The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รับตรวจ ศูนย์ฝึกแข็งขัน สถานศึกษาร่วมใจ มุ่งไปสู่มาตรฐานเดียวกัน ประจำปี 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ด้านที่ 3 ประสิทธิภาพในการฝึกภาคปกติ

รับตรวจ ศูนย์ฝึกแข็งขัน สถานศึกษาร่วมใจ มุ่งไปสู่มาตรฐานเดียวกัน ประจำปี 2562

Keywords: ด้านที่ 3

ดา นท่ี 3 ประสทิ ธิภาพในการฝก ภาคปกติ

18. การประชุมชีแ้ จงสถานศกึ ษาวิชาทหาร
18.1 จำนวนคร้ังและหว งทจ่ี ดั การประชุม

หนวยไดวางแผนจัดการประชมุ ชี้แจงสถานศึกษา ปก ารศกึ ษาละ 3 ครงั้
- คร้ังท่ี 1 กอนการฝกตามวงรอบประจำปการศึกษา 2562 เมื่อ 23 เม.ย. 62 ณ หองประชุม ศฝ.นศท.มทบ.31

อ.เมือง จว.นครสวรรค
- คร้ังที่ 2 หวงประมาณปลายเดือน พ.ย.62 กอนวันกระทำพิธีกระทำสัตยปฏิญาณ และสวนสนามฯ เพื่อ

รบั ทราบกำหนดการฝก ภาคสนามประจำป
- ครัง้ ที่ 3 การประชุมวางแผนการฝก ลวงหนา กอนการฝก ภาคปกติ 6 เดอื น

18.2 การจัดผูแทนสถานศกึ ษาเขา รวมประชุม
- เชิญผูบริหารสถานศึกษาหรือผูแทนสถานศึกษาที่สามารถ

ตกลงใจไดเขารวมประชุม จำนวน 125 สถานศึกษา พรอมท้ัง
เจาหนาที่คอมพิวเตอรเพื่อศึกษาการกรอกขอมูล นศท.ในโปรแกรม
การรับ สมัครฯ ในสวนของสถานศึกษาวิชาทหาร จากเจา หนาท่ีของ
หนวย ณ หองประชุม ศฝ.นศท.มทบ.31 จว.นครสวรรค เมื่อวันท่ี
23 เม.ย. 62

18.3 เนือ้ หาทช่ี ้แี จง/หารอื กับสถานศกึ ษา
นโยบายการจัดการฝก นศท.ปการศึกษา 2562 ของ

นรด.เน้ือหาท่ีช้แี จง และหารือในท่ปี ระชมุ ดงั นี้
1) การรบั สมัครและรับรายงานตวั ของ นศท.

ระเบียบ นรด.วาดวยการรับสมัครเปน นศท.และรายงานตัวเขาฝกวิชาทหาร.
พ.ศ.2562 คุณสมบัติ คณุ ลักษณะของผมู ีสิทธิสมัครเขาเปน นศท./ หว งการรับ
สมัครและรับรายงานตัว นศท./ เกณฑการทดสอบสมรรถภาพ รางกาย/การ
กรอกขอมูล นศท. ลงในโปรแกรมทะเบยี นพล ในสวนของสถานศึกษาวชิ าทหาร
และตอบขอ ซกั ถามของผเู ขา รวมประชุม/ประสานการตดั เครื่องแบบ นศท.

