The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือศูนย์จัดการกองทุนชุมชน 18 แห่ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by charee2521, 2022-07-21 03:50:48

ถอดรหัส Model การบริหารจัดการหนี้

คู่มือศูนย์จัดการกองทุนชุมชน 18 แห่ง

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน

บา้ นหนองเม็ก จ. นครราชสีมา

1. สมาชกิ ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน ประกอบด้วย

เงินทุนในการบรหิ ารจดั การท้ังส้ิน จาํ นวน 8,809,923.39 บาท

กลุม่ กองทุนมีเงิน/กลุม่ กองทุนไม่มีเงิน จาํ นวนเงินทุน (บาท) จาํ นวนสมาชกิ (คน)

กลุ่มขยายเมล็ดพันธขุ์ า้ วชุมชน 116,808.39 59
กลุ่มออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลิต 8,693,115 985
กองทุน/กลุ่มอาชพี อ่ืน ๆ จาํ นวน 18 กองทุน/กลุ่มอาชพี 1,761,950.32 985

2. เทคนิคการดาํ เนินงาน

เทคนิคการสรา้ งแรงจูงใจ เทคนิคการสรา้ งแรงจูงใจ

การบูรณาการกองทุน ครวั เรอื นเป้าหมาย

ประชมุ หารอื /เจรจา/บูรณาการกองทุน/หากอง 1 ประชมุ สรา้ งความรคู้ วามเข้าใจใหค้ วามสําคัญและ
ทุนรบั ผิดชอบ/งานครบ ระบบดี มีข้อมูลวางแผน
อนาคตกองทุน/ไม่กระทบลูกหน้ีและระเบยี บกลุ่ม/ ประโยชน์การลดหน้ี/ปลดหน้ี
กองทุนการเงินเดิม
2 ส่งเสรมิ อาชพี และหนุนเสรมิ การสรา้ งรายได้ครวั เรอื น

และจดั สวัสดิการชว่ ยเหลือสมาชกิ /เพ่ิมทักษะด้านการ
บรหิ ารการเงินครวั เรอื น

3 อัตราดอกเบ้ยี เท่ากัน แม้ขยายระยะเวลากู้ต่างกัน

ค้นหารปู แบบหรอื โมเดล

และวธิ กี ารปรบั โครงสรา้ งหน้ี

อัตราดอกเบ้ยี เท่ากัน ระยะเวลาชาํ ระเงินกู้ต่างกัน
(หนองเม็กโมเดล แพ็คเกจ 3-5-7 ดอกเบ้ียรอ้ ยละ 12 บาท)

49

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน

บ้านหนองเม็ก จ. นครราชสีมา

3. รปู แบบการบรหิ ารจดั การหน้ี

กลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต แนวทางการขบั เคลื่อนศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน
เป็นแกนหลัก บ้านหนองเม็ก
(สมาชกิ 20 กลุม่ )
เงินทุนในการบรหิ ารจดั การทั้งส้ิน
วเิ คราะห์กลุ่มลูกหนี้ จาํ นวน 8,809,923.39 บาท

กลุม่ ออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลติ กลุม่ ขยายเมลด็ พันธุข์ ้าวชุมชน

จดั ตั้ง พ.ศ. 2540 จดั ตั้ง พ.ศ. 2547

เงนิ ทนุ 8,693,100 บาท เงนิ ทนุ 116,800 บาท

อัตราดอกเบี้ย รอ้ ยละ 12/ ปี อัตราดอกเบ้ยี รอ้ ยละ 12/ปี

ยอดหน้ีไม่เกิน ยอดหนี้ 30,001 - ยอดหน้ี ระยะเวลาให้คืนเงนิ กู้ 1-7 ปี ระยะเวลาให้คืนเงนิ กู้ 1-7 ปี
30,000 บาท 50,000 บาท 50,001 บาท
เงื่อนไข
ข้ึนไป
1. ลูกหน้ีดี

2. วงเงนิ กู้ไม่เกินเงนิ สัจจะสะสมไม่ต้องมีผู้คาประกัน

3. วงเงนิ กู้ไม่เกิน 50,000 บาท ต้องมีผู้คาประกันอย่างน้อย 2 คน

แพ็กเกจ 4. วงเงนิ กู้เกิน 50,000 บาท ต้องมีผู้คาประกันอยา่ งน้อย 3 คน
และได้รบั ความเห็นชอบของคณะกรรมการจาํ นวน 3 ใน 4

ยอดไม่เกิน 30,000 บาท 5. ต้องมีการชาํ ระเงนิ ต้น และลดดอกเบี้ยทกุ ปี
ชาํ ระหนี้ไม่เกิน 3 ปี
6. ฝากสัจจะสะสมพิเศษเพื่อชาํ ระคืนเงนิ ต้นทกุ ปี
ยอด 30,001 - 50,000 บาท
ดอกเบ้ีย ชาํ ระหน้ีไม่เกิน 5 ปี ผิดนัดชาํ ระ

12 % ยอดเกิน 50,001 บาท 1. หากไม่สามารถชาํ ระหน้ีได้ภายในระยะเวลาทก่ี ําหนด ต้องดําเนินการ
ต่อปี ชาํ ระหน้ีไม่เกิน 7 ปี รบั สภาพหนี้และปรบั โครงสรา้ งหน้ี โดยเสียค่าธรรมเนียมรอ้ ยละ 0.5

2. หากผิดเงอื่ นไขการชาํ ระเงนิ ต้นและดอกเบ้ียต้องเสียค่าธรรมเนียม
รอ้ ยละ 1

3. คณะกรรมการพิจารณาเป็นรายกรณี

4. ปัจจยั ความสาํ เรจ็ ในการบรหิ ารจดั การหนี้

1 ประชมุ ประชาคมใชก้ ระบวนการมีส่วนรว่ ม “รว่ มคิด รว่ มทํา รว่ มตัดสินใจ” อยา่ งสมาเสมอ
2 ขอ้ มูลครบ ระบบชดั เจน
3 มีการจดั ทําฐานข้อมูลและวเิ คราะหล์ ูกหน้ีอย่างเป็นระบบและชดั เจน
4 ยดึ ระเบียบ ขอ้ บังคับการดําเนินงานอยา่ งเครง่ ครดั
5 ทุกคนมีความเสียสละ มีความจรงิ ใจ และรบั ผิดชอบต่อบทบาทหน้าท่ีของตนเอง สรา้ งความเชอ่ื มั่นใหก้ ับสมาชกิ

ใหเ้ กิดความไวว้ างใจ ใชห้ ลักคุณธรรม 5 ประการ

6 ส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนดําเนินชวี ติ โดยยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7 ได้รบั การส่งเสรมิ สนับสนุนการดําเนินงานจากหน่วยงานภาครฐั และภาคเอกชน อย่างต่อเน่ือง

50 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน

บ้านหนองเม็ก จ. นครราชสีมา

5. แนวทางการสง่ เสรมิ สนับสนุนครวั เรอื นให้สามารถลดหนี้/ ปลดหน้ี

ประชาสัมพันธส์ รา้ งการรบั รูแ้ นวทางการดําเนินงานศูนย์จดั การกองทนุ ชุมชน “กิจกรรม สํานึกดี แผนดี บรหิ ารหน้ีได้”
ประชุมคณะกรรมการศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชน และจดั ทาํ ระเบยี บข้อมูลกองทนุ ชุมชน
การสํารวจข้อมูล และการเตรยี มข้อมูลของกลุ่ม/กองทุนในชุมชน การจดั ทาํ ทะเบียนลูกหนี้คนในชุมชน การวิเคราะห์
ข้อมูลลูกหน้ี การจดั ประเภทลูกหน้ี
การประชาคมรบั สมัครครวั เรอื นทส่ี นใจเข้ารว่ มโครงการ
ดําเนินการปรบั โครงสรา้ งหน้ีครวั เรอื นเปา้ หมาย
ประชุมเชงิ ปฏิบัติการความรูด้ ้านการเงนิ ในการบรหิ ารจดั การหน้ี

• อบรมให้ความรกู้ ารสรา้ งวนิ ยั ทางการเงนิ การจดั ทาํ บญั ชคี รวั เรอื น การสง่ เสรมิ การออม วางแผนการใชจ้ า่ ยทางการเงนิ การปรบั พฤติกรรมทางการเงนิ

• ส่งเสรมิ สนับสนนุ อาชพี และการดําเนินชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงแก่ครวั เรอื นเป้าหมาย

หนนุ เสรมิ การส่งเสรมิ อาชพี ขอรบั การสนับสนนุ งบประมาณจากกลุ่ม/กองทนุ ในชุมชน
ทมี ปฏิบัติการแก้หน้ี ติดตาม สนับสนนุ ให้กําลังใจครวั เรอื นอย่างสมาเสมอ

6. การสง่ เสรมิ อาชพี ครวั เรอื นเปา้ หมายตามกิจกรรม “สาํ นึกดี แผนดี บรหิ ารหนี้ได้”

ปี 2560 การส่งเสรมิ อาชพี ปี 2561 การส่งเสรมิ อาชพี ปี 2562 การส่งเสรมิ อาชพี ปี 2563 การส่งเสรมิ อาชพี
“ทําปลาส้มสมุนไพร” “เน้ือแดดเดียว” “เน้ือแดดเดียว” “เล้ียงไก่พันธไุ์ ข่”

ผลสาํ เรจ็ การบรหิ ารจดั การหนี้ศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบ้านหนองเม็ก

ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563

บรหิ ารจดั การหนี้ 13 คน บรหิ ารจดั การหน้ี 8 คน บรหิ ารจดั การหนี้ 16 คน บรหิ ารจดั การหน้ี 18 คน
จาํ นวน 1,222,000 บาท จาํ นวน 1,104,000 บาท จาํ นวน 860,000 บาท จาํ นวน 1,620,000 บาท

ลดหนี้ คน ปลดหนี้ คน ลดหน้ี คน ปลดหน้ี คน ลดหนี้ คน ปลดหน้ี คน ลดหน้ี คน ปลดหนี้ คน

(บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท)

140,000 7 370,000 6 52,000 6 68,000 2 19,000 1 75,000 2 520,000 15 260,000 3

51

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน

บา้ นหนองเม็ก จ. นครราชสีมา

7. ครวั เรอื นต้นแบบ

ครวั เรอื นท่ี 1 นางทองยุน่ ภักดีโชติ/อาชพี เกษตรกรรม
บา้ นเลขที่ 74 ยอดเงนิ กู้ 70,000 บาท ก้เู งนิ ลงทนุ ซอื้ ปจั จยั การ

ผลิตปลูกมันสําปะหลัง ได้เข้ารว่ มโครงการการบรหิ ารจดั การหน้ีกับ
ศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชมุ ชน ได้รบั การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ จงึ ประกอบ
อาชพี เสรมิ เพ่ิมรายได้จากการทอเส่ือกก ทาํ ปลาส้มสมุนไพรและทาํ
ไข่เค็มสมุนไพร พรอ้ มท้งั ปรบั เปล่ียนพฤติกรรมการใชช้ วี ิตตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ก่อหน้ีเพิ่ม “ปัจจุบันประสบความ
สําเรจ็ ปลดหน้ีได้”

ครวั เรอื นท่ี 2 นางหนูอาด ทองภูบาล/อาชพี เกษตรกรรม
บา้ นเลขท่ี 36 ยอดเงนิ กู้ 80,000 บาท กู้เงนิ ลงทนุ ซอ้ื ปจั จยั การผลิตปลูกอ้อย

ได้เขา้ รว่ มโครงการการบรหิ ารจดั การหนี้กับศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชน ได้รบั การส่งเสรมิ
และสนับสนนุ ประกอบอาชพี เสรมิ เพิ่มรายได้เพ่ือให้มีเงนิ เพียงพอต่อการชาํ ระหน้ี โดย
เปน็ สมาชกิ กลมุ่ อาชพี สานตะกรา้ จากเส้นใยสังเคราะห์ ทาํ เน้ือแดดเดียวและทาํ บายศรี
ทงั้ ยงั ปรบั เปลยี่ นพฤติกรรมดําเนินชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รจู้ กั กิน
รูจ้ กั ใช้ รูจ้ กั ออม ไม่ก่อหน้ีเพิ่ม “ปัจจุบันประสบความสําเรจ็ ปลดหนี้ได้”

8. แนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้ซาซาก

ทางตรง

1 ส่งเสรมิ สนับสนุนการดําเนินชวี ิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2 ส่งเสรมิ อาชพี เพ่ือเพ่ิมรายได้ใหค้ รวั เรอื น

3 ส่งเสรมิ การจดั ทําบัญชคี รวั เรอื น

4 ส่งเสรมิ การออม

5 ส่งเสรมิ วินัยทางการเงิน Math

ทางอ้อม

1 รว่ มกับชมุ ชนในการบรหิ ารจดั การชมุ ชนแบบสังคมแหง่ ความเก้ือกูล
2 บรหิ ารจดั การกองทุนชมุ ชนตามหลักธรรมาภิบาล

52 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนยจ์ ดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชนบ้านบอน
หมู่ท่ี 7 ตาํ บลลาํ ห้วยหลัว อาํ เภอสมเด็จ

จงั หวดั กาฬสินธุ์

53

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบ้านบอน
หมู่ท่ี 7 ตาํ บลลาํ ห้วยหลัว อาํ เภอสมเด็จ

จงั หวดั กาฬสินธุ์

วสิ ัยทัศน์

“ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชนเปน็ ของท่าน บรกิ ารเป็นของเรา”

จดั ต้ัง
เดิมใชช้ อื่ สถาบันการจดั การเงนิ ทนุ ชุมชนบ้านบอน วนั ท่ี 30 สิงหาคม 2555
เปลยี่ นชอื่ เป็น ศูนย์จดั การกองทนุ ชุมชนบา้ นบอน ปี 2560
ประธานศูนย์จดั การกองทุนชุมชน

นางนันทา มะติยะภักดิ์ โทร : 09-2890-9507

คณะกรรมการบรหิ ารศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน
จาํ นวน 15 คน ชาย 4 คน หญิง 11 คน

ความเป็นมา

ขอ้ มูลทั่วไป บา้ นบอน ทตี่ ้ังอยู่ห่างจากทวี่ า่ การอําเภอสมเด็จประมาณ 5 กิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศ
เปน็ ทรี่ าบลมุ่ เหมาะต่อการการเกษตร ชาวบา้ นส่วนใหญป่ ระกอบอาชพี เกษตรกรรม ทาํ นาและทาํ ไร่ อาชพี เสรมิ
ทาํ ปศุสัตว์ (โค กระบอื และสุกร) มีจาํ นวน 110 ครวั เรอื น 560 คน ประกอบด้วย ชาย 266 คน หญิง 294 คน

สาเหตุปัญหาหนี้สินครวั เรอื น แต่เดิมทเี่ กิดจากการเป็นหนี้กองทนุ ต่าง ๆ ท้งั ทจ่ี ดั ตั้งจากการรวมกลุ่ม
ของชาวบ้านและที่จดั ตั้งโดยภาครฐั ความแตกต่างเหล่าน้ีทําให้เกิดเงื่อนไขแตกต่างกันไป ส่งผลกระทบต่อ
การวางแผนบรหิ ารจดั การหน้ีสิน และนําไปสู่วงจรหนห้ี มุนเวยี น กู้หลายท่ี เปน็ หนหี้ ลายทาง ทงั้ น้ี เพ่ือเปน็ การ
ยกระดับการจดั การแก้ไขปัญหาหน้ีสินครวั เรอื น ให้เกิดความคุ้มค่า มีประสิทธภิ าพและสัมฤทธผิ์ ลยงิ่ ขึน้ จงึ ได้
จดั ตั้งศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบ้านบอน โดยมีคณะกรรมการศูนย์จดั การกองทุนชุมชน เป็นกลไกสําคัญใน
การขบั เคลอื่ นการดําเนินงานศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชน ทาํ หน้าทแ่ี ก้ไขปญั หาหนี้ครวั เรอื นและบูรณาการบรหิ าร
จดั การเงนิ ทนุ ชุมชนให้สามารถใชเ้ งนิ ทนุ อยา่ งคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด

54 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนยจ์ ดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน
บา้ นบอน จ. กาฬสินธุ์

1. สมาชกิ ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน ประกอบด้วย

เงินทุนในการบรหิ ารจดั การท้ังส้ิน จาํ นวน 13,002,495 บาท

การปรบั โครงสรา้ งหน้ี

กลุม่ กองทุนมีเงิน/ จาํ นวนเงินทุน จาํ นวน อดีต ปจั จุบนั
กลุม่ กองทุนไม่มีเงิน (บาท) สมาชกิ
(คน) ระยะเวลา ระยะเวลา
ดอกเบ้ยี ปลอ่ ยกู้ ดอกเบย้ี ปลอ่ ยกู้
1. กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต 10,702,495 573 15 10
2. กองทุนหมู่บ้านฯ 2,300,000 109 1 ปี 5 ปี
3. กองทุนแม่ของแผ่นดิน 109
31,121 6 1 ปี 10 5 ปี

-- --

4. กลุ่มอาชพี (กองทุนหนุน 656,367 109 - - - -

เสรมิ อาชพี ) จาํ นวน 5 กลุ่ม

2. เทคนิคการดาํ เนินงาน

1เทคนิคที่ การสรา้ งแรงจูงใจการบูรณาการ
กองทุน

• บูรณาการคณะกรรมการกลุ่ม/กองทุน 3เทคนิคท่ี ค้นหารปู แบบหรอื โมเดล
• จดั ประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชน และวธิ กี ารปรบั โครงสรา้ งหน้ี

เพ่ือสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจแนวทางการดําเนินงาน
• หลักนิติธรรม ต้องไม่กระทบต่อระเบยี บข้อบังคับกลุ่ม/

กองทุนเดิม

2เทคนิคที่ การสรา้ งแรงจูงใจ “ปรบั อัตราดอกเบ้ียเท่ากัน ยืดระยะเวลา
ครวั เรอื นเปา้ หมาย ปล่อยกู้เท่ากัน”

• ปรบั ลดอัตราดอกเบ้ียใหเ้ ท่ากัน ยืดระยะเวลาปล่อย
กู้เท่ากันเพ่ือใหส้ มาชกิ สามารถเลือกเมนูบรกิ ารตาม
ความต้องการของครวั เรอื น

