ตกแตง่ กระบะทราย ๕๓
๓.๓การออกแบบสรา้ งสรรคง์ านโครงสรา้ ง งานเคล่ือนไหวจากเศษวสั ดุ ๕๖

ดนตรี ๖๖
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๔ หลักการเล่นดนตรี
๖๗
ตรงตามมาตรฐาน ศ ๒.๑ ตวั ชว้ี ัดขอ้ ๑, ๒, ๓, ๔ และ ศ ๒.๒ ตวั ช้ีวัดข้อ ๑, ๒
๖๘
๔.๑ การจา� แนกเสียงและการฝึกโสตประสาท ๖๙
- สสี ันของเสยี ง ๗๐
- การฝึกโสตประสาทจา� แนกเสยี ง

๔.๒การรวมวงเล่นเครอื่ งประกอบจงั หวะ หน้า
- จังหวะฟอ้ นเงี้ยว ๗๒
- จงั หวะเซิ้ง ๗๒
- จังหวะอินเดยี นแดง ๗๕
๗๗
๔.๓ การร้องใหเ้ ข้ากบั จังหวะเพลง ๘๑
- การรอ้ งเพลงไทย ๘๑
- การร้องเพลงไทยสากล ๘๔

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๕ วัฒนธรรมกบั งานดนตรี ๙๐

ตรงตามมาตรฐาน ศ ๒.๑ ตัวช้วี ัดข้อ ๑, ๒, ๔, ๕ และ ศ ๒.๒ ตวั ชีว้ ดั ขอ้ ๑, ๒ ๙๑
๙๕
๕.๑ งานดนตรี/เพลงในท้องถิ่น ๙๕
๕.๒ประเภทของเพลงชนิดตา่ งๆ ๙๗
- เพลงพระราชนิพนธ์ ๙๙
- เพลงไทย ๑๐๑
- เพลงไทยสากล ๑๐๓
- เพลงพนื้ เมอื ง ๑๐๕
๕.๓ท่มี าของการตง้ั ช่อื เพลงไทย
๕.๔ วัฒนธรรมในการร้องเพลงไทย ๑๐๗

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๖ สุนทรยี ภาพทางดนตรี ๑๐๙
๑๑๐
ตรงตามมาตรฐาน ศ ๒.๑ ตัวชี้วัดขอ้ ๑ และ ศ ๒.๒ ตวั ชี้วดั ข้อ ๒

๖.๑ ความซาบซึ้งในดนตรี
๖.๒ คุณคา่ ของเพลงไทย

นาฏศิลป์ หนา้
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๗ รูปแบบการเคลอื่ นไหว ๑๑๓

ตรงตามมาตรฐาน ศ ๓.๑ ตวั ชว้ี ัดขอ้ ๑, ๒, ๔, ๕ และ ศ ๓.๒ ตัวชีว้ ัดขอ้ ๑, ๒, ๓ ๑๑๔

๗.๑ การเคลื่อนไหวให้เขา้ กบั จังหวะ ๑๑๕
- การเดิน วงิ่ กระโดด ใหเ้ ข้ากบั จงั หวะเพลง ๑๑๕
- การเคล่ือนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจงั หวะเพลง ๑๒๑
๑๒๕
๗.๒การเลน่ เกมเคล่ือนไหวรา่ งกาย ๑๓๐
๗.๓การเคล่อื นไหวประกอบเพลงอยา่ งอสิ ระ ๑๓๐
- การอบอุน่ ร่างกาย ๑๓๒
- ขน้ั ตอนการปฏิบตั ิกิจกรรม ๑๓๒
- กจิ กรรมการเคลอ่ื นไหวประกอบเพลง ๑๔๐
๗.๔ การละเล่นพ้ืนบ้านของไทย ๑๔๐
- รีรขี ้าวสาร ๑๔๑
- งูกินหาง ๑๔๒
- ไซ
๑๔๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ ทักษะการแสดง
๑๔๗
ตรงตามมาตรฐาน ศ ๓.๑ ตวั ชวี้ ัดขอ้ ๑, ๒, ๓, ๔ ๑๔๘
๑๔๘
๘.๑ ภาษาทา่ สอ่ื ความหมาย ๑๕๔
๘.๒การเลน่ บทบาทสมมตุ ิ ๑๕๔
- กิจกรรมการเลน่ บทบาทสมมตุ ิ ๑๕๗
๘.๓ลักษณะการรา่ ยรา� เบื้องตน้ ๑๖๓
- การร่ายร�าเบ้อื งต้น
- ภาษาทา่
๘.๔ การร่ายร�าประกอบเพลง

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๙ สุนทรียภาพทางนาฏศิลป์ หนา้

ตรงตามมาตรฐาน ศ ๓.๑ ตวั ช้ีวัดขอ้ ๓, ๕ และ ศ ๓.๒ ตัวช้ีวดั ข้อ ๑, ๒, ๓ ๑๗๔

๙.๑ การตัดแปลงนาฏศลิ ปไ์ ปใช้ในชีวิตประจ�าวนั ๑๗๕
๙.๒ มารยาทในการชมการแสดงนาฏศิลป์ ๑๗๘
๙.๓ วิถชี ีวติ ในการละเล่นพืน้ เมอื งของไทย ๑๘๐