2) การปฏิบัตขิ องสถานศึกษาในการดำเนินการรับสมัคร
- ใหสถานศกึ ษาดำเนนิ การกรอกขอ มลู นักเรียน, นักศึกษา ทสี่ มคั รเขารบั การฝก วิชาทหารในชั้นปที่ 1 (นศท.
ใหม) และลงขอมูล นศท.เกาที่เลื่อนชั้น เขาโปรแกรม บันทึกขอมลู ในการรับสมัครและรายงานตัว นศท. ในสวนงานของ
สถานศึกษา
- ใหสถานศึกษาวิชาทหาร จดั ทำบญั ชีผูสมัครใหม, นศท.ท่ีมารายงานตัว (แยกตามชั้นป) นศท.ท่ีขอรอรับสิทธ์ิ
(ตามแบบฟอรม) สงใหกับ ศฝ.นศท.มทบ.31
- ในวันกระทำการรับสมัครและรายงานตัว นศท. ใหสถานศึกษาจัด ผกท.หรือผูแทนนำ นศท.ทุกนาย ท้ัง
ที่สังกัดอยูเดิม หรือที่โอนยายเขามาใหม และใหอยูเพื่อแกปญหาในเร่ืองท่ีอาจจะเกิดขึ้นระหวางทำการรับสมัครและ
รายงานตัว จนกวาผูสมัครและผูรายงานตัวดำเนินการเสร็จส้ินในวันน้ัน พรอมกับรับทราบขอมูล และปญหาตางๆ เพ่ือ
จะไดปฏิบัติไดโดยถูกตองทันเวลาตอไป
- ศฝ.ฯ จะสงบัญชีรายช่ือ นศท. ( รด.25 ) ใหสถานศึกษาตรวจสอบความถูกตองของ ช่ือตัว-ช่ือสกุล,
หมายเลขประจำตัว นศท.และ พ.ศ.เกิดของ นศท. เม่อื ตรวจสอบและแกไขความถูกตองแลว ใหสงคืน ศฝ.ฯ ภายใน 30
มิ.ย. 62 ภายหลัง นรด.แจงการประกาศมีสภาพเปน นศท. แลว ศฝ.ฯ จะสงบัญชีรายชื่อ ( รด.25 )ใหสถานศึกษา
ตรวจสอบความถูกตองอีกครั้ง หากพบความผดิ พลาดใหร ีบแจง ศฝ.ฯ ทราบทันที เพ่ือขออนมุ ตั แิ กไขถึง นรด.หลังจากนั้น
จะไมม กี ารแกไขอกี

มาตรฐานโครงการ “ศูนยฝ์ ึกแข็งขนั สถานศึกษาร่วมใจ มุ่งไปสู่มาตรฐานเดียวกนั ” ประจาํ ปี การศกึ ษา 2562 หนา 1

- แจง การประกาศมีสภาพเปน นศท.ประจำปการศึกษา 2562 ให นศท.ทราบโดยทวั่ กนั
- เก็บบัญชีรายชื่อ นศท. ( รด.25 ) ไวเปนหลักฐาน เพื่อการตรวจสอบ และหามแกไขบัญชีรายชื่อ นศท.
( รด.25 ) โดยเดด็ ขาด
- จดั พิมพร ายละเอียดฐานขอ มูล นศท.ทกุ ช้ันป ( ผนวก ต ) สง ให ศฝ.ฯ ภายใน 30 ก.ค. 62
3) การฝกภาคปกติของ นศท.
- หลักสูตรการฝก/ หวงระยะเวลาการฝก นศท.ของแตละศูนยฝก/
การวัดผล /การภาคปฏิบัติ, ทฤษฎี/ การกำกับดูแล นศท.เร่ืองเวลาเรียน,
ระเบียบวินัยของ นศท./ คุณสมบตั ิและเกณฑผ ูม ีสทิ ธเิ ขารับการฝก ภาคสนาม
4) การฝกภาคสนามของ นศท.
- กำหนดการทดสอบรา งกายกอ นเขารบั การฝก ภาคสนาม
- แจง กำหนดหวงระยะเวลาทำการฝก, ปญ หาขอ ขัดขอ งจากการฝก ภาคสนามปทผ่ี า นมา/ การเตรยี มการของ
นศท. กอ นเขารับการฝก /การเล่ือนช้ันหรือสำเร็จการศกึ ษาวชิ าทหาร
5) กิจกรรม นศท.
- ให นศท.ทุกช้ันปส มคั รเปน รด.จิตอาสา
- ให นศท.ถายรปู กราบเทาแมพ รอมเขียนคำบรรยายใตร ูปสง ศฝ.ฯ จัด
กจิ กรรม รวม โครงการซาบซึง้ พระคุณแม
- เชิญชวนสถานศึกษาเขารวมประเมินมาตรฐานสถานศึกษาวิชา
ทหารดเี ดน ประจำปก ารศึกษา 2562 จาก นรด. หวง ส.ค. – ก.ย. 62
- ให สถานศึกษาวิชาทหาร จดั สง ขอ มูลตวั แทน เขา รว มโครงการ รด.IN LINE
6) เร่อื งอน่ื ๆ ทแี่ จง ใหสถานศกึ ษาทราบและนำไปปฏบิ ตั ิ
- เชิญชวนสถานศึกษาวิชาทหาร เขารับการประเมินมาตรฐานการ
ปฏิบัติสถานศึกษาวิชาทหาร ตามโครงการศูนยฝกแข็งขัน ฯ ปการศึกษา
2562
- ใหทุกสถานศึกษาจดั สงขอมูล ผกท.ในสถานศึกษา เพื่อปรับปรุง
ทำเนียบ ผกท.ใหท ันสมยั ทกุ ป หรอื เมอ่ื มกี ารเปลย่ี นแปลง ผกท.
- การนำ นศท.ไปขยายผลในลักษณะเพ่ือนปกครองเพื่อน และพ่ี
ปกครองนองโดยการนำ นศท.ท่ีไดรับการคัดเลือกเปน นศท. บังคับบัญชา
(หัวหนาหมู,หัวหนาหมวด และหัวหนากองรอย)ซึ่งผานการฝกอบรมแลวสามารถนำหลักการปกครองทางทหารไป
ประยกุ ตใ ชในการปกครองนักเรียนในสถานศึกษาได
- ให นศท. ทุกชั้นป ไดแตงเครื่องแบบ นศท. อยางนอยสัปดาหละ 1 คร้ัง พรอมกับใหมีการฝก ทบทวนวิชา
ทหารเบื้องตน, การฝกบุคคลทามือเปลา และการฝกแถวชิดอยางนอยเดือนละ 2 ครั้งโดย ผกท. และให นศท. บังคับ
บญั ชาเปนผูช ว ย
- ใหสถานศึกษาวิชาทหารจัด โครงการ “พ่ชี วยนอง”ดวยการบรจิ าค เคร่อื งแบบชุดฝกใหกับสถานศกึ ษา เม่ือ
สำเร็จการฝก นศท. ชน้ั ปท ี่ 3 แลว เพอ่ื มอบใหรุน นอ ง ๆ นศท.ป 1, 2 ไดน ำไปใชประโยชนต อ ไป
18.4 เอกสารทจี่ ดั ทำแจกจาย
- แผนการฝก นศท.ประจำปก ารศึกษา 2562
- สำเนาระเบียบ, คำสั่ง ท่เี กีย่ วขอ งกบั การฝก นศท.(เฉพาะรายการท่มี กี ารแกไข)
- เอกสารเชญิ ชวนใหส ถานศกึ ษาวชิ าทหารเขา รวมโครงการตา ง ๆ ตามนโยบายของ นรด.
- ใบสมคั รและใบรับรายงานตัว นศท.พรอมคมู ือการฝกวิชาทหาร
- คูมอื การบันทกึ ขอมูลในการรับสมัครและรายงานตัว นศท.ในสว นงานของสถานศกึ ษา