• กําหนดเพดานยอดเงินกู้ใหค้ รวั เรอื นสามารถกู้สูงข้นึ
• จดั สวสั ดิการกองทุนอยา่ งทั่วถึงทุกคนในชมุ ชน
• จดั กลุ่มลูกหน้ีตามวงเงินกู้

55

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน
บา้ นบอน จ. กาฬสินธุ์

3. รปู แบบการบรหิ ารจดั การหนี้
บ้านบอนโมเดล 10/ 5

กลุม่ ออมทรพั ย์ กทบ.
เพื่อการผลติ ดอกเบี้ย 10
ดอกเบยี้ 10
เง่ือนไข กู้ 5 ปี
กู้ 5 ปี
• จดั ตั้ง พ.ศ. 2544
• จดั ตั้ง พ.ศ. 2544 • เงินทุน 2,300,000 บาท
• เงินทุน 10,702,495 บาท • อัตราดอกเบ้ยี รอ้ ยละ 10/ปี
• อัตราดอกเบ้ีย รอ้ ยละ 10/ปี • ระยะเวลาให้คืนเงินกู้ 5 ปี
• ระยะเวลาให้คืนเงินกู้ 5 ปี
• ลูกหนี้ดี
• ลูกหนี้ดี • กู้ไม่เกิน 75,000/ครวั เรอื น
• กู้ไม่เกิน 200,000/ครวั เรอื น • ไม่มีหนี้นอกระบบ
• ไม่มีหน้ีนอกระบบ • ออมขัน้ ตา 100 บาท
• ออมขั้นตา 100 บาท • เลือกชาํ ระรายปหี รอื รายเดือน
• เลือกชาํ ระรายปหี รอื รายเดือน

4. ปัจจยั ความสาํ เรจ็ ในการบรหิ ารจดั การหน้ี

1 ศักยภาพทดี่ ี และสภาพคล่องทางการเงนิ ของกลุ่ม/กองทนุ ทางการเงนิ
2 คณะกรรมการ สมาชกิ มีเป้าหมายในการบรหิ ารจดั การหน้ีเดียวกัน คือ การลดหนี้ ปลดหนี้
3 คณะกรรมการศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชนเขา้ ใจแนวทางการดําเนินงานศูนยฯ์ รวมถึงคาํ นงึ ถึงประโยชน์ของคนในชุมชน

และบรหิ ารจดั การยดึ หลักคุณธรรม 5 ประการ (ซอ่ื สัตย์ เสียสละ รบั ผิดชอบ เห็นอกเห็นใจกัน ไวว้ างใจกัน)

4 การมีส่วนรว่ มของสมาชกิ ความรูส้ ึกเป็นเจา้ ของ ใชก้ ระบวนการมีส่วนรว่ ม “รว่ มคิด รว่ มทาํ รว่ มตัดสินใจ” พรอ้ มทงั้

ส่งเสรมิ ให้คนในชุมชน “คิดได้ ทาํ เปน็ รว่ มแก้ไขปญั หาในชุมชน”

5 ศูนย์จดั การกองทนุ ชุมชนสรา้ งทางเลือกในการสนับสนุนชอ่ งทางการส่งเสรมิ อาชพี ให้กับครวั เรอื นเป้าหมาย ภายใต้

กิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บรหิ ารหนี้ได้”

6 ส่งเสรมิ ให้ประชาชนน้อมนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรบั ใชใ้ นการดําเนินชวี ติ
7 เจา้ หน้าทพี่ ัฒนาชุมชนและคณะกรรมการศูนยฯ์ ติดตาม ส่งเสรมิ สนับสนนุ การขบั เคลอื่ นการดําเนินงานศูนยจ์ ดั การ

กองทนุ ชุมชนอยา่ งสมาเสมอ

56 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน
บา้ นบอน จ. กาฬสินธุ์

5. แนวทางการสง่ เสรมิ สนับสนุนครวั เรอื นให้สามารถลดหน้ี/ปลดหนี้

ประชมุ คณะกรรมการกลุ่ม/กองทุนทางการเงิน ท่ีเขา้ รว่ มเปน็ สมาชกิ ศูนยจ์ ดั การกองทุนชมุ ชน เพ่ือหาวธิ กี ารบรหิ ารจดั การศูนยฯ์
ประชาสัมพันธส์ รา้ งการรบั รใู้ หป้ ระชาชนในหมู่บา้ นเหน็ ถึงประโยชน์การแก้ไขปญั หาหน้ีครวั เรอื น
จดั ทําฐานข้อมูลสมาชกิ ศูนยฯ์ สํารวจขอ้ มูลสมาชกิ /เงินทุน และขอ้ มูลหน้ี เพ่ือเปน็ ฐานข้อมูลการตัดสินใจในการกําหนดแนวทางการ
บรหิ ารจดั การหน้ี โดยวเิ คราะหข์ ้อมูลลูกหน้ี และจดั ประเภทลูกหน้ี
จดั ทําเมนูทางเลือกบรกิ ารลูกหน้ี
คัดเลือกครวั เรอื นเปา้ หมายท่ีสมัครใจเขา้ รว่ มโครงการ
การส่งเสรมิ การบรหิ ารจดั การหน้ี จดั เมนูทางเลือกในการชาํ ระหน้ีใหก้ ับลูกหน้ี ปรบั โครงสรา้ งหน้ี โอนภาระหน้ี ปรบั เปล่ียนสัญญา
อบรมใหค้ วามรกู้ ารสรา้ งวินัยทางการเงิน การจดั ทําบญั ชคี รวั เรอื น การส่งเสรมิ การออม วางแผนการใชจ้ า่ ยทางการเงิน
สนับสนุนอาชพี ครวั เรอื น ลดรายจา่ ยเพ่ิมรายได้ และน้อมนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรบั ใชใ้ นการดําเนินชวี ิต
คณะกรรมการติดตาม เย่ยี มเยือนใหก้ ําลังใจ ใหค้ ําแนะนําครวั เรอื นเป้าหมายและสรปุ รายงานผลการดําเนินงานศูนยฯ์

6. การสง่ เสรมิ อาชพี ครวั เรอื นเปา้ หมายตามกิจกรรม “สาํ นึกดี แผนดี บรหิ ารหน้ีได้”

ผลสาํ เรจ็ การบรหิ ารจดั การหนี้ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชนบ้านบอน

ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563

บรหิ ารจดั การหนี้ 15 คน บรหิ ารจดั การหน้ี 15 คน บรหิ ารจดั การหน้ี 15 คน บรหิ ารจดั การหนี้ 16 คน
จาํ นวน 1,304,624 บาท จาํ นวน 854,956 บาท จาํ นวน 635,841 บาท จาํ นวน 900,393 บาท

ลดหนี้ คน ปลดหน้ี คน ลดหน้ี คน ปลดหนี้ คน ลดหน้ี คน ปลดหนี้ คน ลดหนี้ คน ปลดหนี้ คน

(บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท)

315,379 12 135,000 3 189,713 12 89,500 3 104,029 9 122,800 6 335,333 16 0 0

57

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน

บา้ นบอน จ. กาฬสินธุ์

7. ครวั เรอื นต้นแบบ

นางสมร คะสุวรรณ/อาชพี เกษตรกรรม ทาํ นา อาชพี เสรมิ เย็บผ้า ปกั ผ้า

บา้ นเลขท่ี 165 ยอดเงนิ กู้ 13,000 บาท กู้เงนิ จากแหล่งเงนิ ทนุ ในชุมชน เพื่อจดั ซอื้ วัสดุการตัดเย็บเส้ือผ้า
ก่อนเขา้ รว่ มโครงการ ไม่มีเงนิ ทนุ ซอื้ วัสดุอุปกรณ์การตัดเย็บเสื้อผ้า มีทกั ษะการตัดเย็บเส้ือผ้า
นางสมร คะสุวรรณ เล่าว่า ตนเองได้รบั การสืบทอดการทอผ้าต่อจากรุน่ พ่อรุน่ แม่ ใชเ้ วลาท่ีว่างเว้น

จากการทํานา มาทอผ้าสําหรบั ใชใ้ นครวั เรอื น ด้วยตนเองมีความสามารถมีทักษะการทอผ้า และการตัดเย็บ
เส้ือผ้าสําเรจ็ รูป อีกทั้งยังได้รบั การพัฒนาฝีมือจนสามารถปักลายผ้า รกั ษาภูมิปัญญาไว้ให้คนรุน่ หลังได้
สืบทอดเรยี นรู้ ประกอบกับตนเองมีแนวคิดจะหารายได้เสรมิ จงึ ได้ตัดสินใจเข้ารว่ มกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี
บรหิ ารหน้ีได้” และได้รบั การปรบั โครงสรา้ งหนี้ โดยได้กู้เงินกับกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต เพื่อนําเงิน
ดังกลา่ ว มาซอ้ื วสั ดุอปุ กรณก์ ารตัดเยบ็ เสื้อผา้ เปน็ เงนิ จาํ นวน 13,000 บาท โดยได้ตัดเยบ็ ทง้ั ผา้ ผนื และแปรรปู
เส้ือผ้าสําเรจ็ รูปสอดแทรกอัตลักษณ์ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษเพ่ือเพ่ิมมูลค่าให้กับสินค้า ด้านชอ่ งทางการ
จาํ หน่ายสินค้าตนเองจะสง่ ขายไปยงั กลมุ่ ทอผา้ พน้ื เมอื งในหมบู่ า้ น สรา้ งรายได้เสรมิ ให้กับครวั เรอื น จนสามารถ
นําเงนิ ดังกล่าวไปชาํ ระหน้ีกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตได้ตามกําหนดระยะเวลาการชาํ ระเงนิ กู้

หลงั เข้ารว่ มโครงการ ได้รบั การส่งเสรมิ อาชพี กิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บรหิ ารหน้ีได้” มีเงนิ ทนุ ซอื้ วสั ดุ
อุปกรณ์มาตัดเย็บเสื้อผ้าจาํ หน่ายสินค้าในกลุ่ม OTOP

8. แนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้ซาซาก

การจดั ตั้งกองทนุ “กลมุ่ ทอผา้ พน้ื เมอื ง” เพอื่ ส่งเสรมิ ให้ครวั เรอื นมกี ารรวมกลมุ่ ชว่ ยเหลอื ซงึ่ กันและกัน ให้ความมน่ั คง
ในการประกอบอาชพี และก่อให้เกิดรายได้อย่างต่อเน่ือง ซงึ่ ครวั เรอื นได้รบั การพัฒนาทกั ษะอาชพี ความรูค้ วามสามารถใน
ด้านการผลติ และการจดั การอยา่ งมีประสิทธภิ าพ เพ่ือก้าวไปสู่การเปน็ ผู้กอบการชุมชน โดยการขบั เคลอื่ นการพัฒนาอาชพี
ดังกลา่ ว ทาํ ให้ครวั เรอื นมอี าชพี ทส่ี รา้ งรายได้ให้ตนเอง โดยให้ชาวบา้ นสอนชาวบา้ นในสิง่ ทอี่ ยากทาํ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการ
รวมกลุ่มการจดั ตั้งกลุ่มทอผ้าพื้นเมือง ด้วยกระบวนการพัฒนา และต่อยอดมาแปรรูปเส้ือผ้าสําเรจ็ รูปให้เหมาะกับยุคสมัย
จาํ หน่ายให้กับคนทุกชว่ งวัย อีกทั้งยังเป็นการรกั ษาอัตลักษณ์ของคนในท้องถิ่น บรหิ ารงานโดยคณะกรรมการศูนย์ฯ
ท่ีรว่ มกันบูรณาการจัดต้ังขึ้นเพ่ือเป็นแหล่งเงินทุนและส่งเสรมิ ให้สมาชิกในชุมชนหรอื ผู้ท่ีสนใจ ได้เรยี นรูด้ ้านการ
ตัดเย็บเส้ือผ้า รายได้ทเี่ กิดขึ้นจากการรวมกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองนั้น สามารถนําไปบรหิ ารจดั การหนี้ และใชจ้ า่ ยในครวั เรอื น
จนสามารถลดหนี้ ปลดหน้ีในอนาคตได้

58 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนยจ์ ดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบา้ นแก่งทุ่ง
หมู่ที่ 4 ตาํ บลบ่อโพธ์ิ อาํ เภอนครไทย

จงั หวดั พิษณุโลก

59

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบา้ นแก่งทุ่ง
หมู่ท่ี 4 ตาํ บลบอ่ โพธ์ิ อาํ เภอนครไทย

จงั หวดั พิษณุโลก

วสิ ัยทัศน์

“มีออม ไม่มีอด ทยอยลด เพื่อหมดหนี้”

จดั ตั้ง
เดิมใชช้ อื่ สถาบันการเงนิ ชุมชนบ้านแก่งทงุ่ วนั ที่ 21 พฤษภาคม 2552
เปลยี่ นชอื่ เป็น ศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชนบา้ นแก่งทงุ่ ปี 2560
ประธานศูนย์จดั การกองทุนชุมชน
นายสมพงค์ ตั้งมั่น โทร : 08-7907-7148
คณะกรรมการบรหิ ารศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน
จาํ นวน 11 คน ชาย 5 คน หญงิ 6 คน

ความเป็นมา

ข้อมูลทั่วไป บ้านแก่งทุ่งท่ีตั้งอยู่ห่างจากท่ีว่าการอําเภอนครไทยไปทางทิศเหนือระยะทาง ประมาณ
30 กิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศเป็นท่ีราบระหว่างหุบเขาและมีป่าไม้ท่ีสมบูรณ์ ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบ
อาชพี เกษตรกรรม ได้แก่ ทาํ นา ทาํ สวน ปลูกผัก และเลี้ยงสัตว์

สาเหตุปัญหาหน้ีสินครวั เรอื น แต่เดิมทเี่ กิดจากการเป็นหนี้กองทนุ ต่าง ๆ ท้งั ทจ่ี ดั ตั้งจากการรวมกลุ่ม
ของชาวบ้านและที่จดั ตั้งโดยภาครฐั ความแตกต่างเหล่านี้ทําให้เกิดเงื่อนไขแตกต่างกันไป ส่งผลกระทบต่อ
การวางแผนบรหิ ารจดั การหนี้สิน และนําไปสู่วงจรหนห้ี มุนเวยี น กู้หลายท่ี เปน็ หนห้ี ลายทาง ทงั้ นี้ เพื่อเปน็ การ
ยกระดับการจดั การแก้ไขปญั หาหนี้สินครวั เรอื น ให้เกิดความคุ้มค่า มีประสิทธภิ าพและสัมฤทธผิ์ ลยงิ่ ขนึ้ จงึ ได้
จดั ตั้งศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชนบา้ นแก่งทงุ่ โดยมีคณะกรรมการศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชน เปน็ กลไกสําคัญใน
การขบั เคลอื่ นการดําเนินงานศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชน ทาํ หน้าทแ่ี ก้ไขปญั หาหน้ีครวั เรอื นและบูรณาการบรหิ าร
จดั การเงนิ ทนุ ชุมชนให้สามารถใชเ้ งนิ ทนุ อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด

60 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน
บา้ นแก่งทุ่ง จ. พิษณุโลก

1. สมาชกิ ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน ประกอบด้วย

เงินทุนในการบรหิ ารจดั การท้ังส้ิน จาํ นวน 7,607,040 บาท

การปรบั โครงสรา้ งหนี้

กลุม่ กองทุนมีเงิน/ จาํ นวนเงินทุน จาํ นวน อดีต ปัจจุบนั
กลุม่ กองทุนไม่มีเงิน (บาท) สมาชกิ
(คน) ดอกเบี้ย ระยะเวลา ระยะเวลา
1. กลุ่มออมทรพั ย์ (%) ปลอ่ ยกู้ (ป)ี ดอกเบีย้ (%) ปลอ่ ยกู้ (ป)ี
เพ่ือการผลิต
4,354,240 486 12 1 12 1

2. กองทุนหมู่บา้ นฯ 2,950,000 172 6 1 6 1
1
3. โครงการ กข.คจ. 302,800 70 3 3
1 (เงนิ บรจิ าค/

เงนิ สนับสนุน)

**หมายเหตุ : โครงการ กข.คจ. คิดเปน็ เงินบรจิ าค/เงินสนับสนุนการจดั ทําสัญญาเงินยมื โครงการ กข.คจ.**

2. เทคนิคการดาํ เนินงาน

เทคนิคการสรา้ งแรงจูงใจ เทคนิคการสรา้ งแรงจูงใจ

การบูรณาการกองทุน ครวั เรอื นเป้าหมาย

1• คณะกรรมการสมาชกิ ศูนย์ฯ ประชมุ หารอื /เจรจา/ 1 ประชมุ สรา้ งความรคู้ วามเข้าใจใหค้ วามสําคัญและประโยชน์การลดหน้ี/ปลดหน้ี
2 ส่งเสรมิ อาชพี และหนุนเสรมิ การสรา้ งรายได้ครวั เรอื น (ใชเ้ วลาสั้น คืนทุนเรว็
บูรณาการกองทุน/วางแผนอนาคตกองทุน/ไม่กระทบลูกหน้ี
และระเบียบกลุ่ม/กองทุนเดิม/หากองทุนรบั ผิดชอบ ได้กําไรงาม)

2• บูรณาการกองทุนโดยไม่ใชว้ ธิ กี ารปรบั ลดอัตราดอกเบ้ยี ค้นหารปู แบบหรอื โมเดล

(ไม่ส่งผลกระทบการดําเนินงานของกลุ่มองค์กรในชมุ ชน) และวธิ กี ารปรบั โครงสรา้ งหน้ี

อัตราดอกเบ้ยี คงเดิม เพ่ือไม่ใหก้ ระทบต่อผลการดําเนินงานสมาชกิ
และการบรหิ ารจดั การกองทุนท่ีผ่านมา

61

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน
บ้านแก่งทุ่ง จ. พิษณุโลก

3. รปู แบบการบรหิ ารจดั การหนี้

1 (แก่งทุ่งโมเดล) 3

โครงการ 2 กองทุนหมู่บ้าน
แก้ไขปัญหา และชุมชนเมือง
ความยากจน กลุ่มออมทรพั ย์
เพื่อการผลิต

แกนนําหลักในการบรหิ าร
จดั การหน้ี

• จดั ตั้ง พ.ศ. 2544 • จดั ต้ัง พ.ศ. 2528 • จดั ต้ัง พ.ศ. 2544 ผิดนัดชาํ ระ
• เงินทุน 302,800 บาท • เงินทุน 4,354,240 บาท • เงินทุน 2,950,000 บาท
• เงินบรจิ าค รอ้ ยละ 2/ปี • เงินบรจิ าค รอ้ ยละ 12/ปี • เงินบรจิ าค รอ้ ยละ 5/ปี คณะกรรมการพิจารณา
• ระยะเวลาใหค้ ืนเงินกู้ 1 ปี • ระยะเวลาใหค้ ืนเงินกู้ 1 ปี • ระยะเวลาใหค้ ืนเงินกู้ 1 ปี เป็นรายกรณี
(ทุกกลุ่ม)
• ลูกหน้ีดี เง่ือนไข • ลูกหน้ีดี
• ยืมไม่เกิน 10,000/ครวั เรอื น • กู้ไม่เกิน 75,000/ครวั เรอื น
• ไม่มีหน้ีนอกระบบ • ลูกหน้ีดี • ไม่มีหน้ีนอกระบบ
• ชาํ ระรายปี • กู้ไม่เกิน 120,000/ครวั เรอื น • ออมขั้นตาหม่ืนละ 100 บาท
• ไม่มีหน้ีนอกระบบ • เลือกชาํ ระรายปี
• ออมขั้นตาหม่ืนละ 100 บาท
• เลือกชาํ ระรายปี

4. ปจั จยั ความสาํ เรจ็ ในการบรหิ ารจดั การหนี้

ด้านคณะกรรมการศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชนบ้านแก่งทุ่ง ปจั จยั อ่ืน ๆ

• คณะกรรมการกองทนุ ชุมชน และกลุ่มอาชพี ในชุมชน • การได้รบั การสนับสนนุ ติดตาม ให้กําลังใจ การดําเนินงานจาก

ได้รบั ความเชอื่ มั่น ศรทั ธาในการแก้ไขปญั หาหน้ี หน่วยงานต่าง ๆ อยา่ งต่อเน่ือง เชน่ สพอ.อําเภอนครไทย สพจ.