บรรณานุกรม ๑๘๕
ภาคผนวก ๑๘๖
ดัชนี ๑๙๖

¡ÅØÁ‹ ÊÒÃСÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙÈÔÅ»Ð

·ÈÑ ¹ÈÅÔ »Š

๑ ทเร่หี ียลนารกู้ศหลิ ลปาะย

๑.๑ การสังเกตรบั รธู้ รรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม (มฐ. ศ ๑.๑
ตัวช้วี ดั ขอ้ ๑, ๒, ๓, ๔, ๗ และ มฐ. ศ ๑.๒ ตวั ชวี้ ดั ข้อ ๑)

เรยี นรูศ้ ลิ ปะที่ ๑.๒ การเขียนภาพระบายสีจากธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
หลากหลาย (มฐ. ศ ๑.๑ ตวั ชี้วัดข้อ ๑, ๒, ๓, ๔, ๖, ๗ และ มฐ. ศ ๑.๒
ตัวชว้ี ัดข้อ ๑)

๑.๓ การพมิ พภ์ าพจากธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม (มฐ. ศ ๑.๑
ตวั ช้วี ัดขอ้ ๑, ๒, ๓, ๔ และ มฐ. ศ ๑.๒ ตัวชีว้ ดั ข้อ ๑)

๑.๔ การป้ันจากธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (มฐ. ศ ๑.๑
ตวั ช้วี ดั ข้อ ๒, ๓, ๔ และ มฐ. ศ ๑.๒ ตัวชีว้ ัดขอ้ ๑)

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ประจาำ หนว่ ย

๑. อธบิ ายวิธกี ารสงั เกตและนาำ ธรรมชาตมิ าถ่ายทอดเปน็ ผลงานศลิ ปะ โดยการวาด ปนั้ พมิ พ ์ ได้อย่าง
สวยงาม (มฐ. ศ ๑.๑ ตวั ชีว้ ดั ข้อ ๑, ๒, ๓, ๔, ๗ และ มฐ. ศ ๑.๒ ตวั ชว้ี ัดขอ้ ๑)

๒. สามารถเขยี นภาพจากธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมได้ (มฐ. ศ ๑.๑ ตัวช้วี ัดข้อ ๑, ๒, ๓, ๔, ๖, ๗ และ
มฐ. ศ ๑.๒ ตวั ช้ีวดั ขอ้ ๑)

๓. สามารถพมิ พภ์ าพโดยใชว้ ัสดจุ ากธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มได้ (มฐ. ศ ๑.๑ ตวั ช้ีวัดขอ้ ๑, ๒, ๓, ๔
และ มฐ. ศ ๑.๒ ตัวช้วี ัดข้อ ๑)

๔. สามารถปัน้ ตามแบบและปัน้ รปู ตามจินตนาการได้ (มฐ. ศ ๑.๑ ตัวช้วี ดั ข้อ ๒, ๓, ๔ และ มฐ. ศ ๑.๒
ตวั ชว้ี ดั ขอ้ ๑)

˹Nj ¡ÒÃàÃÂÕ ¹Ã·ÙŒ Õè ñ àÃÂÕ ¹ÃŒÙÈÔŻзÕËè ÅÒ¡ËÅÒ 3

๑.๑ การสังเกตรบั รธู้ รรมชาติ
และสง่ิ แวดลอ้ ม

ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วยส่ิงต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา ทั้ง
ส่งิ มีชีวิต เชน่ สุนขั แมว นก ปลา ตน้ ไม ้ ดอกไม ้ เป็นตน้ และสิ่งไม่มีชีวติ
เชน่ บา้ น รถยนต์ ถนน แมน่ ้าำ ภูเขา เป็นตน้ ถ้าเรารู้จักสังเกตและจดจาำ
สงิ่ แวดลอ้ มรอบๆ ตวั เรา ทง้ั ทเี่ กดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาตแิ ละทมี่ นษุ ยส์ รา้ งขน้ึ มา
ได ้ นอกจากจะทาำ ใหเ้ ราไดค้ วามรแู้ ละเพลดิ เพลนิ แลว้ เรายงั สามารถนาำ ความ
งามจากธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมที่พบเห็นมาสร้างสรรค์เป็นงานศิลปะได้
เช่น การเขียนภาพระบายสี การพิมพ์ภาพจากวัสดุต่างๆ การปั้นหรือ
แกะสลักรูปจากธรรมชาติหรือส่ิงแวดล้อมรอบๆ ตัว และเรายังสามารถนำา
การเคลื่อนไหวของส่ิงต่างๆ ไปเลียนแบบหรือดัดแปลงประกอบการเต้นรำา
การร่ายรำา นำาเสียงต่างๆ ในธรรมชาติไปคิดเป็นเสียงดนตรี เสียงจังหวะ
และร้องเป็นเพลงได้
การรบั รแู้ ละสงั เกตธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม จะทาำ ใหเ้ รามคี วามรอบรู้
มีการพัฒนาด้านประสาทสัมผัส สามารถจำาแนกความแตกต่างของส่ิงท่ีได้
พบเหน็ มา และเรยี นรลู้ กั ษณะของสง่ิ ตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง การไดอ้ ยใู่ กลช้ ดิ
กบั ธรรมชาตจิ ะทาำ ใหเ้ รามจี ติ ใจทอี่ อ่ นโยน มอี ารมณด์ ี และชว่ ยปลกู ฝงั ใหเ้ รา
มคี วามรักในธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม

4 ˹‹Ç¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙ·Œ Õè ñ àÃÂÕ ¹ÃÙŒÈÅÔ »Ð·èÕËÅÒ¡ËÅÒÂ

การสังเกตสัตว์

เราสามารถสังเกตสัตว์ที่เล้ียงไว้หรือสัตว์ที่อยู่ในธรรมชาติ โดยการ
สังเกตรูปรา่ ง ลักษณะท่าทางการเคลือ่ นไหว เสียงรอ้ ง แลว้ นำามาเลียนแบบ
หรือดัดแปลง สร้างสรรคใ์ นการเขยี นภาพ ป้ันรปู การแสดงทา่ ทางประกอบ
การรอ้ งเพลงตา่ งๆ

การสังเกตสตั ว์เพ่อื ทำากจิ กรรมตา่ งๆ
การสงั เกตสัตว์เพ่ือทาำ กิจกรรมตา่ งๆ เชน่ การวาดรูป การพิมพ ์ และ
การปนั้ นกั เรยี นจะตอ้ งจดจาำ ลกั ษณะโครงสรา้ ง ทา่ ทาง และรายละเอยี ดตา่ งๆ
ของสตั วท์ จี่ ะนาำ มาเปน็ แบบใหไ้ ด ้ จงึ จะสรา้ งสรรคผ์ ลงานออกมาไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
และสวยงาม เชน่

การวาดรูปปลา

การพิมพ์ภาพเป็นผเี ส้อื

˹Nj ¡ÒÃàÃÕ¹÷ٌ èÕ ñ àÃÕ¹ÌÙÈÅÔ »Ð·ÕËè ÅÒ¡ËÅÒ 5

การปนั้ รปู หมู

การสงั เกตพืช

เราสามารถสังเกตลกั ษณะลำาต้น ใบ ดอก และผลของพชื แล้วนาำ มา
สรา้ งงานศลิ ปะด้วยการเขยี นภาพ พมิ พ์ภาพ หรือปั้นสว่ นตา่ งๆ ของพืช

การสงั เกตลกั ษณะของพชื เพอื่ ทาำ กจิ กรรมต่างๆ

การวาดรูปใบมะพร้าว การพมิ พ์ภาพจากใบตำาลงึ

6 ˹Nj ¡ÒÃàÃÂÕ ¹Ã·ÙŒ Õè ñ àÃÕ¹ÃÙÈŒ ÔŻзËèÕ ÅÒ¡ËÅÒÂ

การปั้นรูปมังคดุ

การสังเกตยานพาหนะ

เราจะสังเกตยานพาหนะได้ในเวลาที่เราเดินทางไปโรงเรียนหรือ
ไปเที่ยว ไม่ว่าจะเป็นรถยนต์ รถมอเตอร์ไซค์ รถไฟ เรือ หรือเคร่ืองบิน
ยานพาหนะแต่ละชนิดจะแตกต่างกันตรงรูปร่าง การเคล่ือนไหว และ
ความเร็ว เราสามารถดัดแปลงนำาลักษณะของยานพาหนะเหล่าน้ีมา
วาดภาพ พมิ พ ์ หรือปน้ั เปน็ รปู ได้

˹‹Ç¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙ·èÕ ñ àÃÂÕ ¹ÃÙÈŒ ÔŻзÕËè ÅÒ¡ËÅÒ 7

การสงั เกตยานพาหนะเพอื่ ทาำ กจิ กรรมตา่ งๆ

การวาดรูปจากการสังเกตเคร่ืองบิน
การป้นั รูปรถยนต์
การพิมพภ์ าพเรือใบ

8 ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè ñ àÃÂÕ ¹ÃȌ٠ÅÔ »Ð·ËÕè ÅÒ¡ËÅÒÂ

การสงั เกตสิง่ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ

เราสามารถสังเกตสงิ่ แวดลอ้ มทางธรรมชาติรอบๆ ตัวเรา เช่น ดนิ หนิ
ทราย นา้ำ อากาศ ภเู ขา ตน้ ไม ้ เปน็ ตน้ วา่ มกี ารเคลอื่ นไหวและมลี กั ษณะการ
เปล่ียนแปลงอย่างไร แล้วนำาส่ิงนั้นมาสร้างสรรค์ในการวาดรูป ปั้น พิมพ์
หรอื นาำ การเคลื่อนไหวของธรรมชาติมาสรา้ งสรรคเ์ ป็นงานทศั นศลิ ปไ์ ด้

การสังเกตลักษณะสงิ่ แวดล้อมทางธรรมชาติ
เพ่ือทำากิจกรรมตา่ งๆ

การวาดรูปธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

การปนั้ รูปภูเขา

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ñ àÃÂÕ ¹ÃȌ٠ÅÔ »Ð·èÕËÅÒ¡ËÅÒ 9

การพิมพภ์ าพรปู ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

การเลยี นเสยี งธรรมชาติฟา้ รอ้ งและฟ้าผา่

หนทู าำ ได้

๑. ให้นักเรยี นสงั เกตธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มรอบตัว แลว้ นำามาวาดภาพ
ปนั้ หรือพิมพ์ ตามความคดิ และจินตนาการ