• คณะกรรมการศูนยฯ์ มีความซอ่ื สัตย์ เสียสละในการดําเนินงาน พิษณุโลก และเครอื ข่ายภาคีการพัฒนา ฯลฯ

• คํานงึ ถึงประโยชน์ของคนในชุมชน • บรบิ ทการอยูร่ ว่ มอาศัยกันของประชาชน ทม่ี ีมาอยา่ งชา้ นาน
ด้านการบรหิ ารงาน มีความรกั ความสามัคคี

• ส่งเสรมิ การออมควบคู่กับการชาํ ระหน้ี

• คณะกรรมการศูนยฯ์ มีการประชุมการดําเนินงานทกุ เดือน • ครวั เรอื นเปา้ หมายให้ความรว่ มมือแก้ไขปญั หาหน้ีสินกับ

• คณะกรรมการศูนยฯ์ ทาํ ตามหน้าทท่ี ไ่ี ด้รบั มอบหมายเป็นอยา่ งดี คณะกรรมการฯ

• บรหิ ารจดั การยดึ หลักคุณธรรม 5 ประการ • การส่งเสรมิ อาชพี ให้มีรายได้เพิ่มขนึ้ ตามกิจกรรมสนับสนนุ การ
บรหิ ารจดั การหนี้ ดําเนินการในรูปแบบกลุ่มอาชพี “กลุ่มเลี้ยงกบ

แก่งโตน” ทเ่ี ขม้ แข็ง ทส่ี ามารถดําเนินการต่อเน่ือง สมาชกิ กลุ่ม

เล้ียงกบมีความสามัคคี และสามารถบรหิ ารจดั การกลุ่มให้สมาชกิ

เกิดรายได้ เพื่อการลดหน้ีของตนเอง

62 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน
บ้านแก่งทุ่ง จ. พิษณุโลก

5. แนวทางการสง่ เสรมิ สนับสนุนครวั เรอื นให้สามารถลดหนี้/ปลดหนี้

1 ประชุมคณะกรรมการศูนย์ฯ เพื่อสรา้ งความเขา้ ใจถึงวตั ถุประสงค์ (ตกผลึกทางความคิด กําหนดเปา้ หมายรว่ ม)
ทราบถึงกระบวนการขั้นตอน/วธิ กี ารปรบั โครงสรา้ งหน้ี เพื่อประชาสัมพันธส์ รา้ งความเขา้ ใจให้กับคนในชุมชน

2 จดั เตรยี มข้อมูลของกลุ่มกองทนุ ในชุมชนทกุ กลุ่ม จดั ทาํ ทะเบียนลูกหน้ีคนในชุมชน วเิ คราะห์ข้อมูลลูกหนี้
จดั ประเภทลูกหน้ี

3 คัดเลือกครวั เรอื นเป้าหมายเข้ารว่ มโครงการปรบั โครงสรา้ งหนี้ครวั เรอื น
4 สนับสนุนครวั เรอื นเป้าหมาย เข้าอบรมกิจกรรม “สํานึกดี แผนดี บรหิ ารหนี้ได้” เพ่ือเสรมิ สรา้ งความรูด้ ้านการเงนิ

ในการบรหิ ารจดั การหน้ี รวมทงั้ สรา้ งวนิ ัยทางการเงนิ ให้กับครวั เรอื น

5 ส่งเสรมิ สนับสนนุ อาชพี และการดําเนินชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงแก่ครวั เรอื นเปา้ หมาย
6 คณะกรรมการศูนยฯ์ รว่ มกับเจา้ หน้าทพ่ี ัฒนาชุมชน ติดตาม เยีย่ มเยียน ให้กําลังใจ พบปะครวั เรอื นเป็นระยะเพื่อชว่ ย

เหลือในกรณีทม่ี ีปญั หาหรอื อุปสรรคในการดําเนินชวี ติ หลังเข้ารว่ มโครงการ

6. การสง่ เสรมิ อาชพี ครวั เรอื นเปา้ หมายตามกิจกรรม “สาํ นึกดี แผนดี บรหิ ารหนี้ได้”

การส่งเสรมิ อาชพี “การทําแหนมสมุนไพร” การส่งเสรมิ อาชพี “การเล้ียงกบในกระชงั ”

ผลสาํ เรจ็ การบรหิ ารจดั การหน้ีศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบา้ นแก่งทุ่ง ปี 2560 - 2563

ผลการบรหิ ารจดั การหน้ีรวมทงั้ สิ้น จาํ นวน 36 ครวั เรอื น
สามารถลดหนี้ จาํ นวน 36 ครวั เรอื น 76,990 บาท

63

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน
บ้านแก่งทุ่ง จ. พิษณุโลก

7. ครวั เรอื นต้นแบบ

นายประนอม บุญธรรม/อาชพี ปลูกไรข่ า้ วโพดเลย้ี งสัตว์

กู้เงินเพ่ือลงทุนประกอบอาชพี ปลูกไรข่ ้าวโพดเล้ียงสัตว์ แต่ผลผลิต
ทไ่ี ด้และราคาขา้ วโพดตกตา ทาํ ให้ไม่สามารถใชห้ นี้ได้ ต่อมาได้เขา้ รว่ มโครงการ
และได้รบั การส่งเสรมิ อาชพี กิจกรรมการทาํ กล้วยฉาบ โดยได้พยายามนําเงนิ ท่ี
เหลือจากการลงทุนมาต่อยอดอาชพี เสรมิ แต่ว่าการขายกล้วยฉาบนั้น รายได้
ไม่แน่นอนประกอบกับวัตถุดิบ “กล้วย” นั้น หายากในบางฤดูกาล จงึ ทําให้ไม่
สามารถแปรรูปการทาํ กล้วยฉาบได้ตลอดท้ังปี จงึ ได้หันมาทาํ อาชพี เสรมิ เป็น
“เลี้ยงกุ้งก้ามแดง”

ปัจจุบันกุ้งก้ามแดงสามารถขายได้ในราคากิโลกรมั ละ 400 บาท ชอ่ ง
ทางการขายสามารถขายในหมู่บ้านและหมู่บ้านข้างเคียง อีกท้งั ยังสามารถส่ง
ขายไปยังอําเภอเมืองพิษณุโลกได้เดือนละ 2 กิโลกรมั ซงึ่ เป็นชว่ งการทดลอง
เลี้ยงและหาตลาดใหม่ ๆ กิจกรรมดังกล่าว ทาํ ให้ครวั เรอื นมีรายได้เสรมิ ประมาณ 9,600 บาทต่อปี ในอนาคต
คาดว่าจะสามารถขายกุ้งในจาํ นวนที่มากขึ้นและสามารถนําเงนิ จาํ นวนดังกล่าวมาชาํ ระหนี้จนลดหนี้ ปลดหนี้
ได้ในอนาคต

8. แนวทางการแก้ไขปญั หาหน้ีซาซาก

1 คณะกรรมการศูนยฯ์ ดําเนินการสํารวจ/ตรวจสอบข้อมูลลูกหน้ีทงั้ หมดของกลุ่มกองทนุ การเงนิ ทเี่ ป็น
สมาชกิ ศูนยฯ์ พรอ้ มจดั ทาํ ฐานขอ้ มูลลูกหนี้ของคนในชุมชนเป็นรายครวั เรอื น แล้วนํามาวเิ คราะห์ข้อมูล
ลูกหนี้ และจดั ประเภทลูกหน้ี

2 คัดเลือกครวั เรอื นเป้าหมาย (ผู้มีหน้ีสิน) จาํ นวน 30 ครวั เรอื น
3 ประชุมสรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจในการบรหิ ารจดั การหนี้สินของตนเอง เชน่ การดําเนินชวี ติ ตามหลักปรชั ญา

เศรษฐกิจพอเพียง วเิ คราะห์/วางแผนการใชจ้ า่ ยทางการเงนิ ส่งเสรมิ การออม การปรบั พฤติกรรมทางการเงนิ
การบรหิ ารจดั การหนี้ (เทคนิคการลดหนี้, การวางแผนบรหิ ารหน้ีสิน) การเรยี นรูบ้ ทเรยี นจากครวั เรอื น
ต้นแบบลดหน้ี/ปลดหน้ี และเข้าสู่กระบวนการปรบั โครงสรา้ งหน้ี
4 จดั ทาํ แผนการส่งเสรมิ การประกอบอาชพี โดยวเิ คราะห์ตลาด/ศักยภาพ/ความต้องการของครวั เรอื น
5 ติดตาม เยย่ี มเยียนให้กําลังใจ และให้คําแนะนําครวั เรอื นเป้าหมาย

64 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบา้ นหนองคล้า
หมู่ท่ี 8 ตาํ บลพุเตย อาํ เภอวเิ ชยี รบุรี
จงั หวดั เพชรบูรณ์

65

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชนบ้านหนองคล้า
หมู่ท่ี 8 ตาํ บลพุเตย อาํ เภอวเิ ชยี รบุรี
จงั หวดั เพชรบูรณ์

วสิ ัยทัศน์

“เงินทุนมั่นคง ซอ่ื ตรง และบรกิ าร บรหิ ารโปรง่ ใส ใส่ใจสมาชกิ ”

จดั ต้ัง
เดิมใชช้ อ่ื สถาบันการจดั การเงนิ ทนุ ชุมชนบ้านหนองคล้า วนั ท่ี 14 มิถุนายน 2555
เปลยี่ นชอื่ เป็น ศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชนบ้านหนองคล้า ปี 2560
ประธานศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน
นายชาํ นาญ ขวญั อ่อน โทร : 08-1046-0685
คณะกรรมการบรหิ ารศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน
จาํ นวน 12 คน ชาย 6 คน หญิง 6 คน

ความเป็นมา

ข้อมูลท่ัวไป บ้านหนองคล้ามีลักษณะภูมิประเทศเป็นท่ีราบลุ่ม ลักษณะดินเป็นดินเหนียวเหมาะ
ต่อการปลูกเฉพาะพืชไรห่ รอื เล้ียงสัตว์ ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกรรม ทําไร่ และสวนผลไม้
อาชพี เสรมิ ได้แก่ การเลี้ยงปลา การเพาะเห็ด และเล้ียงสุกร มีจาํ นวน 114 ครวั เรอื น 380 คน ประกอบด้วย
ชาย 185 คน หญิง 195 คน

สาเหตุปัญหาหน้ีสินครวั เรอื น แต่เดิมทเ่ี กิดจากการเปน็ หนี้กองทนุ ต่าง ๆ ทงั้ ทจ่ี ดั ตั้งจากการรวมกลุ่ม
ของชาวบ้านและทจ่ี ดั ตั้งโดยภาครฐั ความแตกต่างเหล่าน้ีทาํ ให้เกิดเงอื่ นไขแตกต่างกันไป ส่งผลกระทบต่อ
การวางแผนบรหิ ารจดั การหน้ีสิน และนาํ ไปสู่วงจรหนหี้ มนุ เวยี น ก้หู ลายท่ี เปน็ หนหี้ ลายทาง ทงั้ นี้ เพอ่ื เปน็ การ
ยกระดับการจดั การแก้ไขปัญหาหนี้สินครวั เรอื น ให้เกิดความคุ้มค่า มีประสิทธภิ าพและสัมฤทธผ์ิ ลย่ิงขึ้น
จงึ ได้จดั ต้ังศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบ้านหนองคล้า โดยมีคณะกรรมการศูนย์จดั การกองทุนชุมชน เป็น
กลไกสําคัญในการขบั เคลอื่ นการดําเนินงานศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชน ทาํ หน้าทแ่ี ก้ไขปญั หาหน้ีครวั เรอื นและ
บูรณาการบรหิ ารจดั การเงนิ ทนุ ชุมชนให้สามารถใชเ้ งนิ ทนุ อยา่ งคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด

66 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน
บา้ นหนองคล้า จ. เพชรบูรณ์

1. สมาชกิ ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน ประกอบด้วย

เงินทุนในการบรหิ ารจดั การท้ังส้ิน จาํ นวน 11,794,438 บาท

การปรบั โครงสรา้ งหนี้

กลุม่ กองทุนมีเงิน/ จาํ นวนเงินทุน จาํ นวน อดีต ปัจจุบัน
กลุม่ กองทุนไม่มีเงิน (บาท) สมาชกิ
(คน) ดอกเบ้ยี ระยะเวลา ระยะเวลา
กลุ่มออมทรพั ย์ (%) ปลอ่ ยกู้ (ป)ี ดอกเบย้ี (%) ปลอ่ ยกู้ (ป)ี
เพ่ือการผลิต
5,702,219 404 12 1 10 1
โครงการ กข.คจ.
390,000 32 6 1 10 1
กองทุนหมู่บา้ นและ (เงนิ บรจิ าค) (เงนิ บรจิ าค)
ชุมชนเมือง
5,702,219 118 8 1 8 1

2. เทคนิคการดาํ เนินงาน

1เทคนิคที่ การสรา้ งแรงจูงใจการบูรณาการกองทุน

• “คณะกรรมการชดุ เดียวกัน แนวทางเดียวกัน เปา้ หมายเดียวกัน”
• ยดึ หลักคุณธรรมในการบรหิ ารจดั การกลุ่ม/กองทุนทางการเงิน
• เปา้ หมายสูงสุดเพ่ือพัฒนาคน โดยใชก้ ระบวนการมีส่วนรว่ ม
• จดั สวสั ดิการครอบคลุมทุกกลุ่ม/กองทุนทางการเงิน

2เทคนิคที่ การสรา้ งแรงจูงใจ 3เทคนิคที่ ค้นหารปู แบบหรอื โมเดล
ครวั เรอื นเป้าหมาย และวธิ กี ารปรบั โครงสรา้ งหน้ี

• ปรบั อัตราดอกเบ้ียใหเ้ ท่ากัน เพ่ือใหส้ มาชกิ สามารถ หนองคล้าโมเดล อัตราดอกเบ้ยี เท่ากัน
เลือกเมนูบรกิ ารตามความต้องการของครวั เรอื น ระยะเวลากู้เท่ากัน

• จดั สวสั ดิการกองทุนอยา่ งทั่วถึง
• จดั กลุ่มลูกหน้ีตามวงเงินกู้/เงินยืม

67

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน
บ้านหนองคล้า จ. เพชรบูรณ์

3. รปู แบบการบรหิ ารจดั การหน้ี

เงินทุนในการบรหิ ารจดั การทั้งส้ิน จาํ นวน 11,794,438 บาท

• จดั ต้ัง พ.ศ. 2544 โครงการ กลุม่ ออมทรพั ย์ ลักในการบริหารจัดการห ้ีน • จดั ต้ัง พ.ศ. 2543
• เงินทุน 390,000 บาท แก้ไขปัญหา เพื่อการผลติ • เงินทุน 5,702,219 บาท
• เงินบรจิ าค รอ้ ยละ 10/ปี ความยากจน • อัตราดอกเบีย้ รอ้ ยละ 10/ปี
• ระยะเวลาให้คืนเงินยืม 1 ปี • ระยะเวลาให้คืนเงินกู้ 1, 3, 5, 7 ปี
หนองคล้า
เงื่อนไข โมเดล (เลือกตามความสามารถการชาํ ระ
เงินกู้สมาชกิ )
• ลูกหนี้ดี กลุ่มออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลิต เป็นแกนนําห
• ยืมไม่เกิน 30,000/ครวั เรอื น เงื่อนไข
• ออมขน้ั ตา 100 บาท กองทุน
• ชาํ ระรายปี หมู่บ้านฯ • ลูกหนี้ดี
• กู้ไม่เกิน 200,000/ครวั เรอื น
ผิดนัดชาํ ระ • ออมข้นั ตา 100 บาท
• เลือกชาํ ระรายปีหรอื รายเดือน
• ไม่สามารถกู้ฉกุ เฉินได้
• คณะกรรมการพิจารณา ผิดนัดชาํ ระ

เปน็ รายกรณี • ไม่สามารถกู้ฉกุ เฉินได้
• เพ่ิมวงเงินกู้ไม่ได้
• เก็บเงินผู้คาประกัน