๒. ให้นักเรียนสังเกตลกั ษณะของพชื แล้วนำามาปฏบิ ตั ิงานศลิ ปะ เชน่ วาด
เป็นภาพพชื ปนั้ เปน็ พชื หรอื ผลไม้ พมิ พ์เป็นภาพจากพชื

10 ˹‹Ç¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒ·Ù èÕ ñ àÃÕ¹ÃȌ٠ÅÔ »Ð·èËÕ ÅÒ¡ËÅÒÂ

แนวการวดั ผลและประเมนิ ผล

วิธวี ัดผล
สงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านในชนั้ เรยี น โดยเลอื กใชเ้ ครอื่ งมอื
วัดผลหมายเลข ๑, ๒, ๔, ๕ และ ๗
เคร่อื งมือวัดผล
เลือกใช้เคร่ืองมือวัดผลจากการทำากิจกรรม “หนูทำาได้” โดยใช้
เคร่ืองมือวัดผลหมายเลข ๑, ๒, ๔, ๕ และ ๗
เกณฑก์ ารผา่ น
ผา่ นเกณฑป์ านกลางในทุกกจิ กรรม

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè ñ àÃÂÕ ¹ÃŒÈÙ ÅÔ »Ð·ÕèËÅÒ¡ËÅÒ 11

๑.๒ การเขยี นภาพระบายส ี
จากธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม

ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมท่ีอยู่รอบๆ ตัวเรานน้ั เม่อื เรามองดแู ล้วกจ็ ะ
เกดิ ความร้สู ึกเพลดิ เพลนิ และมองเหน็ ความสวยงามได้ เน่อื งจากธรรมชาติ
และส่ิงแวดลอ้ มแตล่ ะชนดิ จะมีรปู ร่าง ลกั ษณะ ขนาด และสแี ตกตา่ งกันไป
การที่เราจะถ่ายทอดความงามท่ีได้พบเห็นมาน้ัน สามารถทำาได้โดย
การเขยี นเปน็ ภาพและระบายสีภาพตามความรู้สึกนกึ คิดของเรา หรอื อาจจะ
เพ่ิมเติมหรือตัดบางส่วนออกกไ็ ดต้ ามแต่จนิ ตนาการ
การรจู้ กั สงั เกตจดจาำ ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม จะทาำ ใหเ้ หน็ รายละเอยี ด
ตา่ งๆ ของสิง่ ท่เี ราจะถ่ายทอดออกมาชัดเจนและถกู ตอ้ งยงิ่ ข้นึ ซง่ึ ช่วยใหก้ าร
เขยี นภาพสมบูรณแ์ บบและสวยงาม
ประโยชน์จากการเขยี นภาพ คือ ช่วยผอ่ นคลายและใช้เวลาวา่ งให้เกดิ
ประโยชน์

วสั ดุอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการเขยี นภาพระบายสี

วสั ดุอุปกรณท์ ี่ใช้ในการเขียนภาพระบายสี ประกอบด้วย
๑. ดินสอ ยางลบ
๒. กระดาษ
๓. สที ่ใี ช้ระบายภาพ ไดแ้ ก่ สไี ม้ สีน้าำ

12 ˹Nj ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙ·èÕ ñ àÃÕ¹ÃÙŒÈÔŻзËèÕ ÅÒ¡ËÅÒÂ

วิธกี ารเขียนภาพอยา่ งง่าย มีข้ันตอนดังนี้
๑. ให้นักเรียนสังเกตรูปร่างรูปทรงของวัสดุที่จะวาด เช่น วงกลม
สามเหล่ียม ส่เี หล่ียม แล้ววาดโครงสรา้ งอย่างง่ายๆ ดว้ ยดินสอ
๒. วาดรายละเอียดคร่าวๆ
๓. ลงเส้น แรเงาภาพ แลว้ ตกแตง่ ภาพให้สมบูรณ์

๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๓
ตัวอยา่ งการเขยี นภาพระบายสีจากธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม

ผลงานของ ด.ญ.จนั ทรเ์ พ็ญ ไชยพรเดชเจริญ

˹Nj ¡ÒÃàÃÕ¹ÌٷèÕ ñ àÃÂÕ ¹ÃÙŒÈÅÔ »Ð·èËÕ ÅÒ¡ËÅÒ 13

ผลงานของ ด.ญ.ภาวิกา จิระกอบชัยพงศ์

หนทู าำ ได้

ให้นักเรียนร่างภาพตามข้ันตอนท่ีได้เรียนรู้มา พร้อมทั้งระบายสีให้
สวยงาม

14 ˹Nj ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒ·Ù Õè ñ àÃÕ¹ÃÙŒÈÔŻзËèÕ ÅÒ¡ËÅÒÂ

แนวการวดั ผลและประเมินผล

วิธีวดั ผล
สงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านในชน้ั เรยี น โดยเลอื กใชเ้ ครอ่ื งมอื
วดั ผลหมายเลข ๑, ๒, ๔, ๖ และ ๗
เครอื่ งมือวดั ผล
เลือกใช้เครื่องมือวัดผลจากการทำากิจกรรม “หนูทำาได้” โดยใช้
เคร่ืองมือวัดผลหมายเลข ๑, ๒, ๔, ๖ และ ๗
เกณฑ์การผ่าน
ผา่ นเกณฑป์ านกลางในทุกกจิ กรรม

˹Nj ¡ÒÃàÃÕ¹÷ٌ èÕ ñ àÃÂÕ ¹ÃȌ٠ÔŻзËèÕ ÅÒ¡ËÅÒ 15

๑.๓ การพิมพภ์ าพจากธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม

การพิมพ์ หมายถึง การนาำ วสั ดตุ ่างๆ มาทาสี แล้วกดหรือทาบวสั ดุ
นนั้ ลงบนกระดาษหรอื สง่ิ รองรับอน่ื ๆ เพ่ือทำาใหเ้ กิดเปน็ ภาพทตี่ อ้ งการ
ในการพิมพน์ น้ั สามารถใชแ้ มพ่ มิ พ์จากส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ใบไม ้
ผลไม ้ ดอกไม ้ เปลอื กไม ้ และแมพ่ มิ พจ์ ากวสั ดสุ งั เคราะห ์ เชน่ แบบพมิ พต์ า่ งๆ
กระดมุ ตะปู ลกู กุญแจ นอกจากน้ียงั สามารถใช้สว่ นตา่ งๆ ของร่างกายเป็น
แมพ่ มิ พไ์ ดอ้ กี ดว้ ย เช่น นวิ้ มอื สันมือ ฝา่ มือ เปน็ ต้น

ว ัสดุอปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นการพมิ พ์

วัสดอุ ปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการพมิ พ ์ ประกอบดว้ ย
๑. แมพ่ ิมพ์ ได้แก ่ แบบทีจ่ ะใช้พมิ พ์
๒. สที ีใ่ ชพ้ ิมพ ์ ได้แก่ สนี ำ้า สีโปสเตอร์
๓. วัสดุอุปกรณ์ทใ่ี ช้พมิ พ์ ไดแ้ ก ่ จานสี พู่กนั

ตวั อยา่ งวัสดุอุปกรณ์ทีใ่ ช้ในการพมิ พภ์ าพ ตวั อย่างแม่พมิ พ์ที่ใช้ในการพิมพ์ภาพ

16 ˹‹Ç¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒ·Ù Õè ñ àÃÂÕ ¹ÃÙÈŒ ÅÔ »Ð·ÕËè ÅÒ¡ËÅÒÂ

ขัน้ ตอนการพมิ พ์

การพมิ พ์มีขน้ั ตอนดังน้ี
๑. ศกึ ษาส่งิ ทจ่ี ะพิมพ์
๒. ออกแบบสง่ิ ทีพ่ มิ พ์
๓. เลอื กเศษวสั ดุหรอื พืชท่ีจะนำามาพิมพ์
๔. เตรยี มแมพ่ ิมพ์และวสั ดอุ ุปกรณต์ ่างๆ
๕. พมิ พ์ตามขน้ั ตอนทีอ่ อกแบบ

การพิมพ์ภาพแบบตา่ งๆ

การพิมพภ์ าพแบบต่างๆ มีดงั น้ี
๑. การพิมพภ์ าพจากวัสดุธรรมชาต ิ แมพ่ ิมพท์ ใี่ ชจ้ ะเปน็ สว่ นต่างๆ

ของพชื เชน่ ใบ กา้ น ดอก ผล กง่ิ ถ้าจะพิมพด์ ้วยใบ ควรเลือกใบท่มี ีเสน้ ใบ
ชัดเจน และรปู ร่างสมบูรณ์ สวยงาม ถ้าจะพมิ พด์ ้วยกา้ น ควรเลือกกา้ นพืชท่ี
แก่จดั โดยนำามาเฉอื นให้เป็นหนา้ ตัดหรือเฉอื นเปน็ วงรี

วธิ พี ิมพ์
ใช้พู่กนั จุ่มสีระบายลงบนแมพ่ ิมพท์ ่เี ตรียมไว ้ แลว้ นาำ มากดลงบนแผน่
กระดาษ จะได้ภาพพมิ พต์ ามตอ้ งการ ดงั ตวั อย่าง

ภาพพิมพ์จากใบมะยม ภาพพมิ พจ์ ากใบดาวกระจาย
ภาพพิมพ์จากกา้ นกล้วย

˹‹Ç¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙ·Œ Õè ñ àÃÂÕ ¹ÃÙÈŒ ÅÔ »Ð·ËÕè ÅÒ¡ËÅÒ 17

ตวั อยา่ งการพิมพ์จากวัสดธุ รรมชาตเิ ปน็ รปู แบบต่างๆ

ภาพนกยูง เกดิ จากการพมิ พก์ ้านกล้วยและใบดาวกระจาย

ภาพดอกกหุ ลาบ เกิดจากการพิมพ์กา้ นกลว้ ยและใบเฟื่องฟา้

๒. การพมิ พภ์ าพจากวสั ดสุ งั เคราะห ์ วสั ดสุ งั เคราะหท์ ส่ี ามารถนาำ มา
ทาำ เป็นแม่พิมพ์ได้ เช่น ยางลบ ฝาจกุ นำา้ อัดลม ลูกกุญแจ ไม้บรรทดั เป็นต้น