• จดั ต้ัง พ.ศ. 2544 เง่ือนไข ผิดนัดชาํ ระ
• เงินทุน 4,255,000 บาท
• อัตราดอกเบ้ีย รอ้ ยละ 8/ปี • ลูกหนี้ดี • ไม่สามารถกู้ฉกุ เฉินได้
• ระยะเวลาให้คืนเงินกู้ 1 ปี • กู้ไม่เกิน 75,000/ครวั เรอื น • คณะกรรมการพิจารณา
• ออมขัน้ ตา 100 บาท
• ชาํ ระรายปี เป็นรายกรณี

4. ปจั จยั ความสาํ เรจ็ ในการบรหิ ารจดั การหน้ี

1 ศักยภาพทดี่ ี และสภาพคล่องทางการเงนิ ของกลุ่ม/กองทนุ ทางการเงนิ
2 คณะกรรมการศูนยฯ์ มีความคิดทจี่ ะทาํ ให้คนในชุมชนมีอาชพี รายได้ทยี่ ัง่ ยนื พึ่งตนเองได้ รวมทงั้ ลดหนี้

ปลดหน้ีได้ในทสี่ ุด

3 คณะกรรมการ สมาชกิ มีเป้าหมายในการบรหิ ารจดั การหน้ีเดียวกัน คือ การลดหนี้ ปลดหน้ี
4 คณะกรรมการศูนยฯ์ เขา้ ใจแนวทางการดําเนินงานศูนย์ฯ และบรหิ ารจดั การยดึ หลักคุณธรรม 5 ประการ (ซอ่ื สัตย์

เสียสละ รบั ผิดชอบ เห็นอกเห็นใจกัน ไวว้ างใจกัน)

5 ใชก้ ระบวนการมีส่วนรว่ ม “รว่ มคิด รว่ มทาํ รว่ มตัดสินใจ”
6 คณะกรรมการ สมาชกิ มีความเสียสละ มีความจรงิ ใจ และรบั ผิดชอบต่อบทบาทหน้าทข่ี องตนเอง สรา้ งความเชอื่ มั่น

ให้กับสมาชกิ ให้เกิดความไวว้ างใจ

7 ส่งเสรมิ ให้ประชาชนน้อมนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรบั ใชใ้ นการดําเนินชวี ติ
8 เจา้ หน้าทพี่ ัฒนาชุมชน ให้ความสําคัญการขับเคลื่อนการดําเนินงานศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชน

68 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน
บา้ นหนองคล้า จ. เพชรบูรณ์

5. แนวทางการสง่ เสรมิ สนับสนุนครวั เรอื นให้สามารถลดหนี้/ ปลดหนี้

ประชมุ คณะกรรมการกลุ่ม/กองทุนทางการเงิน ท่ีเข้ารว่ มเปน็ สมาชกิ ศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชน เพ่ือหาวธิ กี ารบรหิ ารจดั การศูนยฯ์
ประชาสัมพันธส์ รา้ งการรบั รใู้ หป้ ระชาชนในหมู่บ้านเหน็ ถึงประโยชน์การแก้ไขปัญหาหน้ีครวั เรอื น
จดั ทําฐานขอ้ มูลสมาชกิ ศูนยฯ์ สํารวจขอ้ มูลสมาชกิ /เงินทุน และข้อมูลหน้ี เพ่ือเปน็ ฐานข้อมูลการตัดสินใจในการกําหนดแนวทางการ
บรหิ ารจดั การหน้ี โดยวิเคราะหข์ ้อมูลลูกหน้ี และจดั ประเภทลูกหน้ี
จดั ทําเมนูทางเลือกบรกิ ารลูกหน้ี

คัดเลือกครวั เรอื นเปา้ หมายท่ีสมัครใจเขา้ รว่ มโครงการ

การส่งเสรมิ การบรหิ ารจดั การหน้ี จดั ทําเมนูทางเลือกในการชาํ ระหน้ีใหก้ ับลูกหน้ี ปรบั โครงสรา้ งหน้ี โอนภาระหน้ี ปรบั เปล่ียนสัญญา
อบรมใหค้ วามรกู้ ารสรา้ งวินัยทางการเงิน การจดั ทําบัญชคี รวั เรอื น การส่งเสรมิ การออม วางแผนการใชจ้ า่ ยทางการเงิน

สนับสนุนอาชพี ครวั เรอื น ลดรายจา่ ยเพ่ิมรายได้ และน้อมนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรบั ใชใ้ นการดําเนินชวี ิต
คณะกรรมการติดตาม เย่ยี มเยือนใหก้ ําลังใจ ใหค้ ําแนะนําครวั เรอื นเปา้ หมายและสรปุ รายงานผลการดําเนินงานศูนยฯ์

6. การสง่ เสรมิ อาชพี ครวั เรอื นเปา้ หมายตามกิจกรรม “สาํ นึกดี แผนดี บรหิ ารหน้ีได้”

ปี 2560 การส่งเสรมิ อาชพี ปี 2561 การส่งเสรมิ อาชพี ปี 2563 การส่งเสรมิ อาชพี
“ทําพรกิ แกง” “การเล้ียงปลา” “การเล้ียงปลาหมอชมุ พร”

ผลสาํ เรจ็ การบรหิ ารจดั การหนี้ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชนบา้ นหนองคล้า

ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563

บรหิ ารจดั การหนี้ 11 คน บรหิ ารจดั การหนี้ 13 คน บรหิ ารจดั การหน้ี 10 คน บรหิ ารจดั การหน้ี 31 คน
จาํ นวน 720,000 บาท จาํ นวน 860,000 บาท จาํ นวน 691,000 บาท จาํ นวน 1,842,000 บาท

ลดหน้ี คน ปลดหนี้ คน ลดหนี้ คน ปลดหนี้ คน ลดหน้ี คน ปลดหน้ี คน ลดหนี้ คน ปลดหน้ี คน

(บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท)

290,000 8 80,000 3 715,000 9 80,000 2 481,000 10 160,000 3 1,378,000 24 314,000 6

69

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน

บ้านหนองคล้า จ. เพชรบูรณ์

7. ครวั เรอื นต้นแบบ

นายลาํ ดวน เรยี มปติ ิ/อาชพี เกษตรกร

นายลาํ ดวน เรยี มปติ ิ บา้ นเลขท่ี 162 ยอดเงนิ กู้ 70,000 บาท
กอ่ นเขา้ รว่ มโครงการ ไมม่ กี ารวางแผนการเงนิ บางครงั้ ไมส่ ามารถหาเงนิ

เพื่อมาชาํ ระหน้ีได้ทนั ตามเวลาทกี่ ําหนด
หลงั เข้ารว่ มโครงการ กิจกรรม สํานึกดี แผนดี บรหิ ารหน้ี ได้ปรบั เปล่ียน

พฤติกรรมทางการเงนิ โดยน้อมนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรบั ใชใ้ นการ
ดําเนินชวี ติ มีวางแผนการเงนิ ครวั เรอื น ทาํ บัญชรี ายรบั รายจา่ ย แยกรายจา่ ยทต่ี ้อง
จา่ ยใชป้ ระจาํ และรายจา่ ยในการลงทุนประกอบอาชพี มีการออมเงินกับกลุ่มออม
ทรพั ยเ์ พ่ือการผลิตทกุ เดือน โดยออมขั้นตาเดือนละ 100 บาท

กิจกรรมส่งเสรมิ การลดรายจา่ ย ด้วยการผลติ ปุย๋ อินทรยี ใ์ ชเ้ อง ทดแทนการใช้
ปุย๋ เคมี นอกจากจะลดต้นทนุ การผลิตได้แล้ว ผลผลิตทางการเกษตรยังปลอดภัย ไร้
การปนเป้ อื นของสารเคมเี ปน็ สินคา้ เกษตรอนิ ทรยี ส์ ามารถเพมิ่ มลู คา่ และมตี ลาดรบั ซอ้ื แนน่ อน ปจั จุบนั นอกจาก
จะผลิตปุ๋ยอินทรยี ์ใชใ้ นครวั เรอื น ยังได้ผลิตปุ๋ยอินทรยี ์เพ่ือจาํ หน่ายให้กับชาวบ้านในชุมชนในราคาถูกและมี
ชอ่ งทางการจาํ หน่ายตามบูธ ขายผ่านออนไลน์ ทาํ ให้ครวั เรอื นมีรายได้เสรมิ มีเงนิ เก็บ จนสามารถชาํ ระหน้ีได้
ตามกําหนด

กิจกรรมการเพิ่มรายได้ ได้รบั การส่งเสรมิ การเพาะเห็ดนางฟ้า เลี้ยงปลาหมอชุมพรในบอ่ เล้ียงกบในบอ่
และเลี้ยงหอยขมในบ่อ ผลผลิตทไี่ ด้เป็นทตี่ ้องการทงั้ ตลาดภายในและภายนอกชุมชน มีพ่อค้าคนกลางมารบั
ซอ้ื ถึงหมู่บ้าน ไม่ต้องออกไปจาํ หน่ายนอกชุมชน ทาํ ให้ครวั เรอื นมีรายได้เพิ่มนอกเหนือจากอาชพี หลัก ส่งผล
ให้ครวั เรอื นสามารถนําเงนิ ไปชาํ ระหนี้กับกลุ่มออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลิตได้ทนั ตามเวลา

8. แนวทางการแก้ไขปัญหาหน้ีซาซาก

การจดั ตั้งกองทนุ “กุหลาบแดง” เพอื่ ไวเ้ ปน็ ทนุ ของคนในชุมชน ในการบรหิ ารจดั การหนี้ กองทนุ กหุ ลาบ
แดง คือกองทนุ ทจ่ี ดั ตั้งขนึ้ โดยนําเงนิ ทเ่ี ป็นผลกําไรสุทธิ ของเงนิ แต่ละกองทนุ มาต้ังเป็นกองทนุ กุหลาบแดง
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาหน้ีนอกระบบ และเป็นเงนิ หมุนเวียนให้กับสมาชกิ เพื่อเสรมิ สภาพคล่อง
ทางการเงินในหมู่บ้านหนองคล้า มีการบรหิ ารจดั การกองทุนโดยคณะกรรมการศูนย์จดั การกองทุนชุมชน
รูปแบบการบรหิ ารจดั การคือ นาํ เงนิ ทเี่ ปน็ กําไรสุทธมิ ารวมกัน เปดิ บญั ชี ชอื่ กองทนุ กุหลาบแดง และหากใคร
ต้องการยมื เงนิ จะมีการประชุมเพื่ออนมุ ัติตามความจาํ เปน็ เปา้ หมายของกองทนุ คือ ให้ประชาชนปลดหน้ีสิน
จากหน้ีนอกระบบ และเสรมิ สภาพคล่องทางการเงนิ

70 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนยจ์ ดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบา้ นชากทองหลาง
หมู่ที่ 2 ตาํ บลชากบก อาํ เภอบ้านค่าย
จงั หวดั ระยอง

71

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชนบ้านชากทองหลาง
หมู่ที่ 2 ตาํ บลชากบก อาํ เภอบ้านค่าย
จงั หวดั ระยอง

วสิ ัยทัศน์

“สมาชกิ ปลอดความกังวลเรอ่ื งหนี้ ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง”

จดั ตั้ง

เดิมใชช้ อื่ สถาบันการจดั การเงนิ ทนุ ชุมชนบ้านชากทองหลาง วันท่ี 26 กุมภาพันธ์ 2553
เปลยี่ นชอื่ เป็น ศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชนบา้ นชากทองหลาง ปี 2560

ประธานศูนย์จดั การกองทุนชุมชน

นายสมเกียรติ ล่วงพ้น โทร : 08-0636-2203

คณะกรรมการบรหิ ารศูนย์จดั การกองทุนชุมชน

จาํ นวน 11 คน ชาย 7 คน หญงิ 4 คน

ความเป็นมา

ข้อมูลทั่วไป บ้านชากทองหลางมีที่ต้ังห่างจากที่ว่าการอําเภอบ้านค่ายประมาณ 5 กิโลเมตร ลักษณะ
ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นท่ีราบลุ่มและบางส่วนเป็นที่ราบเชงิ เขา ลักษณะเป็นดินรว่ นปนทรายเหมาะต่อการ
ทาํ การเกษตร ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชพี ทาํ สวนผลไม้ เชน่ ทเุ รยี น เงาะ และมังคุด นอกจากน้ียังมีการ
สวนยางพารา และทาํ นา มีจาํ นวน 347 ครวั เรอื น 823 คน ประกอบด้วย ชาย 392 คน หญิง 431 คน

สาเหตุปัญหาหนี้สินครวั เรอื น แต่เดิมทเี่ กิดจากการเป็นหนี้กองทนุ ต่าง ๆ ทง้ั ทจ่ี ดั ตั้งจากการรวมกลุ่ม
ของชาวบา้ นและทจ่ี ดั ต้ังโดยภาครฐั ความแตกต่างเหลา่ น้ีทาํ ให้เกิดเงอื่ นไขแตกต่างกันไป ส่งผลกระทบต่อการ
วางแผนบรหิ ารจดั การหนส้ี นิ และนาํ ไปสวู่ งจรหนหี้ มนุ เวยี น กหู้ ลายที่ เปน็ หนหี้ ลายทาง ทง้ั นี้ เพอ่ื เปน็ การยกระดับ
การจดั การแก้ไขปัญหาหนี้สินครวั เรอื น ให้เกิดความคุ้มค่า มีประสิทธภิ าพและสัมฤทธผ์ิ ลยิ่งขึ้น จงึ ได้จดั ตั้ง
ศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบ้านชากทองหลาง โดยมีคณะกรรมการศูนย์จดั การกองทุนชุมชน เป็นกลไกสําคัญ
ในการขับเคล่ือนการดําเนินงานศูนย์จดั การกองทุนชุมชน ทําหน้าท่ีแก้ไขปัญหาหน้ีครวั เรอื นและบูรณาการ
บรหิ ารจดั การเงนิ ทนุ ชุมชนให้สามารถใชเ้ งนิ ทนุ อยา่ งคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด

72 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนยจ์ ดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน
บ้านชากทองหลาง จ. ระยอง

1. สมาชกิ ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน ประกอบด้วย

เงินทุนในการบรหิ ารจดั การท้ังส้ิน จาํ นวน 8,080,100 บาท

การปรบั โครงสรา้ งหนี้

กลุม่ กองทุนมีเงิน/ จาํ นวนเงินทุน จาํ นวน อดีต ปัจจุบัน
กลุม่ กองทุนไม่มีเงิน (บาท) สมาชกิ
(คน) ดอกเบ้ยี ระยะเวลา ระยะเวลา
กลุ่มออมทรพั ย์ (%) ปลอ่ ยกู้ (ป)ี ดอกเบีย้ (%) ปลอ่ ยกู้ (ป)ี
เพื่อการผลิต
5,680,100 756 10 1 6 1

กองทุนหมู่บา้ นฯ 2,400,000 217 6 1 6 1

2. เทคนิคการดาํ เนินงาน

เทคนิคการสรา้ งแรงจูงใจ เทคนิคการสรา้ งแรงจูงใจ

การบูรณาการกองทุน ครวั เรอื นเป้าหมาย

1 คณะกรรมการกลุ่ม/กองทุนการเงินชมุ ชน ประชมุ กําหนด 1 ปรบั ลดอัตราดอกเบ้ยี จากเดิมอัตรารอ้ ยละ 10 ปรบั เป็นอัตรา

ทิศทาง เปา้ หมายการดําเนินงานศูนย์ฯ รอ้ ยละ 6

2 ประชาสัมพันธส์ รา้ งการรบั รู้ และขอความรว่ มมือ โดยการ 2 ได้รบั สิทธพิ ิเศษสามารถยดื ระยะเวลาหากมีเหตจุ าํ เปน็ ทั้งน้ี

สรา้ งความเข้าใจผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย พิจารณาเปน็ รายกรณี

3 หาข้อสรปุ รว่ มกัน โดยศูนย์ฯ เป็นศูนยก์ ลางการเชอ่ื มโยง 3 ได้รบั การส่งเสรมิ สนับสนุนอาชพี
4 สามารถเลือกเมนูบรกิ ารได้ตามศักยภาพครวั เรอื น
และบรหิ ารจดั การเงนิ ทนุ ชมุ ชนใหเ้ ปน็ ระบบ (ขอ้ มลู กองทนุ /
ขอ้ มูลลูกหน้ี)

4 เป็นท่ีปรกึ ษาทางการเงิน การบรหิ ารจดั การหน้ี เปา้ หมาย

เพ่ือลดหน้ี/ปลดหน้ีในท่ีสุด

ค้นหารปู แบบหรอื โมเดล

และวธิ กี ารปรบั โครงสรา้ งหนี้

ปรบั อัตราดอกเบ้ยี เท่า ระยะเวลาเท่ากัน

73

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน
บ้านชากทองหลาง จ. ระยอง

3. รปู แบบการบรหิ ารจดั การหนี้

กลุ่มออมทรพั ย์ เงินทุนในการบรหิ ารจดั การ ท้ังส้ิน กองทุนหมู่บ้าน
เพ่ือการผลิต จาํ นวน 8,080,100 บาท และชุมชนเมือง