วธิ พี ิมพ์
เลือกวัสดุท่ีจะทำาแม่พิมพ์ให้สอดคล้องกับภาพท่ีออกแบบไว้ ใช้พู่กัน
จุ่มสรี ะบายลงบนแม่พิมพ ์ แล้วกดแม่พิมพ์ลงบนกระดาษโดยใชว้ ิธีการเดยี ว
กับการพมิ พ์จากวัสดุธรรมชาต ิ ตัวอย่างภาพพิมพ ์ เชน่

18 ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÌٷÕè ñ àÃÂÕ ¹ÃÈÙŒ ÔŻзèËÕ ÅÒ¡ËÅÒÂ

ภาพพิมพ์จากคลิปหนีบกระดาษ ภาพพมิ พจ์ ากลกู กุญแจ

ตัวอย่างการพิมพ์จากวัสดสุ งั เคราะหเ์ ป็นรปู แบบตา่ งๆ

ภาพร่มจากการใชไ้ มบ้ รรทัด ภาพหัวเปด็ จากการใชล้ กู กญุ แจ

๓. การพิมพ์ภาพด้วยส่วนต่างๆ ของมือ ในการพิมพ์ภาพด้วย
ส่วนต่างๆ ของมือน้ันจะต้องบังคับมือให้เป็นไปตามที่ต้องการจึงจะได้ภาพ
ทส่ี วยงาม ส่วนต่างๆ ของมือทีใ่ ชใ้ นการพมิ พภ์ าพได ้ มดี ังน้ี
๑) พิมพ์ภาพด้วยนิ้วมอื

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹÷ٌ Õè ñ àÃÕ¹ÃÙŒÈÔŻзÕèËÅÒ¡ËÅÒ 19

๒) พิมพ์ภาพด้วยสนั มือ

๓) พิมพ์ภาพด้วยฝา่ มอื

​วิธีพมิ พ์
๑) เตรยี มสีและผสมสใี หข้ ้นพอสมควร สที ใ่ี ชค้ อื สนี า้ำ สีโปสเตอร์
๒) ใ ช้นิ้วมอื ฝ่ามือ หรอื สันมือจุ่มสี แลว้ พมิ พภ์ าพตามทตี่ อ้ งการ
๓) ตกแต่งภาพใหส้ วยงาม

20 ˹‹Ç¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙ·Õè ñ àÃÕ¹ÃÈÙŒ ÔŻзËÕè ÅÒ¡ËÅÒÂ

ตวั อย่างการพิมพส์ ่วนต่างๆ ของมอื เป็นรปู แบบตา่ งๆ

ภาพดอกไมพ้ ิมพจ์ ากปลายนวิ้ มอื ภาพกงุ้ พมิ พจ์ ากสันมือ

หนทู าำ ได้

๑. ให้นักเรียนปฏิบัติการพิมพ์ โดยนำาแม่พิมพ์ท่ีสร้างจากวัสดุธรรมชาติ
มาพมิ พเ์ ปน็ ภาพตามความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละจนิ ตนาการ คนละ ๑ ภาพ
๒. ใหน้ กั เรยี นใชแ้ มพ่ มิ พจ์ ากวสั ดสุ งั เคราะห ์ มาพมิ พเ์ ปน็ ภาพตามความคดิ
สรา้ งสรรคแ์ ละจินตนาการคนละ ๑ ภาพ
๓. ใหน้ กั เรยี นพมิ พภ์ าพ โดยใชน้ วิ้ มอื เปน็ แมพ่ มิ พส์ รา้ งสรรคใ์ หเ้ ปน็ ภาพ
ตามความคดิ และจนิ ตนาการคนละ ๑ ภาพ
๔. ให้นกั เรียนพมิ พภ์ าพศิลปะโดยใชส้ ว่ นต่างๆ ของมอื สรา้ งสรรคใ์ หเ้ ป็น
ภาพตามความคดิ และจินตนาการ คนละ ๑ ภาพ
๕. ให้นักเรียนจับคู่กันเพ่ือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงานภาพพิมพ์ที่
ปฏิบัติอย่างอิสระท้ังของตนเองและของเพ่ือน

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·èÕ ñ àÃÕ¹ÃȌ٠ÔŻзËÕè ÅÒ¡ËÅÒ 21

แนวการวดั ผลและประเมินผล

วธิ วี ัดผล
สงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านในชนั้ เรยี น โดยเลอื กใชเ้ ครอื่ งมอื
วัดผลหมายเลข ๑, ๒, ๔, ๖ และ ๗
เครอ่ื งมือวดั ผล
เลือกใช้เคร่ืองมือวัดผลจากการทำากิจกรรม “หนูทำาได้” โดยใช้
เคร่อื งมอื วัดผลหมายเลข ๑, ๒, ๔, ๖ และ ๗
เกณฑ์การผ่าน
ผา่ นเกณฑ์ปานกลางในทกุ กิจกรรม

22 ˹Nj ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒ·Ù Õè ñ àÃÕ¹ÌÈÙ ÅÔ »Ð·èËÕ ÅÒ¡ËÅÒÂ

๑.๔ การปัน้ จากธรรมชาติ
และสิง่ แวดลอ้ ม

การปั้น เป็นการนำาวัสดุที่เหนียว จับยึดตัวติดกันได้ เป็นก้อนหรือ
แท่ง เชน่ ดนิ เหนยี ว ดินนาำ้ มนั กระดาษผสมกาว มาป้ันเป็นรูปตา่ งๆ ตาม
ท่ีตอ้ งการ รูปแบบของการปนั้ ม ี ๓ ลกั ษณะ คือ

๑. การป้ันแบบนูนตำ่า เป็นการปั้นรูปทรงที่มองเห็นด้านหน้าเพียง
ด้านเดียว มีความนนู ของรปู สงู จากพ้ืนเล็กนอ้ ย

๒. การปนั้ แบบนนู สงู เปน็ การปน้ั ทมี่ แี ผน่ หลงั รองรบั และมคี วามนนู
ของรปู สงู ขึน้ มาจากพื้นหลงั มากกวา่ แบบนูนตา่ำ

๓. การปนั้ แบบลอยตัว เป็นการปั้นทสี่ ามารถมองเห็นได้รอบด้าน

แบบนนู ต่ำา แบบนนู สูง แบบลอยตวั

ว ัสดุอปุ กรณท์ ีใ่ ชใ้ นการปน้ั

วสั ดุอุปกรณท์ ใี่ ช้ในการป้นั มดี ังน้ี
๑. ดนิ เหนียวหรอื ดินนาำ้ มัน
๒. เคร่ืองมือทช่ี ว่ ยในการป้ัน เชน่ ดนิ สอ ลวด ไมบ้ รรทัด มีด
๓. กระดาษหนงั สอื พมิ พ์รองพนื้ หรอื แผน่ ไม้รองดนิ

˹Nj ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ àÃÕ¹ÃÈÙŒ ÅÔ »Ð·ËèÕ ÅÒ¡ËÅÒ 23

ข้ันตอนการปน้ั

การปน้ั มขี ้ันตอนดงั นี้
๑. ปกู ระดาษหรือแผน่ ไม้รองพน้ื
๒. นวดดินเหนยี วหรือดนิ น้าำ มนั จนนิ่มเปน็ เนอ้ื เดยี วกัน
๓. กำาหนดส่ิงที่จะป้ันแล้วสังเกตส่ิงนั้นว่ามีรูปร่าง ลักษณะ และส่วน
ประกอบอะไรบ้าง
๔. ออกแบบสง่ิ ท่ีจะป้ันตามความคิดอยา่ งครา่ วๆ
๕. ปัน้ ตามขั้นตอน ตกแต่งรายละเอียดตามตอ้ งการ
๖. นาำ ผลงานอธบิ ายใหเ้ พือ่ นฟงั พร้อมรบั คาำ ติ-ชม และแกไ้ ขใหด้ ขี ึน้

ก ารปั้นเปน็ รูปรา่ ง รูปทรงต่างๆ

การปน้ั เป็นรปู ร่าง รปู ทรงต่างๆ มีดังนี้
๑. การปั้นเป็นเส้น เป็นการนำาดินมาป้ันเป็นเส้นขนาดต่างๆ แล้ว

นาำ มาขดเปน็ รูปรา่ งตามจินตนาการ และความคดิ สรา้ งสรรค์
วิธกี ารป้นั เปน็ เสน้ มขี ัน้ ตอนดงั น้ี

๑) คลงึ ดนิ ใหเ้ ปน็ กอ้ นกลมๆ

24 ˹‹Ç¡ÒÃàÃÂÕ ¹Ã·ŒÙ Õè ñ àÃÂÕ ¹ÃȌ٠ÅÔ »Ð·èÕËÅÒ¡ËÅÒÂ

๒) กดกอ้ นกลมคลึงให้เป็นทอ่ น

๓) คลงึ สองมอื ให้เปน็ เสน้ ยาว

๔) นาำ มาขดให้เกิดเป็นรูปตา่ งๆ

˹Nj ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙ·Œ Õè ñ àÃÕ¹ÌÈÙ ÔŻзÕèËÅÒ¡ËÅÒ 25

๕) จะได้ผลงานสรา้ งสรรค์การป้ันจากเสน้ ใหเ้ ปน็ รปู ตามตอ้ งการ

๒. การปน้ั เปน็ แผน่ เปน็ การปน้ั ดนิ เปน็ แผน่ บางๆ แลว้ นาำ มาประกอบ
เปน็ รปู รา่ งตา่ งๆ ตามทไี่ ด้ออกแบบไว้

วิธกี ารปั้นเป็นแผน่ มขี นั้ ตอนดงั น้ี
๑) กดดินหรอื ใช้ไม้กลมคลึงดิน ๒) ตัดแผน่ ดนิ ใหเ้ ป็นรูปทรงตา่ งๆ
ให้เปน็ แผน่ ขนาดต่างๆ ตามต้องการ

26 ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ àÃÂÕ ¹ÃÙŒÈÔŻзèËÕ ÅÒ¡ËÅÒÂ

๓) นำาดินมาประกอบเข้าเป็นรูปตามท่ีออกแบบไว้ แล้วตกแต่ง
รายละเอียดดว้ ยเครอ่ื งมอื ป้นั ให้สวยงาม