จดั ตั้ง พ.ศ. 2544 ชากทองหลางโมเดล จดั ตั้ง พ.ศ. 2544
เงนิ ทนุ 5,680,100 บาท อัตราดอกเบี้ย 6 บาท/ ปี เงนิ ทนุ 2,400,000 บาท
สมาชกิ จาํ นวน 756 ครวั เรอื น สมาชกิ จาํ นวน 217 ครวั เรอื น
อัตราดอกเบีย้ รอ้ ยละ 6 บาท/ปี โดยมีเงื่อนไข ดังน้ี อัตราดอกเบ้ยี รอ้ ยละ 6 บาท/ปี (คงท)ี่
ระยะเวลาให้คืนเงนิ กู้ 1 ปี ระยะเวลาให้คืนเงนิ กู้ 2 ปี
1 ไม่สามารถกู้เงนิ จากกองทนุ ใด ๆ ในชุมชนได้อีก จนกวา่
เงื่อนไข เง่ือนไข
1. ลูกหน้ีดี จะชาํ ระหน้ีหมด โดยต้องชาํ ระดอกเบ้ียทกุ เดือน ชาํ ระ 1. ลูกหน้ีดี
2. กู้ไม่เกิน 50,000/ครวั เรอื น ต้นปีละ 1 ครงั้ (ลดต้น ลดดอก) เมื่อสิ้นปีกลุ่ม/กองทนุ 2. กู้ไม่เกิน 30,000/ครวั เรอื น
เจา้ หนี้จะมีการเฉล่ียคืนดอกเบี้ยให้ลูกหนี้
หรอื ดุจพินิจคณะกรรมการ หรอื ดุจพินิจคณะกรรมการ
3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 2 พักชาํ ระหนี้ 1 ปี เพ่ือให้มีเงนิ ทนุ ในการประกอบอาชพี 3. ไม่มีหน้ีนอกระบบ
4. ออมขัน้ ตา 100 บาท 3 กู้ฉกุ เฉินในขณะทย่ี ังชาํ ระหน้ีไม่หมด (วงเงนิ กู้ยืมเกิน 4. ออมขั้นตา 100 บาท
5. เลือกชาํ ระรายปหี รอื รายเดือน 5. เลือกชาํ ระรายปหี รอื รายเดือน
บัญช)ี โดยวงเงนิ น้ีจะพิจารณาตามเครดิตทแ่ี ต่ละ 6. สามารถยดื ระยะเวลากู้ 2 ปี
ผิดนัดชาํ ระ ครอบครวั มีอยู่ จะเบิกได้ต่อเม่ือได้รบั การพิจารณา
พิจารณาบทลงโทษเปน็ รายกรณีไป อนุมัติจากคณะกรรมการศูนย์ฯ ผิดนัดชาํ ระ
พิจารณาบทลงโทษเปน็ รายกรณีไป

4. ปัจจยั ความสาํ เรจ็ ในการบรหิ ารจดั การหน้ี

1 ประชุมประชาคมใชก้ ระบวนการมีส่วนรว่ ม “รว่ มคิด รว่ มทาํ รว่ มตัดสินใจ” อย่างสมาเสมอ
2 ไม่กู้ยืมเงนิ จากแหล่งเงนิ ทนุ นอกระบบ
3 มีการจดั ทาํ ฐานขอ้ มูลวเิ คราะห์ลูกหนี้อยา่ งเปน็ ระบบและชดั เจน
4 ทกุ คนมีความเสียสละ มีความจรงิ ใจ และรบั ผิดชอบต่อบทบาทหน้าทข่ี องตนเอง สรา้ งความ

เชอื่ มั่นให้กับสมาชกิ ให้เกิดความไวว้ างใจ ใชห้ ลักคุณธรรม 5 ประการ
5 สภาพคล่องทางการเงนิ ของกองทนุ ชุมชน
6 การแบง่ ความรบั ผิดชอบใชค้ นให้เหมาะสมกับงาน
7 ส่งเสรมิ อาชพี น้อมนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรบั ในการดํารงชวี ติ
8 จดั เวทเี สวนาพูดคุย แลกเปลี่ยนขอ้ มูลการดําเนินงานศูนยฯ์ สมาเสมอ

74 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน

บา้ นชากทองหลาง จ. ระยอง

5. แนวทางการสง่ เสรมิ สนับสนุนครวั เรอื นให้สามารถลดหน้ี/ ปลดหนี้

1 ประชาสัมพันธส์ รา้ งการรบั รูแ้ นวทางการดําเนินงานศูนย์จดั การกองทนุ ชุมชน “กิจกรรม สํานึกดี แผนดี บรหิ ารหน้ีได้”
2 การสํารวจข้อมูล และการเตรยี มข้อมูลของกลุ่ม/กองทนุ ในชุมชน การจดั ทาํ ทะเบยี นลูกหนี้คนในชุมชน การวเิ คราะห์

ขอ้ มูลลูกหนี้ การจดั ประเภทลูกหนี้

3 การประชาคมรบั สมัครครวั เรอื นทส่ี นใจเขา้ รว่ มโครงการ (ครวั เรอื นเป็นหนี้ 30 ครวั เรอื น)
4 ดําเนินการปรบั โครงสรา้ งหน้ีครวั เรอื น
5 ประชุมเชงิ ปฏิบัติการความรูด้ ้านการเงนิ ในการบรหิ ารจดั การหน้ี

• อบรมให้ความรูก้ ารสรา้ งวนิ ัยทางการเงนิ การจดั ทาํ บัญชคี รวั เรอื น การส่งเสรมิ การออม วางแผนการใชจ้ า่ ย

ทางการเงนิ การปรบั พฤติกรรมทางการเงนิ น้อมนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรบั ใชก้ ารดําเนินชวี ติ ประจาํ วัน

• ส่งเสรมิ สนับสนุนอาชพี ตามกิจกรรมสํานึกดี แผนดี บรหิ ารหน้ีได้

6 หนุนเสรมิ การส่งเสรมิ อาชพี ขอรบั การสนับสนุนงบประมาณจากกลุ่ม/กองทนุ ในชุมชน
7 เจา้ หน้าทพ่ี ัฒนาชุมชน และคณะกรรมการศูนยฯ์ ติดตาม สนับสนุน ให้กําลังใจครวั เรอื นอยา่ งสมาเสมอ

6. การสง่ เสรมิ อาชพี ครวั เรอื นเปา้ หมายตามกิจกรรม “สาํ นึกดี แผนดี บรหิ ารหนี้ได้”

ปี 2560 การส่งเสรมิ อาชพี “การปลูกกล้วยหอม” ปี 2561 การส่งเสรมิ อาชพี “การทําหมูเส้น”

ผลสาํ เรจ็ การบรหิ ารจดั การหน้ีศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชนบา้ นชากทองหลาง

ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

บรหิ ารจดั การหน้ี 11 คน บรหิ ารจดั การหน้ี 14 คน บรหิ ารจดั การหนี้ 14 คน
จาํ นวน 601,000 บาท จาํ นวน 954,000 บาท จาํ นวน 354,000 บาท

ลดหนี้ คน ปลดหนี้ คน ลดหน้ี คน ปลดหน้ี คน ลดหน้ี คน ปลดหน้ี คน

(บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท)

20,000 1 190,000 1 65,000 2 35,000 1 215,000 1 00

75

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน
บ้านชากทองหลาง จ. ระยอง

7. ครวั เรอื นต้นแบบ

นายวจิ ติ ร ศิลาวารนิ /อาชพี เกษตรกรรม

ท่ีอยู่ เลขที่ 33 ยอดเงินกู้ 30,000 บาท สามารถลดหน้ี
จาํ นวน 10,000 บาท คงเหลอื 20,000 บาท

นายวจิ ติ ร เลา่ วา่ ตนเองมอี าชพี หลกั ทาํ นาและรบั จา้ งทว่ั ไป
ได้นําเงนิ ทงั้ หมดทกี่ ้ไู ปลงทนุ ประกอบอาชพี เกษตรกรรม ใชก้ าร
บรหิ ารจดั การค่าใชจ้ า่ ยอย่างประหยัดและเท่าที่จาํ เป็นเท่านั้น
แต่ด้วยครวั เรอื นประสบปญั หาขาดทนุ ซาซากจากสภาพแวดล้อมทเ่ี ปล่ียนแปลง จงึ เปน็ เหตุให้กู้เงนิ
เพอื่ มาประกอบอาชพี ต่อเนอื่ ง อกี ทง้ั ราคาผลผลติ ทไ่ี มแ่ นน่ อนสง่ ผลกระทบทางการตลาด จงึ ตัดสินใจ
เขา้ รว่ มบรหิ ารจดั การหน้ีโดยศูนยจ์ ดั การฯ และได้รบั การสนบั สนนุ เมลด็ พนั ธผุ์ กั นาํ มาปลกู รว่ มกบั ผกั
ทจี่ ดั หาเอง วธิ กี ารปลกู ผกั จะเนน้ เรอ่ื งลดตน้ ทนุ โดยและใชป้ ยุ๋ มลู สตั วจ์ ากไก่ทเี่ คยเลย้ี งไว้ เลอื กปลกู ผัก
ทด่ี ูแลงา่ ยโตไว ขายได้เรว็ และเปน็ ทตี่ ้องการของตลาด เชน่ ผกั กาด โหระพา กะเพรา ต้นหอม กะหลา
ผักชี ถั่วพู มะระขน้ี ก ฯลฯ

การดําเนินชวี ติ น้อมนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจมาใชใ้ นชวี ติ ประจาํ วนั ลดค่าใชจ้ า่ ยในครวั เรอื น
สิ่งทฟ่ี ุ่มเฟือยลง เชน่ เลิกซอ้ื หวย ปลูกผักรบั ประทานเองเหลือขายสรา้ งรายได้

สถานทขี่ ายผัก มีแม่ค้ามารบั ซอื้ ทบ่ี า้ นและนําไปขายทตี่ ลาดนัดชุมชน มีรายได้ประมาณเดือนละ
2,500 – 3,500 บาท/เดือน

ขอ้ คดิ เหน็ การได้รบั การสนบั สนนุ อาชพี เสรมิ จากศนู ยจ์ ดั การกองทนุ ชมุ ชน ชวี ติ อยบู่ า้ น มคี วามสขุ
กับการปลูกผัก มีรายได้ มีเงนิ ออม เล้ียงตัวเองได้แบบพอเพียง ส่งผลให้ครวั เรอื นสามารถลดหนี้ได้

8. แนวทางการแก้ไขปญั หาหน้ีซาซาก

1 ปรบั ทศั นคติพรอ้ มกับปรบั พฤติกรรมวางแผนทางการเงนิ ครวั เรอื น
2 รูจ้ กั การใชจ้ า่ ยเงนิ เฉพาะสิ่งทจี่ าํ เป็น
3 ฝึกการออมให้เป็นนิสัย นําเงนิ ออมก่อนใช้
4 ทาํ บัญชคี รวั เรอื น คือการส่องกระจกเงา สรุปรายรบั รายจา่ ยเปน็ ประจาํ ทกุ เดือน
5 วางแผนการใชห้ นี้เพ่ือลดหนี้/ปลดหนี้ (ออมเพื่อปลดหน้ี) ไม่ก่อหนี้เพิ่ม

76 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบ้านวงั เยน็
หมู่ที่ 10 ตาํ บลนาดอกคาํ อาํ เภอนาด้วง

จงั หวดั เลย

77

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบา้ นวงั เยน็
หมู่ที่ 10 ตาํ บลนาดอกคาํ อาํ เภอนาด้วง

จงั หวดั เลย

วสิ ัยทัศน์

“ศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบ้านวงั เย็น เป็นแหล่งเงินทุนมั่นคง ซอ่ื ตรง บรหิ ารโปรง่ ใส”

จดั ตั้ง

เดิมใชช้ อื่ สถาบันการจดั การเงนิ ทนุ ชุมชนบ้านวงั เยน็ ปี 2555
เปลย่ี นชอ่ื เป็น ศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชนบา้ นวังเยน็ วนั ที่ 17 มิถุนายน 2560

ประธานศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน

นายทองเลื่อน สารพัน โทร : 09-8226-0424

คณะกรรมการบรหิ ารศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน

จาํ นวน 11 คน ชาย 5 คน หญิง 6 คน

ความเป็นมา

ขอ้ มูลทั่วไป บา้ นวงั เยน็ มีลกั ษณะภมู ิประเทศเปน็ ทร่ี าบเชงิ เขา มีแหลง่ กักเก็บนาเพื่อการเกษตรทสี่ ําคัญ
ได้แก่ ฝายนาล้นห้วยนาสวย อ่างเก็บนาห้วยนาสวย (ขนาดเล็ก) ชาวบ้านส่วนใหญป่ ระกอบอาชพี เกษตรกรรม
ได้แก่ ปลูกยางพารา ปลูกข้าวโพดอาหารสัตว์ มันสําปะหลัง อ้อย และพืชผัก อาชพี เสรมิ ได้แก่ ค้าขาย และ
รบั จา้ งทวั่ ไป มีจาํ นวน 187 ครวั เรอื น 548 คน ประกอบด้วย ชาย 272 คน หญงิ 276 คน

สาเหตุปัญหาหนี้สินครวั เรอื น แต่เดิมท่ีเกิดจากการเป็นหนี้กองทุนต่าง ๆ ทั้งท่ีจดั ตั้งจากการรวมกลุ่ม
ของชาวบ้านและที่จดั ตั้งโดยภาครฐั ความแตกต่างเหล่านี้ทําให้เกิดเงื่อนไขแตกต่างกันไป ส่งผลกระทบต่อ
การวางแผนบรหิ ารจดั การหนี้สิน และนําไปสู่วงจรหนหี้ มุนเวยี น กู้หลายที่ เปน็ หนห้ี ลายทาง ทงั้ น้ี เพ่ือเปน็ การ
ยกระดับการจดั การแก้ไขปัญหาหน้ีสินครวั เรอื น ให้เกิดความคุ้มค่า มีประสิทธภิ าพและสัมฤทธผิ์ ลยงิ่ ขึน้ จงึ ได้
จดั ตั้งศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชนบา้ นวังเย็น โดยมีคณะกรรมการศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชน เป็นกลไกสําคัญใน
การขบั เคลอื่ นการดําเนินงานศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชน ทาํ หน้าทแ่ี ก้ไขปญั หาหน้ีครวั เรอื นและบูรณาการบรหิ าร
จดั การเงนิ ทนุ ชุมชนให้สามารถใชเ้ งนิ ทนุ อยา่ งคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด

78 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน
บา้ นวงั เยน็ จ. เลย

1. สมาชกิ ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน ประกอบด้วย

เงินทุนในการบรหิ ารจดั การทั้งส้ิน จาํ นวน 6,236,300 บาท

การปรบั โครงสรา้ งหนี้

กลุม่ กองทุนมีเงิน/ จาํ นวนเงินทุน จาํ นวน อดีต ปัจจุบนั
กลุม่ กองทุนไม่มีเงิน (บาท) สมาชกิ
(คน) ดอกเบยี้ ระยะเวลา ระยะเวลา
1. กลุ่มออมทรพั ย์ (%) ปลอ่ ยกู้ (ป)ี ดอกเบ้ีย (%) ปลอ่ ยกู้ (ปี)
เพื่อการผลิต
2,536,300 102 12 1 10 1
2. โครงการ กข.คจ.
320,000 6 1 10 1
12 (เงนิ บรจิ าค)

(เงนิ บรจิ าค)

3. กองทุนหมู่บา้ นฯ 3,380,000 67 5 1 6.5 1

**หมายเหตุ : โครงการ กข.คจ. คิดเป็นเงินบรจิ าค/ เงินสนับสนุนการจดั ทําสัญญาเงินยืมโครงการ กข.คจ.

2. เทคนิคการดาํ เนินงาน

1เทคนิคที่ การสรา้ งแรงจูงใจการบูรณาการกองทุน

- คณะกรรมการสมาชกิ ศูนยฯ์ 3 กลุ่ม/กองทุน ประชมุ สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจวัตถุประสงค์
การดําเนินงานศูนย์ฯ

- หารอื /เจรจา/บรู ณาการกองทนุ /ไมก่ ระทบลกู หน้ี และระเบยี บกลมุ่ /กองทนุ เดมิ /หากองทนุ รบั ผดิ ชอบ
- วางกรอบทิศทางการดําเนินงานและเป้าหมายสูงสุด ประชาชนได้ประโยชน์จากการบูรณาการกองทุน

และปอ้ งกันหน้ีเสียในชมุ ชน

2เทคนิคที่ การสรา้ งแรงจูงใจ 3เทคนิคท่ี ค้นหารปู แบบหรอื โมเดล
ครวั เรอื นเปา้ หมาย และวธิ กี ารปรบั โครงสรา้ งหน้ี

- สมาชกิ และประชาชนในหมู่บา้ นต้องได้ประโยชน์ ปรบั ลดอัตราดอกเบ้ีย ใหเ้ หมาะสมกับการ
เป็นอันดับแรก บรหิ ารจดั การ กลุ่ม/กองทุน

- การจดั สวสั ดิการใหก้ ับสมาชกิ ได้แก่
การส่งเสรมิ ด้านอาชพี

79

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน
บา้ นวงั เยน็ จ. เลย

3. รปู แบบการบรหิ ารจดั การหน้ี

กข.คจ. คิดเป็นเงินบรจิ าค นาดอกคาํ ทุ่งโมเดล กองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมือง
เขา้ กองทุนรอ้ ยละ 10 ต่อปี ดอกเบย้ี รอ้ ยละ 6.5 ต่อปี
กลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต
จดั ตั้ง พ.ศ. 2542 ดอกเบี้ยรอ้ ยละ 10 ต่อปี จดั ตั้ง พ.ศ. 2544
เงนิ ทนุ 320,000 บาท เงนิ ทนุ 3,380,000 บาท
เงนิ บรจิ าค รอ้ ยละ 10/ปี จดั ตั้ง พ.ศ. 2544 อัตราดอกเบ้ยี รอ้ ยละ 6.5/ปี
ระยะเวลาให้คืนเงนิ ยืม 1 ปี เงนิ ทนุ 2,536,300 บาท ระยะเวลาให้คืนเงนิ กู้ 1 ปี
อัตราดอกเบยี้ รอ้ ยละ 10/ปี
เง่ือนไข ระยะเวลาให้คืนเงนิ กู้ 1 ปี เงื่อนไข
1. ลูกหน้ีดี 1. ลูกหน้ีดี
2. ยมื ไม่เกิน 50,000/ครวั เรอื น เงื่อนไข 2. กู้ไม่เกิน 75,000/ครวั เรอื น
3. ไม่มีหน้ีนอกระบบ 1. ลูกหนี้ดี 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ
4. ออมขัน้ ตา 100 บาท 2. กู้ไม่เกิน 100,000/ครวั เรอื น 4. ออม 100 - 500 บาท
5. ชาํ ระรายปี 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ 5. ชาํ ระรายปี
4. ออม 120 บาท
ผิดนัดชาํ ระ 5. ชาํ ระรายปี ผิดนัดชาํ ระ
1. ไม่สามารถยมื เงนิ ได้ 1. ปรบั รอ้ ยละ 0.5/วนั
ผิดนัดชาํ ระ 2. ไม่สามารถกู้เงนิ ฉกุ เฉินได้
1. ปรบั รอ้ ยละ 5/เดือน 3. ดําเนินการตามกฎหมาย
2. ไม่สามารถกู้เงนิ ฉกุ เฉินได้
3. ดําเนินการตามกฎหมาย

4. ปัจจยั ความสาํ เรจ็ ในการบรหิ ารจดั การหนี้

ด้านคณะกรรมการศูนย์จดั การกองทุนชุมชน ปจั จยั อ่ืน ๆ

1• คณะกรรมการศูนยฯ์ และสมาชกิ มีความเข้าใจแนวทางการ 1• บรบิ ทการอยู่รว่ มอาศัยกันของประชาชนทม่ี ีมาอย่างชา้ นาน

ดําเนินงาน และได้รบั ความรว่ มมือจากทกุ ภาคส่วน มคี วามรกั ความสามคั คี พงึ่ พาอาศยั กนั จนเปน็ พน้ื ฐานการดาํ เนนิ ชวี ติ
รว่ มกันของคนในชุมชน ความขัดแย้งในชุมชนสามารถจดั การ
2• แนวคิดทจ่ี ะทาํ ให้คนในชุมชนมีอาชพี รายได้ทยี่ ั่งยืน

พึ่งตนเองได้ ด้วยวถิ ีประชาธปิ ไตย และการยอมรบั ในเสียงส่วนใหญ่

3• คณะกรรมการศูนยฯ์ มีระบบบรหิ ารจดั การด้วยความโปรง่ ใส 2• ครวั เรอื นเป้าหมายให้ความรว่ มมือแก้ไขปัญหาหน้ีสินกับ

เปน็ ธรรม คณะกรรมการฯ

ปจั จยั ด้านการบรหิ ารงาน 3• สํานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวดั /อําเภอมีระบบการสอนงาน

1• การดําเนินงานต้องเกิดจากความต้องการของชุมชนเปน็ หลัก (Coaching) ของจงั หวัด/อําเภอ เพ่ือให้เจา้ หน้าทพ่ี ัฒนาชุมชนเกิด

“ระเบิดจากขา้ งใน” การเรยี นรูใ้ นภารกิจและเขา้ ใจการดําเนินงานศูนย์ฯ

2• ส่งเสรมิ ให้คนในชุมชน “คิดเปน็ ทาํ เปน็ รว่ มแก้ไขปญั หา 4• คณะกรรมการศูนยฯ์ และเจา้ หน้าทพี่ ัฒนาชุมชน สนับสนุน

ในชุมชน” ติดตาม ให้กําลังใจ การดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง

3• แบ่งหน้าทต่ี ามถนัด “ใชค้ นให้ถูกกับงาน”

80 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน
บ้านวงั เย็น จ. เลย

5. แนวทางการสง่ เสรมิ สนับสนุนครวั เรอื นให้สามารถลดหน้ี/ปลดหน้ี

ประชมุ คณะกรรมการกลุ่ม/กองทุนทางการเงิน ท่ีเขา้ รว่ มเป็นสมาชกิ ศูนยจ์ ดั การกองทุนชมุ ชน เพ่ือหาวิธกี ารบรหิ ารจดั การศูนย์ฯ
ประชาสัมพันธส์ รา้ งการรบั รใู้ หป้ ระชาชนในหมู่บา้ นเหน็ ถึงประโยชน์การแก้ไขปญั หาหน้ีครวั เรอื น
จดั ทําฐานข้อมูลสมาชกิ ศูนย์ฯ สํารวจข้อมูลสมาชกิ /เงินทุน และขอ้ มูลหน้ี เพ่ือเป็นฐานข้อมูลการตัดสินใจในการกําหนดแนวทางการ
บรหิ ารจดั การหน้ี โดยวิเคราะหข์ อ้ มูลลูกหน้ี และจดั ประเภทลูกหน้ี
จดั ทําเมนูทางเลือกบรกิ ารลูกหน้ี

คัดเลือกครวั เรอื นเปา้ หมายท่ีสมัครใจเขา้ รว่ มโครงการ
การส่งเสรมิ การบรหิ ารจดั การหน้ี จดั เมนูทางเลือกในการชาํ ระหน้ีใหก้ ับลูกหน้ี ปรบั โครงสรา้ งหน้ี โอนภาระหน้ี ปรบั เปล่ียนสัญญา
อบรมใหค้ วามรกู้ ารสรา้ งวนิ ัยทางการเงิน การจดั ทําบัญชคี รวั เรอื น การส่งเสรมิ การออม วางแผนการใชจ้ า่ ยทางการเงิน
สนับสนุนอาชพี ครวั เรอื น ลดรายจา่ ยเพ่ิมรายได้ และน้อมนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรบั ใชใ้ นการดําเนินชวี ติ
คณะกรรมการติดตาม เย่ยี มเยอื นใหก้ ําลังใจ ใหค้ ําแนะนําครวั เรอื นเป้าหมายและสรปุ รายงานผลการดําเนินงานศูนยฯ์

6. การสง่ เสรมิ อาชพี ครวั เรอื นเปา้ หมายตามกิจกรรม “สาํ นึกดี แผนดี บรหิ ารหนี้ได้”

การส่งเสรมิ อาชพี การส่งเสรมิ อาชพี การส่งเสรมิ อาชพี
“การเล้ียงไก่” “ปลูกผักสวนครวั ” “การทําขนมดอกจอก”

ผลสาํ เรจ็ การบรหิ ารจดั การหนี้ศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบา้ นวงั เย็น

ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563

บรหิ ารจดั การหนี้ 16 คน บรหิ ารจดั การหนี้ 15 คน บรหิ ารจดั การหนี้ 31 คน บรหิ ารจดั การหน้ี 31 คน
จาํ นวน 599,000 บาท จาํ นวน 339,000 บาท จาํ นวน 396,000 บาท จาํ นวน 829,300 บาท

ลดหน้ี คน ปลดหน้ี คน ลดหน้ี คน ปลดหนี้ คน ลดหนี้ คน ปลดหน้ี คน ลดหนี้ คน ปลดหนี้ คน

(บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท)

47,000 15 20,000 1 81,000 14 30,000 1 81,000 15 31,000 1 146,000 31 0 0

81

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน

บา้ นวงั เย็น จ. เลย

7. ครวั เรอื นต้นแบบ

นางโอกาส ปรารปิ ุณนัง/อาชพี หลักทาํ การเกษตร อาชพี เสรมิ ปลูกผักปลอดสารพิษ

ยอดเงินกู้ 30,000 บาท สามารถลดหนี้ จาํ นวน 10,000 บาท คงเหลอื
20,000 บาท

บ้านเลขท่ี 40/1 ยอดเงนิ กู้ 20,000 บาท ปัจจุบันปลดหนี้
นางโอกาส เล่าว่า อดีตทาํ เกษตรเชงิ เดี่ยว ปลูกพืชเศรษฐกิจ เชน่ คะน้า
กวางต้งุ หอมแดง หอมแบง่ ปลกู เปน็ แปลงใหญส่ ง่ ขายตลาด ใชป้ ยุ๋ เคมเี ปน็ หลกั
ทําเท่าไหรก่ ็เอาเงินมาจา่ ยค่าปุ๋ยหมด จงึ ได้เปลี่ยนวิธกี ารและเปล่ียนแนวคิด
ใชป้ ุย๋ เคมีไปใชป้ ุย๋ อินทรยี ์ และปุย๋ ชวี ภาพทผี่ ลิตขนึ้ ในครวั เรอื น
ปัจจุบันมีพ่อค้าคนกลางมารบั ถึงแปลง หักต้นทุน/ค่าแรง คงเหลือกําไร
ประมาณ 50,000 – 70,000 บาท/ปี นอกจากขายให้พอ่ คา้ คนกลางแลว้ ยงั ขาย
ให้กบั คนในชมุ ชน โดยมชี าวบา้ นมาซอ้ื ถงึ แปลงเพอ่ื ไปทาํ กบั ขา้ วทานในครวั เรอื น
ซงึ่ กท็ าํ ใหม้ รี ายไดเ้ ขา้ มาจนุ เจอื ครอบครวั ทกุ วนั ๆละ 100–200บาท“ผลผลติ ทไี่ ด้
แมจ้ ะไมม่ ากมาย แต่ก็เปน็ ผกั ปลอดสารทม่ี ปี ระโยชน์ดีต่อสุขภาพ ขณะเดียวกัน
ชว่ ยลดคา่ ใชจ้ า่ ยในครวั เรอื น ลดการจบั จา่ ยอาหารสาํ เรจ็ รปู เปน็ การพงึ่ พาตนเอง
และเป็นการน้อมนําพระราชดํารเิ ศรษฐกิจพอเพียงมาปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาํ วนั ”
เงนิ ทงั้ หมดทไ่ี ด้มาก็จะมีการวางแผนการเงนิ ในครวั เรอื น ดังน้ี ออม แบ่งชาํ ระหน้ีเงนิ กู้ ใชจ้ า่ ย
ในชวี ิตประจาํ วัน เงนิ เพ่ือการลงทนุ ประกอบอาชพี นอกจากมีรายรบั จากการขายผักแล้ว ครวั เรอื น
ยงั มีรายได้จากการทาํ นา และรายได้จากการรบั จา้ งทว่ั ไป จงึ สามารถวางแผนชาํ ระหน้ีได้ตามกําหนด

8. แนวทางการแก้ไขปัญหาหน้ีซาซาก

1 ปรบั พฤติกรรมครวั เรอื น ให้รูอ้ ยู่ รูใ้ ช้ รูเ้ ก็บ
2 ส่งเสรมิ การออมอยา่ งเปน็ ระบบ ควบคู่การส่งเสรมิ อาชพี
3 ไม่ใชช้ วี ติ แบบ หาเชา้ กินคา หาเทา่ ไหร่ ใชจ้ นหมด
4 สรา้ งพฤติกรรม หน้ีก่อรายได้ ไม่สรา้ งหน้ีทไ่ี ม่ก่อรายได้
5 ส่งเสรมิ อาชพี กิจกรรมลดรายจา่ ย เพิ่มรายได้ให้ครวั เรอื น
6 การติดตาม เย่ียมเยยี นให้กําลังใจ และให้คําแนะนําแก่ครวั เรอื นเป้าหมาย

82 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบ้านนาฝาย
หมู่ที่ 8 ตาํ บลบ้านเวยี ง อาํ เภอรอ้ งกวาง

จงั หวดั แพร่

83

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบ้านนาฝาย
หมู่ท่ี 8 ตาํ บลบ้านเวยี ง อาํ เภอรอ้ งกวาง

จงั หวดั แพร่

วสิ ัยทัศน์

“เงินทุนมั่นคง ซอ่ื ตรงและบรกิ าร บรหิ ารโปรง่ ใส ใส่ใจสมาชกิ ”

จดั ต้ัง

เดิมใชช้ อ่ื สถาบันการจดั การเงนิ ทนุ ชุมชนบ้านนาฝาย วนั ที่ 17 มีนาคม 2553
เปลยี่ นชอื่ เป็น ศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชนบ้านนาฝาย ปี 2560

ประธานศูนย์จดั การกองทุนชุมชน

นายดนพุ ล ทาบุญ โทร : 09-1412-9187

คณะกรรมการบรหิ ารศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน

จาํ นวน 20 คน ชาย 8 คน หญงิ 12 คน

ความเป็นมา

ขอ้ มลู ทวั่ ไป บา้ นนาฝายมลี กั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน็ ทรี่ าบลมุ่ ทต่ี ั้งห่างจากทวี่ า่ การอาํ เภอรอ้ งกวางประมาณ
20 กิโลเมตร ชาวบา้ นส่วนใหญป่ ระกอบอาชพี เกษตรกรรม ทาํ นา ทาํ ไรข่ า้ วโพดเลย้ี งสัตว์ และปลกู พชิ ผกั อาชพี
เสรมิ ทาํ ปศุสัตว์ (โคเนื้อ สุกร ไก่พันธไุ์ ข่ และไก่พ้ืนบา้ น) นอกจากนี้ยังมีการรวมกลุ่มจดั ตั้งกลุ่มอาชพี แปรรูป
แคปหมู มีจาํ นวน 99 ครวั เรอื น 346 คน ประกอบด้วยชาย 150 คน หญงิ 166 คน

สาเหตุปัญหาหน้ีสินครวั เรอื น แต่เดิมทเี่ กิดจากการเป็นหนี้กองทนุ ต่าง ๆ ทัง้ ทจ่ี ดั ตั้งจากการรวมกลุ่ม
ของชาวบ้านและท่ีจดั ตั้งโดยภาครฐั ความแตกต่างเหล่าน้ีทาํ ให้เกิดเง่ือนไขแตกต่างกันไป ส่งผลกระทบต่อ
การวางแผนบรหิ ารจดั การหน้ีสิน และนาํ ไปสู่วงจรหนหี้ มุนเวยี น กู้หลายที่ เปน็ หนหี้ ลายทาง ทง้ั นี้ เพ่ือเปน็ การ
ยกระดับการจดั การแก้ไขปญั หาหนี้สินครวั เรอื น ให้เกิดความคุ้มค่า มีประสิทธภิ าพและสัมฤทธผ์ิ ลยิง่ ขนึ้ จงึ ได้
จดั ตั้งศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบ้านนาฝาย โดยมีคณะกรรมการศูนย์จดั การกองทุนชุมชน เป็นกลไกสําคัญ
ในการขับเคล่ือนการดําเนินงานศูนย์จดั การกองทุนชุมชน ทาํ หน้าท่ีแก้ไขปัญหาหน้ีครวั เรอื นและบูรณาการ
บรหิ ารจดั การเงนิ ทนุ ชุมชนให้สามารถใชเ้ งนิ ทนุ อยา่ งคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด

84 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน
บา้ นนาฝาย จ. แพร่

1. สมาชกิ ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน ประกอบด้วย

สมาชกิ ศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบ้านนาฝาย ประกอบด้วย 21 กลุม่
ภายใต้การบรหิ ารจดั การคณะกรรมการศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบ้านนาฝาย

เงินทุนในการบรหิ ารจดั การ ทั้งส้ิน จาํ นวน 10,461,169 บาท

อดีต ปจั จุบนั

ดอกเบ้ีย ระยะเวลาปล่อยกู้ ดอกเบยี้ ระยะเวลาปล่อยกู้

2 บาท/เดือน 1 บาท/เดือน 1 - 3 ปี

2 ปี (เลือกระยะเวลาการชาํ ระหนี้
ลดต้น ลดดอก ลดต้น ลดดอก
ตามศักภาพครวั เรอื น)

เงื่อนไขพิเศษสมาชกิ ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน
สามารถกู้ได้ตามความจาํ เป็นและความสามารถในการชาํ ระ (ไม่เกิน 100,000 บาท/ครวั เรอื น)

โดยผ่านกระบวนการบรหิ ารจดั การหนี้ ดังนี้ การกู้ยืมเงนิ แบ่งเปน็ 2 ประเภท
1) เงนิ กู้ระยะสั้น กู้ยมื ตั้งแต่ 1,000 - 50,000 บาท ชาํ ระภายใน 1 ปี
2) เงนิ กู้ระยะปานกลาง กู้ยมื เกิน 50,000 - 100,000 บาท ชาํ ระภายใน 3 ปี
3) เงนิ กู้ฉกุ เฉิน เงนิ กู้ยมื 10,000 บาท ชาํ ระภายใน 3 เดือน

(กรณีเจบ็ ปว่ ย เสียชวี ติ เกิดอุบัติเหตุ เป็นต้น หรอื ตามทค่ี ณะกรรมการเห็นสมควรให้ทาํ สัญญากับฝ่ายสินเชอื่ และรบั เงนิ สด)

2. เทคนิคการดาํ เนินงาน

เทคนิคการสรา้ งแรงจูงใจ เทคนิคการสรา้ งแรงจูงใจ

การบูรณาการกองทุน ครวั เรอื นเป้าหมาย

• คณะกรรมการ สมาชกิ มีเป้าหมายเดียวกัน • สวัสดิการครอบคลุม 3 ส (สรา้ งส่ิงแวดล้อม สรา้ งสุขภาพ
คือ ต้องการลดหน้ี ปลดหน้ี สรา้ งสังคมท่ีดี)

• ยึดหลักคุณธรรม 5 ประการในการบรหิ ารจดั การ • ได้รบั สิทธ์ิ ขยายระยะเวลากู้เพ่ิม ผ่อนชาํ ระ/เดือนน้อยลง
กลุ่ม/กองทุนทางการเงิน • ได้รบั การสนับสนุนอาชพี ตามโครงการ

• คณะกรรมการ มีแนวคิดการบูรณาการ ค้นหารปู แบบหรอื โมเดล
“ใชห้ วั ใจนําทาง มากกวา่ ใชเ้ งินนําทาง”
และวธิ กี ารปรบั โครงสรา้ งหนี้
• จดั สวัสดิการคลอบคลุมทุกกลุ่ม
/กองทุนทางการเงิน “นาฝายโมเดล 131 และเมนูครวั เรอื นมั่นคง
ลดอัตราดอกเบ้ยี ขยายระยะเวลากู้”

85

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน
บ้านนาฝาย จ. แพร่

3. รปู แบบการบรหิ ารจดั การหน้ี

“นาฝายโมเดล 131 ครวั เรอื นมั่นคง” ครวั เรอื นมั่นคง

• กลุ่มออมทรพั ย์ฯ • กลุ่มออมทรพั ยฯ์ • กทบ. • ออมทรพั ย์ ครวั เรอื นม่ันคง
• เลือกชาํ ระเปน็ รายปี • แบ่งชาํ ระ 3 งวด งวดละ • เลือกชาํ ระเปน็ รายปี (ฝากประจาํ ) ปีละครง้ั ซอ้ื หนุ้
• ลดต้น ลดดอก • อัตราดอกเบ้ียรอ้ ยละ 12
• อัตราดอกเบ้ยี รอ้ ยละ 12 12 เดือน • กู้ไม่เกิน 75,000 บาท • (ดอกเบ้ยี ข้ึนอยูก่ ับผลกําไร
• ลดต้น ลดดอก ประจาํ ป)ี
• ดอกเบ้ียคงท่ี
• ออมทรพั ย์ (ฝากพิเศษ)
• สามารถกู้ฉุกเฉิน