๔) จะได้ผลงานการปั้นเป็นแผ่น

˹Nj ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙŒ·èÕ ñ àÃÂÕ ¹ÃŒÈÙ ÔŻзèÕËÅÒ¡ËÅÒ 27

๓. การปน้ั เปน็ เสน้ และการปน้ั เปน็ แผน่ ผสมกนั เปน็ การนาำ ดนิ นาำ้ มนั
ทปี่ น้ั เปน็ เสน้ และปนั้ เปน็ แผน่ มาประกอบเปน็ รปู รา่ งตา่ งๆ ตามความคดิ และ
จนิ ตนาการ

วิธีการปัน้ เป็นเสน้ และการปนั้ เป็นแผน่ ผสมกัน มีขัน้ ตอนดงั น้ี
๑) คลงึ ดนิ เปน็ เสน้ และกดตดั ด นิ ให้เป็นแผ่น
๒) นำาดนิ เส้นและดินแผน่ มาประกอบกนั ให้เปน็ ภาพตามตอ้ งการ

๓) จะไดผ้ ลงานจากการปัน้ เปน็ เส้นและการปัน้ เปน็ แผ่นผสมกัน

28 ˹Nj ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙ·Œ èÕ ñ àÃÕ¹ÌÈÙ ÅÔ »Ð·ËèÕ ÅÒ¡ËÅÒÂ

๔. การป้ันรูปทรงเรขาคณิต เป็นการป้ันรูปทรงท่ีมีลักษณะเป็น
เหล่ยี มหรอื ทรงกลม แล้วนาำ มาประกอบเป็นรูปร่างต่างๆ

ว ธิ กี ารป้นั รูปทรงเรขาคณติ มีขั้นตอนดงั นี้

๑) ปัน้ ดนิ ให้เปน็ รปู ทรงกลม ๒) นำารปู ทรงเรขาคณิตมาประกอบ
หรอื ทรงเหล่ียมขนาดตา่ งๆ ติด เปน็ รูปท่อี อกแบบไว ้
๓) จะได้ผลงานการปั้นจากรูปทรงเรขาคณิต

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ñ àÃÂÕ ¹ÃÙÈŒ ÔŻзèËÕ ÅÒ¡ËÅÒ 29

๕. การปนั้ แบบอสิ ระ เป็นการนาำ ดนิ มาปนั้ เป็นรปู ตา่ งๆ โดยไม่ต้อง
ทำาเป็นเส้น เป็นแผ่นหรือรูปทรงเรขาคณิต รูปทรงของผลงานจะเป็นแบบ
อิสระแตกต่างกันออกไป ท้ังน้ีขึ้นอยู่กับความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
ของตนเอง

ตวั อย่างการปนั้ แบบอิสระ
“ปน้ั รปู เต่า”

การป้นั รูปเต่า มีขั้นตอนดงั น้ี
๑) ปั้นชน้ิ สว่ นต่างๆ ของรปู เต่า

๒) ประกอบชิน้ ส่วนเขา้ เปน็ รปู เต่า

30 ˹‹Ç¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙ·èÕ ñ àÃÂÕ ¹ÃȌ٠ÔŻзèËÕ ÅÒ¡ËÅÒÂ

“ปั้นรปู แมลงปอ”
การป้ันรปู แมลงปอ มขี น้ั ตอนดงั นี้
๑) ป้นั ชิน้ ส่วนต่างๆ ของรูปแมลงปอ
๒) ประกอบชิน้ ส่วนเขา้ เปน็ รูปแมลงปอ

ผลงานจากการปั้นแบบอสิ ระหลากหลายรปู แบบ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹÷ٌ Õè ñ àÃÂÕ ¹ÃŒÈÙ ÔŻзËèÕ ÅÒ¡ËÅÒ 31

หนทู าำ ได้

ให้นักเรียนเลือกป้ันผลงานท่ีมีลักษณะใดลักษณะหน่ึง ดังต่อไปนี้
คนละ ๑ ชน้ิ
๑. ปัน้ แจกนั ดว้ ยวธิ ีป้ันเปน็ เส้น
๒. ปั้นสรา้ งสรรคด์ ้วยวธิ ีปนั้ เปน็ แผน่
๓. ปั้นเปน็ รูปทรงเรขาคณติ
๔. ปน้ั เป็นงานสร้างสรรคห์ ลากหลายวธิ ีในผลงาน

แนวการวัดผลและประเมินผล

วิธีวัดผล
สงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านในชนั้ เรยี น โดยเลอื กใชเ้ ครอ่ื งมอื
วดั ผลหมายเลข ๑, ๒, ๔, ๖ และ ๗
เคร่ืองมอื วดั ผล
เลือกใช้เคร่ืองมือวัดผลจากการทำากิจกรรม “หนูทำาได้” โดยใช้
เครอื่ งมอื วดั ผลหมายเลข ๑, ๒, ๔, ๖ และ ๗
เกณฑก์ ารผ่าน
ผ่านเกณฑป์ านกลางในทกุ กจิ กรรม

˹§Ñ Ê×ÍàÃÂÕ ¹áÁ¤ç
ÈÔÅ»Ð

ª¹éÑ »ÃжÁÈ¡Ö ÉÒ»‚·èÕ ò

ÃÒ¤Ò ñðð ºÒ·


Click to View FlipBook Version