• กู้ไม่เกิน 50,000 บาท • อัตราดอกเบ้ยี รอ้ ยละ 12

• กู้ 50,000 - 100,000 บาท เงินทุนในการบรหิ ารจดั การทั้งส้ิน
ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน จาํ นวน 10,461,169 บาท

จดั ตั้ง พ.ศ. 2553 (สถาบันฯ)

สมาชกิ 21 กลุ่ม กองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมือง กลุม่ ออมทรพั ยเ์ พื่อการผลติ
เงนิ ทนุ 10,461,169 บาท จดั ตั้ง พ.ศ. 2544 จดั ตั้ง พ.ศ. 2543
อัตราดอกเบ้ีย รอ้ ยละ 1/ปี สมาชกิ 183 คน สมาชกิ 54 คน

*แบบต้นลดดอกลด* เงนิ ทนุ 3,067,893.50 บาท เงนิ ทนุ 276,400 บาท
ระยะเวลาให้คืนเงนิ ยืม 1 ป,ี 3 ปี อัตราดอกเบีย้ รอ้ ยละ 5/ปี อัตราดอกเบ้ยี รอ้ ยละ 12/ปี
ระยะเวลาให้คืนเงนิ กู้ 1 ปี ระยะเวลาให้คืนเงนิ กู้ 2 ปี
เงอื่ นไข
ปล่อยกู้ไม่เกิน 50,000 บาท (คืน 1ป)ี เงอื่ นไข เงอื่ นไข
ปล่อยกู้เกิน 50,000-100000 (คืน 3ป)ี แก้หน้ีนอกระบบต้องสมัครใจทงั้ สองฝ่ายทงั้ แก้หนี้นอกระบบต้องสมัครใจทงั้ สองฝ่ายทงั้

ผู้กู้ต้องเป็นสมาชกิ ของศูนย์ฯ ลูกหนี้ - เจา้ หนี้ ลูกหนี้ - เจา้ หนี้
การกู้ทกุ สัญญาต้องมีคนคาประกัน 2 คน ปล่อยกู้ไม่เกิน 75,000 บาท จะต้องออมเงนิ สัจจะกับกลุ่มทกุ เดือน
การฝากเงนิ ออมทรพั ยพ์ อเศษได้ทกุ วนั ทาํ การ ดอกเบย้ี 2 2 ปี จา่ ยคืนเงนิ ต้น และดอกเบีย้ ให้สมาชกิ
บาท/ ปี ฝากได้ไม่เกินคนละ 200,000 บาท ต้องเปน็ สมาชกิ กองทนุ
การฝากเงนิ ออมทรพั ย(์ ฝากประจาํ ) เพิ่มหุ้นปีละ 1 ครงั้ การแก้หนี้ ต้องตามระเบียบ กองทนุ การเพิ่มหุ้น 100 บาท
(หุ้นละ 100 บาท)เพิ่มหุ้นได้ไม่เกิน 100,000 บาท
ออมทรพั ย์เดือนละ 20 บาท
กลุ่มสตรกี ู้ได้ ไม่คิดดอกเบ้ยี 1 ปี ออมสัจจะสะสมทรพั ย์ 100 บาท

ผิดนัดชาํ ระ *** เง่ือนไขพิเศษ สามารถย่ืนกู้ได้เพียง 1 เมนู/ครวั เรอื น เท่านั้น***
ปรบั 0.25/เดือน

4. ปัจจยั ความสาํ เรจ็ ในการบรหิ ารจดั การหนี้

เจา้ หน้าท่ีพัฒนาชุมชน คณะกรรมการศูนยฯ์ ครวั เรอื นเปา้ หมาย

• ศึกษาขอ้ มูลกองทนุ ชุมชน • ผู้นําชุมชนเข้มแข็ง เสียสละ • คัดเลือกครวั เรอื นทส่ี มัครใจ
• Coaching ระหวา่ งพัฒนากร อดทนและเป็นทเี่ ชอ่ื ถือไวว้ างใจ • ครวั เรอื นได้รบั การพัฒนา

รว่ มกับคณะกรรมการศูนย์ • เขา้ ใจการดําเนินงาน ศักยภาพด้านการเงนิ
• ให้ความสําคัญงานศูนย์จดั การ • มีแนวทางปฏิบัติไปในทศิ ทาง • จดั ทาํ บัญชี รายรบั รายจา่ ย
• สรา้ งแรงจูงใจด้วยการมอบรางวลั
กองทนุ ชุมชน เดียวกันสนับสนนุ ให้การดําเนิน
• ลงพื้นทตี่ ิดตามการดําเนินงาน งา่ ยขึน้ ในวันประชุมสามัญประจาํ ปี
• วางรากฐานรุน่ ใหม่ เข้ามาเรยี นรู้ • ศักยภาพคล่องการเงนิ • บรบิ ทชุมชน มีความรกั ความ

สืบทอดงาน สามัคคีและใชห้ ลักประชาธปิ ไตย
ยอมรบั ในเสียงส่วนใหญ่

86 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน

บา้ นนาฝาย จ. แพร่

5. แนวทางการสง่ เสรมิ สนับสนุนครวั เรอื นให้สามารถลดหน้ี/ปลดหนี้

1 ประชุมคณะกรรมการกลุ่ม/กองทนุ ทางการเงนิ ทเี่ ข้ารว่ มเป็นสมาชกิ ศูนย์จดั การกองทนุ ชุมชน เพื่อหาวธิ กี ารบรหิ าร

จดั การศูนยฯ์ พรอ้ มทงั้ สรา้ งความรูค้ วามเข้าใจรว่ มกันเกี่ยวกับแนวทางการบรหิ ารจดั การหน้ี

2 ประชาสัมพันธส์ รา้ งการรบั รูใ้ ห้ประชาชนในหมู่บ้านเห็นถึงประโยชน์การแก้ไขปญั หาหน้ีครวั เรอื น
3 จดั ทาํ ฐานข้อมูลสมาชกิ ศูนย์ฯ โดยคณะกรรมการกลุ่ม/กองทนุ ทางการเงนิ ทเี่ ข้ารว่ มเปน็ สมาชกิ ศูนย์ฯ สํารวจข้อมูล

สมาชกิ /เงนิ ทนุ และขอ้ มูลหนี้ เพ่ือเป็นฐานขอ้ มูลการตัดสินใจในการกําหนดแนวทางการบรหิ ารจดั การหน้ี โดย
วเิ คราะห์ขอ้ มูลลูกหน้ีและจดั ประเภทลูกหน้ี

4 จดั ทาํ เมนูทางเลือกบรกิ ารลูกหน้ี จาํ นวน 4 เมนู
5 คัดเลือกครวั เรอื นเป้าหมายทส่ี มัครใจเข้ารว่ มโครงการและพรอ้ มปฏิบัติตามแนวทางการดําเนินงานศูนยฯ์ ตามกลุ่ม/

กองทนุ ทางการเงนิ ได้แก่ กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต โครงการแก้ไขปญั หาความยากจน และกองทนุ หมู่บ้านและ
ชุมชนเมือง ภายใต้เมนบู รกิ าร 4 เมนู

6 การส่งเสรมิ การบรหิ ารจดั การหน้ี จดั เมนูทางเลือกในการชาํ ระหน้ีให้กับลูกหน้ี

ปรบั โครงสรา้ งหนี้ โอนนภาระหน้ี ปรบั เปล่ียนสัญญา

7 อบรมให้ความรูก้ ารสรา้ งวนิ ัยทางการเงนิ การจดั ทาํ บัญชคี รวั เรอื น การส่งเสรมิ การออม วางแผนการใชจ้ า่ ยทางการ

เงนิ การปรบั พฤติกรรมทางการเงนิ

8 สนับสนนุ อาชพี ครวั เรอื น ลดรายจา่ ยเพิ่มรายได้และน้อมนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรบั ใชใ้ นการดําเนิน

ชวี ติ

9 คณะกรรมการติดตาม เย่ยี มเยยี นให้กําลังใจ ให้คําแนะนํา แก่ครวั เรอื นเป้าหมาย
10 การประชุมคณะกรรมการศูนยฯ์ ประเมินผลครวั เรอื นและสรุปรายงานผลการดําเนินงานศูนย์จดั การกองทนุ ชุมชน

6. การสง่ เสรมิ อาชพี ครวั เรอื นเปา้ หมายตามกิจกรรม “สาํ นึกดี แผนดี บรหิ ารหน้ีได้”

ปี 2560 - 2561 การส่งเสรมิ อาชพี ปี 2562 การส่งเสรมิ อาชพี
“การทําแคปหมู” “การปลูกข้าวโพด และการปลูกผักสวนครวั ”

ผลสาํ เรจ็ การบรหิ ารจดั การหนี้ศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบา้ นนาฝาย

ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

บรหิ ารจดั การหนี้ 22 คน บรหิ ารจดั การหน้ี 20 คน บรหิ ารจดั การหนี้ 18 คน
จาํ นวน 953,324 บาท จาํ นวน 963,328 บาท จาํ นวน 4,410,393 บาท

ลดหน้ี คน ปลดหน้ี คน ลดหนี้ คน ปลดหน้ี คน ลดหนี้ คน ปลดหนี้ คน

(บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท)

493,382 17 250,000 5 513,329 16 143,000 4 401,399 15 50,000 3

87

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน
บา้ นนาฝาย จ. แพร่

7. ครวั เรอื นต้นแบบ

นายอนุวฒั น์ กุณน๊ะ/อาชพี หลักเกษตรกรรม

ยอดเงินกู้ 100,000 บาท
นายอนุวัฒน์ เล่าว่า ได้สมัครใจเข้ารว่ มกิจกรรม สํานึกดี แผนดี

บรหิ ารหนี้ได้ และได้ปรบั โครงสรา้ งหน้ีจากคณะศูนย์จัดการกองทุน
ชุมชน จาํ นวน 100,000 บาท โดยนําเงินกู้จาํ นวนดังกล่าว มาลงทุนใน
การประกอบอาชพี ทํานา ลงทุนปลูกข้าวโพดหลังฤดูกาลเก็บเกี่ยว และ
ลงทนุ เลยี้ งหมูโรงเรอื น หลังเขา้ รว่ มโครงการครวั เรอื นได้รบั การส่งเสรมิ อาชพี
การผลิตปุ๋ยชวี ภาพใชใ้ นครวั เรอื นแทนการใชป้ ุ๋ยเคมี เพ่ือลดต้นทุนจากการผลิต
เน่ืองจากครอบครวั มีต้นทุนมูลสัตว์ ท่ีได้จากการเล้ียงหมูทุกวัน มูลสัตว์ดังกล่าว ได้นํามาแปรรูป
เป็นปุ๋ยอินทรยี ์ใชใ้ นไรน่ าและการปลูกข้าวโพด ส่งผลให้สามารถเพ่ิมผลผลิตสูงขึ้น ต้นทุนการผลิต
ต่อกิโลกรมั ลดลง ทาํ ให้ครวั เรอื นสามารถนําเงนิ เก็บไปชาํ ระหน้ีตามกําหนดได้

8. แนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้ซาซาก

1 วเิ คราะห์ข้อมูลหาสาเหตุการก่อหน้ี
2 ส่งเสรมิ ให้ครวั เรอื นทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ ออมเงนิ ก่อนใช้ (และเข้ารว่ มกิจกรรมออมเพ่ือตัดหนี้)
3 ลดรายจา่ ยจากการลงทนุ การประกอบอาชพี และลดรายจา่ ยในชวี ติ ประจาํ วัน
4 รวมกันซอ้ื รวมกันขาย เชน่ การรวมกลุ่มเพื่อซอ้ื ปจั จยั การผลิต
5 ครวั เรอื นมีอาชพี เสรมิ นอกฤดูกาล
6 ได้รบั การส่งเสรมิ อาชพี ตามความถนัด
7 น้อมนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรบั ใชใ้ นการดําเนินชวี ติ (รูก้ ิน รูอ้ ยู่ รูใ้ ช้ รูเ้ ก็บ)
8 คณะกรรมการติดตาม เยี่ยมเยียนให้กําลังใจ ให้คําแนะนํา แก่ครวั เรอื นเป้าหมายอยา่ งสมาเสมอ

88 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบา้ นไอรเ์ จย๊ี ะ
หมู่ที่ 5 ตาํ บลซากอ อาํ เภอศรสี าคร
จงั หวดั นราธวิ าส

89

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชนบ้านไอรเ์ จย๊ี ะ
หมู่ที่ 5 ตาํ บลซากอ อาํ เภอศรสี าคร
จงั หวดั นราธวิ าส

วสิ ัยทัศน์

“ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน บรหิ ารจดั การหน้ีดี นําพาประชาชน ชว่ ยลด ปลดหนี้”

จดั ตั้ง
เดิมใชช้ อ่ื สถาบันการจดั การเงนิ ทนุ ชุมชนบ้านไอรเ์ จย๊ี ะ วันท่ี 3 กันยายน 2555
เปลยี่ นชอ่ื เป็น ศูนย์จดั การกองทนุ ชุมชนบา้ นไอรเ์ จยี๊ ะ ปี 2560
ประธานศูนย์จดั การกองทุนชุมชน

นายไพศาล ไชยประเสรฐิ โทร : 08–4890–8021
คณะกรรมการบรหิ ารศูนย์จดั การกองทุนชุมชน

จาํ นวน 14 คน ชาย 7 คน หญงิ 7 คน

ความเป็นมา

ข้อมูลทั่วไป บ้านไอรเ์ จี๊ยะมีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบสูงและภูเขาสลับซับซ้อน มีจาํ นวน 246
ครวั เรอื น 773 คน ประกอบด้วย ชาย 383 คน หญิง 390 คน ชาวบ้านส่วนใหญ่รอ้ ยละ 90 นับถือ
ศาสนาอิสลาม รอ้ ยละ 10 นับถือศาสนาพุทธ อาชพี หลักทาํ การเกษตร ได้แก่ ยางพารา ทเุ รยี น และลองกอง
นอกจากนี้ชาวบ้านยังมีการค้าขายพืชผลทางการเกษตรทงั้ ในและนอกพื้นที่

สาเหตุปัญหาหนี้สินครวั เรอื น แต่เดิมที่เกิดจากการเป็นหน้ีกองทุนต่าง ๆ ทั้งที่จดั ตั้งจากการรวมกลุ่ม
ของชาวบา้ นและทจี่ ดั ต้ังโดยภาครฐั ความแตกต่างเหลา่ นี้ทาํ ให้เกิดเงอื่ นไขแตกต่างกันไป ส่งผลกระทบต่อการ
วางแผนบรหิ ารจดั การหน้ีสิน และนําไปสู่วงจรหนีห้ มุนเวยี น กู้หลายที่ เป็นหนห้ี ลายทาง ทงั้ นี้ เพื่อเป็นการยก
ระดับการจดั การแก้ไขปัญหาหนี้สินครวั เรอื น ให้เกิดความคุ้มค่า มีประสิทธภิ าพและสัมฤทธผิ์ ลยงิ่ ขนึ้ จงึ ได้จดั
ตั้งศูนย์จดั การกองทนุ ชุมชนบ้านไอรเ์ จย๊ี ะ โดยมีคณะกรรมการศูนย์จดั การกองทนุ ชุมชน เป็นกลไกสําคัญใน
การขบั เคลอื่ นการดําเนินงานศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชน ทาํ หน้าทแี่ ก้ไขปญั หาหนี้ครวั เรอื นและบูรณาการบรหิ าร
จดั การเงนิ ทนุ ชุมชนให้สามารถใชเ้ งนิ ทนุ อยา่ งคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด

90 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน
บ้านไอรเ์ จย๊ี ะ จ. นราธวิ าส

1. สมาชกิ ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน ประกอบด้วย

กลุม่ ออมทรพั ย์เพื่อการผลติ เป็นแกนนาํ หลกั ในการบรหิ ารจดั การหนี้

เงินทุนทั้งส้ิน 21,109,000บาท

กองทุน จาํ นวนเงินทุน อัตรา อัตรา ระยะเวลา ระยะเวลา หมายเหตุ
(บาท) ดอกเบ้ีย ดอกเบ้ยี (เดิม) (ใหม่)
กลุ่มออมทรพั ย์ (ปัจจุบนั ) อัตราดอกเบ้ยี
เพ่ือการผลิต (เดิม) 132 งวด ลดต้นลดเบี้ย

21,109,000 รอ้ ยละ 10 รอ้ ยละ 9 125 งวด

กองทุนหมู่บ้านฯ 3,200,000 รอ้ ยละ 7 รอ้ ยละ 9 - - -

วสิ าหกิจชุมชุนกลุ่มแม่บา้ น 3,175,000 รอ้ ยละ 12 รอ้ ยละ 9 - - -

2. เทคนิคการดาํ เนินงาน

1เทคนิคที่ การสรา้ งแรงจูงใจการบูรณาการกองทุน

1 คณะกรรมการ สมาชกิ มีเป้าหมายเดียวกัน คือ ต้องการลดหน้ี ปลดหน้ี
2 ยึดหลักคุณธรรม 5 ประการในการบรหิ ารจดั การกลุ่ม/กองทนุ ทางการเงนิ
3 จดั สวสั ดิการคลอบคลุมทกุ กลุ่ม/กองทนุ ทางการเงนิ

2เทคนิคที่ การสรา้ งแรงจูงใจครวั เรอื นเป้าหมาย

1 ปรบั อัตราดอกเบ้ยี ลดลงเทา่ กันทกุ กองทนุ
2 คิดอัตราดอกเบี้ยเป็นรายเดือน (ไม่ใชร่ ายป)ี ลดต้น ลดดอก
3 ยืดระยะเวลากู้เงนิ เพ่ือผ่อนคลายรายจา่ ยการชาํ ระหน้ีต่อเดือน

3เทคนิคท่ี ค้นหารปู แบบหรอื โมเดล ปรบั อัตราดอกเบยี้ ลดลงเทา่ กันทกุ กองทนุ
และวธิ กี ารปรบั โครงสรา้ งหนี้
91

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน
บ้านไอรเ์ จย๊ี ะ จ. นราธวิ าส

3. รปู แบบการบรหิ ารจดั การหนี้

กองทุนหมู่บ้านฯ กลุ่มออมทรพั ย์ฯ วสิ าหกิจชุมชุน
อัตราดอกเบ้ยี อัตราดอกเบย้ี กลุ่มแม่บ้าน
9 บาท/ปี 9 บาท/ปี อัตราดอกเบ้ีย
(ลดต้น/ลดดอก)
9 บาท/ปี

4. ปัจจยั ความสาํ เรจ็ ในการบรหิ ารจดั การหน้ี

1 คณะกรรมการกลุ่มฯ บรหิ ารจดั การกลุ่มตามหลักคุณธรรม 5 ประการ
2 สมาชกิ ทกุ คนปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับกลุ่มอย่างเครง่ ครดั
3 มีการประชุมทกุ เดือนเพื่อชแ้ี จงผลการดําเนินงานในสมาชกิ รบั ทราบ
4 มีการจดั ทาํ แผนบรหิ ารจดั การความเสี่ยง
5 มีการจดั ทาํ แผนปฏิบัติการพัฒนาศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชนประจาํ ปี
6 มีการตรวจติดตามผลการดําเนินงานของพัฒนากรอยา่ งสมาเสมอ และรายงานผลการ

ดําเนินงานผลการติดตามให้พัฒนาการอําเภอทราบทกุ เดือน

92 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนยจ์ ดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน
บ้านไอรเ์ จย๊ี ะ จ. นราธวิ าส

5. แนวทางการสง่ เสรมิ สนับสนุนครวั เรอื นให้สามารถลดหน้ี/ปลดหน้ี

ประชมุ คณะกรรมการกลุ่ม/กองทุนทางการเงิน ท่ีเขา้ รว่ มเป็นสมาชกิ ศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชน เพ่ือหาวธิ กี ารบรหิ ารจดั การศูนยฯ์
ประชาสัมพันธส์ รา้ งการรบั รใู้ หป้ ระชาชนในหมู่บา้ นเหน็ ถึงประโยชน์การแก้ไขปัญหาหน้ีครวั เรอื น
จดั ทําฐานข้อมูลสมาชกิ ศูนย์ฯ สํารวจข้อมูลสมาชกิ /เงินทุน และข้อมูลหน้ี เพ่ือเปน็ ฐานขอ้ มูลการตัดสินใจในการกําหนดแนวทางการ
บรหิ ารจดั การหน้ี โดยวิเคราะหข์ อ้ มูลลูกหน้ี และจดั ประเภทลูกหน้ี
จดั ทําเมนูทางเลือกบรกิ ารลูกหน้ี

คัดเลือกครวั เรอื นเป้าหมายท่ีสมัครใจเข้ารว่ มโครงการ
การส่งเสรมิ การบรหิ ารจดั การหน้ี จดั เมนูทางเลือกในการชาํ ระหน้ีใหก้ ับลูกหน้ี ปรบั โครงสรา้ งหน้ี โอนภาระหน้ี ปรบั เปล่ียนสัญญา
อบรมใหค้ วามรกู้ ารสรา้ งวนิ ัยทางการเงิน การจดั ทําบัญชคี รวั เรอื น การส่งเสรมิ การออม วางแผนการใชจ้ า่ ยทางการเงิน
สนับสนุนอาชพี ครวั เรอื น ลดรายจา่ ยเพ่ิมรายได้ และน้อมนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรบั ใชใ้ นการดําเนินชวี ิต
คณะกรรมการติดตาม เย่ยี มเยอื นใหก้ ําลังใจ ใหค้ ําแนะนําครวั เรอื นเป้าหมายและสรปุ รายงานผลการดําเนินงานศูนยฯ์

6. การสง่ เสรมิ อาชพี ครวั เรอื นเปา้ หมายตามกิจกรรม “สาํ นึกดี แผนดี บรหิ ารหนี้ได้”

ปี 2560 มีการส่งเสรมิ อาชพี เพาะเหด็ ปี 2561 มีการส่งเสรมิ อาชพี เล้ียงไก่ไข่
ครวั เรอื นเป้าหมาย จาํ นวน 18 ครวั เรอื น ครวั เรอื นเปา้ หมาย จาํ นวน 14 ครวั เรอื น

93

ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน

บา้ นไอรเ์ จย๊ี ะ จ. นราธวิ าส

7. ครวั เรอื นต้นแบบ

นางสาวณัฐนันท์ ห้องเม่ง/อาชพี เกษตรกร ทาํ สวนผลไม้

บา้ นเลขที่ 142 ยอดหน้ีรวม 191,506 บาท ลดหนี้ จาํ นวน 78,000 บาท หลงั เข้า
รว่ มโครงการ มีการวางแผนการเงิน ดังน้ี

นางสาวณัฐนันท์ หอ้ งเม่ง เล่าว่า หลังเขา้ รว่ มโครงการได้ตรวจสอบหน้ีท้ังหมดของ
ครวั เรอื นและปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมการใชจ้ า่ ย (รจู้ กั ใช้ รจู้ กั เก็บ) โดยหยุดก่อหน้ีใหม่และ
เรม่ิ ทาํ บญั ชคี รวั เรอื น (รายรบั – รายจา่ ย) เพ่ือนํามาวเิ คราะหล์ ดค่าใชจ้ า่ ยท่ไี ม่จาํ เปน็ และ
วางแผนการใชห้ น้ี ว่าครบกําหนดชาํ ระหน้ีเม่ือไร มีการบรหิ ารจดั การเงินเพ่ือชาํ ระหน้ี
โดยนําเงนิ ท่ไี ด้แบง่ เปน็ 2 บญั ชี บญั ชที ่ี 1 ฝากประเภทออมทรพั ยส์ ําหรบั การใชจ้ า่ ยทวั่ ไป
ค่าใชจ้ า่ ยในการดํารงชพี และค่าใชจ้ า่ ยลงทนุ ในการประกอบอาชพี บญั ชที ่ี 2 เปน็ การฝาก
ประจาํ สําหรบั การชาํ ระหน้ีครวั เรอื น

นอกจากน้ียงั หารายได้เพ่ิมจากการแปรรปู ผลไม้ เชน่ ทเุ รยี นทอด จาํ หน่ายไมป้ ระดับ
ทางออนไลน์ สรา้ งรายไดเ้ พ่มิ ใหก้ บั ครอบครวั และสามารถวางแผนการใชจ้ า่ ยเพอ่ื ชาํ ระหน้ี
ในอนาคตได้

8. แนวทางการแก้ไขปญั หาหนี้ซาซาก

1 การสรา้ งเครอื ข่ายการจาํ หน่ายผ่านตลาดออนไลน์
2 รวมกันซอ้ื รวมกันขายเพ่ือต่อรองราคากับพ่อค้าคนกลาง
3 ส่งเสรมิ ใหค้ รวั เรอื นท่ีเข้ารว่ มโครงการ ออมเงินก่อนใช้ (กิจกรรมออมเพ่ือตัดหน้ี)
4 ลดรายจา่ ยการลงทุนประกอบอาชพี และลดรายจา่ ยในชวี ิตประจาํ วัน
5 ส่งเสรมิ สนับสนุนอาชพี ตามความถนัด
6 น้อมนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรบั ใชใ้ นการดําเนินชวี ติ (รกู้ ิน รอู้ ยู่

รใู้ ช้ รเู้ ก็บ)
7 เครอื ขา่ ยผนู้ ําชมุ ชน ตดิ ตาม เยย่ี มเยยี น ใหก้ าํ ลงั ใจ ใหค้ าํ แนะนํา แกค่ รวั เรอื นเปา้ หมาย

อย่างสมาเสมอ

94 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบ้านท่าม่วงใหม่
หมู่ที่ 11 ตาํ บลท่าม่วง อาํ เภอสตึก
จงั หวดั บุรรี มั ย์

95

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชนบ้านท่าม่วงใหม่
หมู่ที่ 11 ตาํ บลท่าม่วง อาํ เภอสตึก
จงั หวดั บุรรี มั ย์

วสิ ัยทัศน์

“ก้าวเดินไป อย่างมั่นคง มุ่งตรงสู่ ความม่ังค่ัง พรอ้ มตั้งอยู่ ให้ยง่ั ยืน”

จดั ต้ัง
เดิมใชช้ อ่ื สถาบันการจดั การเงนิ ทนุ ชุมชนบ้านทา่ ม่วงใหม่ ปี 2555
เปลย่ี นชอื่ เป็น ศูนย์จดั การกองทนุ ชุมชนบา้ นทา่ ม่วงใหม่ วันที่ 14 มิถุนายน 2560
ประธานศูนย์จดั การกองทุนชุมชน

นายสุรศักดิ์ น้อยถนอม โทร : 09-3398-9295
คณะกรรมการบรหิ ารศูนย์จดั การกองทุนชุมชน

จาํ นวน 22 คน ชาย 9 คน หญงิ 13 คน
ความเป็นมา

ขอ้ มูลท่ัวไป บา้ นทา่ ม่วงใหม่ มีจาํ นวน 154 ครวั เรอื น 645 คน ประกอบด้วย ชาย 314 คน หญงิ 331 คน
ใชภ้ าษาเขมรเป็นหลัก ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชพี ทํานา และรบั จา้ งทั่วไปนอกฤดูกาล อาชพี เสรมิ คือ
ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม นอกจากนี้ยังมีการรวมกลุ่มจดั ตั้งกลุ่มอาชพี ผลิตภัณฑ์ชุมชน เชน่ ผ้าไหม ผ้าขาวม้า
ผ้าโสรง่ ข้าวหอมมะลิ เครอ่ื งจกั สานไม้ไผ่ นาพรกิ ปลาดุกฟู ขนมบายเกรยี ม ฯลฯ

สาเหตุปัญหาหน้ีสินครวั เรอื น แต่เดิมทเ่ี กิดจากการเป็นหนี้กองทนุ ต่าง ๆ ทง้ั ทจี่ ดั ตั้งจากการรวมกลุ่ม
ของชาวบา้ นและทจี่ ดั ต้ังโดยภาครฐั ความแตกต่างเหลา่ นี้ทาํ ให้เกิดเงอื่ นไขแตกต่างกันไป ส่งผลกระทบต่อการ
วางแผนบรหิ ารจดั การหนี้สิน และนําไปสู่วงจรหนี้หมุนเวยี น กู้หลายที่ เปน็ หน้ีหลายทาง ทงั้ นี้ เพื่อเปน็ การยก
ระดับการจดั การแก้ไขปัญหาหน้ีสินครวั เรอื น ให้เกิดความคุ้มค่า มีประสิทธภิ าพและสัมฤทธผิ์ ลยงิ่ ขึน้ จงึ ได้จดั
ตั้งศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชนบา้ นทา่ ม่วงใหม่ โดยมีคณะกรรมการศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชน เปน็ กลไกสาํ คัญใน
การขบั เคลอื่ นการดําเนินงานศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชน ทาํ หน้าทแ่ี ก้ไขปญั หาหนี้ครวั เรอื นและบูรณาการบรหิ าร
จดั การเงนิ ทนุ ชุมชนให้สามารถใชเ้ งนิ ทนุ อยา่ งคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด

96 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนยจ์ ดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน
บา้ นท่าม่วงใหม่ จ. บุรรี มั ย์

1. สมาชกิ ศูนยจ์ ดั การกองทุนชุมชน ประกอบด้วย

เงินทุนในการบรหิ ารจดั การท้ังส้ิน จาํ นวน 6,007,906 บาท

จาํ นวน การปรบั โครงสรา้ งหน้ี
สมาชกิ
กลุม่ กองทุนมีเงิน/ จาํ นวนเงินทุน (คน) อดีต ปัจจุบัน
กลุม่ กองทุนไม่มีเงิน (บาท)
ดอกเบย้ี ระยะเวลา ระยะเวลาร
(%) ปลอ่ ยกู้ (ปี) ดอกเบีย้ (%) ปลอ่ ยกู้ (ป)ี

กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต 2,461,198 276 8 1 8 1

โครงการ กข.คจ. 280,000 154 - 1 8 1
8 (เงนิ บรจิ าค)
กองทุนหมู่บา้ น -
และชุมชนเมือง 3,266,708 122 1 81

กลุ่มอื่น ๆ จาํ นวน 3 กลุ่ม 646,200 318 - --

2. เทคนิคการดาํ เนินงาน

เทคนิคการสรา้ งแรงจูงใจ เทคนิคการสรา้ งแรงจูงใจ

การบูรณาการกองทุน ครวั เรอื นเป้าหมาย

1 ประชมุ สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจแนวทางการ 1 ปรบั อัตราดอกเบ้ยี ใหเ้ ท่ากัน เลือกเมนู
ดําเนินงานศูนยฯ์ บรกิ ารตามศักยภาพครวั เรอื น

2 หลักคุณธรรมในการบรหิ ารจดั การและเปา้ หมาย 2
สูงสุดเพ่ือพัฒนาคนในหมู่บา้ นท่าม่วงใหม่ 3 จดั สวัสดิการกองทุนอย่างทั่วถึง

3 การบูรณาการกลุ่ม/องค์กร/กองทุนการเงินใน จดั กลุ่มลูกหน้ีตามวงเงินกู้/เงินยืม
ชมุ ชน โดยคํานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมเปน็ หลัก
ค้นหารปู แบบหรอื โมเดล

และวธิ กี ารปรบั โครงสรา้ งหนี้

ปรบั อัตราดอกเบ้ยี เท่ากัน (รอ้ ยละ 8 บาท/ป)ี

97

ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน
บ้านท่าม่วงใหม่ จ. บุรรี มั ย์

3. รปู แบบการบรหิ ารจดั การหนี้

จดั ตั้ง พ.ศ. 2544 เงินทุนในการบรหิ ารจดั การทั้งส้ิน จาํ นวน 6,007.906 บาท
เงนิ ทนุ 3,266,708 บาท
อัตราดอกเบี้ย รอ้ ยละ 8/ปี กลุ่มออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลิต จดั ตั้ง 1 กันยายน พ.ศ. 2542
ระยะเวลาให้คืนเงนิ กู้ 3 ปี เงนิ ทนุ 2,461,198 บาท
ดอกเบี้ย 8 บาท/ ปี อัตราดอกเบี้ย รอ้ ยละ 8/ปี
เง่ือนไข กู้ได้ 80,000 บาท ระยะเวลาให้คืนเงนิ กู้ 1 ปี
1. ลูกหน้ีดี
2. กู้ตั้งแต่ 30,001 - 79,999/ ต่อปี ข้นึ ไป เง่ือนไข
1. ลูกหนี้ดี
ครวั เรอื น ท่าม่วงใหม่โมเดล 2. กู้ตั้งแต่ 80,000/ครวั เรอื น ขนึ้ ไป
3. ไม่มีหน้ีนอกระบบ 3. ไม่มีหน้ีนอกระบบ
4. ออมขั้นตา 100 บาท (1 ต่อ 8) 4. ออมขัน้ ตา 100 บาท
5. เลือกชาํ ระรายปีหรอื รายเดือน 5. เลือกชาํ ระรายปหี รอื รายเดือน
กองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมือง โครงการ กข.คจ. 6. สามารถยดื ระยะเวลากู้ 2 ปี
ผิดนัดชาํ ระ
1. ปรบั รอ้ ยละ 1/วนั ดอกเบีย้ 8 บาท/ ปี ดอกเบี้ย 8 บาท/ ปี ผิดนัดชาํ ระ
2. ไม่มีเครดิต/ไม่สามารถกู้เงนิ ได้ระหวา่ ง 30,001- ยืมเงินได้ไม่เกิน 1. ปรบั รอ้ ยละ 1/วนั
ฉกุ เฉินได้ 79,999/ ครวั เรอื น 2. ไม่มีเครดิต/ไม่สมารถกู้เงนิ ฉกุ เฉินได้
30,000 บาท ต่อปี

**สามารถกู้ยมื เงินกับ จดั ตั้ง พ.ศ. 2536 เง่ือนไข ผิดนัดชาํ ระ
กองทุนใดก็ได้ เงนิ ทนุ 280,000 บาท 1. ลูกหนี้ดี 1. ปรบั รอ้ ยละ 1/วนั
เงนิ บรจิ าค รอ้ ยละ 8/ปี 2. ยืมตั้งแต่ 30,000/ครวั เรอื น 2. ไม่มีเครดิต/ไม่สามารถกู้เงนิ ได้
เนื่องจากปรบั อัตรา ระยะเวลาให้คืนเงนิ ยมื 1 ปี 3. ไม่มีหนี้นอกระบบ
ดอกเบีย้ เท่ากัน 8 บาท 4. ออมขัน้ ตา 100 บาท
ระยะเวลาชาํ ระเงินกู้ 1 ป*ี * 5. เลือกชาํ ระรายปี

4. ปัจจยั ความสาํ เรจ็ ในการบรหิ ารจดั การหน้ี

1 บรหิ ารงานในรูปแบบคณะกรรมการ 4 ฝ่าย และมีการประชุมเป็นประจาํ ทกุ เดือน
2 สมาชกิ มีส่วนรว่ มกําหนดระเบยี บขอ้ บังคับ และรว่ มกิจกรรมของกลุ่มอยา่ งต่อเนื่อง
3 จดั ทาํ บัญชเี อกสาร ครบถ้วน ถูกต้องเปน็ ปัจจุบัน เน้นความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้
4 กระจายรายได้และผลประโยชน์กลุ่มให้กับสมาชกิ อย่างทวั่ ถึง เป็นธรรมและเสมอภาคส่งเสรมิ การประกอบอาชพี

ให้สมาชกิ กู้ยมื เงนิ บา้ นทา่ ม่วงใหม่

5 มีการบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภิบาล ยึดหลักคุณธรรม 5 ประการ ซอ่ื สัตย์ เสียสละ ความรบั ผิดชอบ ความเห็นอกเห็นใจกัน

อยา่ งเครง่ ครดั และความไวว้ างใจกัน

6 มีการกําหนดระเบียบขอ้ บังคับรว่ มกัน เคารพกฎกติกา นิติกรรมสัญญารว่ มกัน โดยเน้นคนคาประกันเปน็ บุคคลสําคัญ
7 มีแผนการติดตามครวั เรอื นชดั เจน

98 ถอดรหัส Model การบรหิ ารจดั การหน้ี ศูนยจ์ ดั การกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 2564


Click to View FlipBook Version