มาตรฐานโครงการ “ศนู ยฝ์ ึกแข็งขนั สถานศกึ ษาร่วมใจ มงุ่ ไปสู่มาตรฐานเดียวกนั ” ประจาํ ปี การศกึ ษา 2562 หนา 2

18.5 วัตถุประสงคในการประชมุ /ผลสำเรจ็ ทไี่ ดรบั
- ใหผูเขา รวมประชมุ ไดร บั ทราบนโยบายการจัดการฝก นศท.ประจำปก ารศึกษา 2562 ของผบู ังคับบัญชา
- เพอื่ วางแผนจดั การฝก นศท.ใหม คี วามสอดคลอ งกบั ตารางเรียนของสถานศกึ ษาวชิ าทหาร
- ใหผูเขารวมประชุมไดพบปะหารือ รับทราบปญหาขอขัดของ และความคืบหนาของการดำเนินโครงการที่

เกย่ี วของกบั การฝก ของ นศท.เพือ่ นำมาปรบั ปรงุ แกไ ข และกิจกรรมนกั ศึกษาวิชาทหารของแตละสถานศกึ ษา
- ผลท่ีได สถานศึกษาไดใหความรวมมอื ในการจดั การฝก นศท.เปน อยางดี

19. การปฐมนเิ ทศ นศท.
19.1 ปฐมนเิ ทศ นศท. ทกุ ชั้นป / ทุกศูนยฝ ก
- กอ นท่ีจะทำการฝกภาคปกติ หนวยไดกำหนดให หน.ชดุ ครู

ฝก จดั อบรมปฐมนิเทศ นศท.กอนท่ีจะเขา รับการฝก เพื่อใหรับทราบถึง
กฎ ระเบียบ ขอ บังคบั อืน่ ๆ และแตละชน้ั ปแ ละเร่อื งอนื่ ๆ ท่ี นศท.ควร
รบั ทราบและปฏิบัตใิ นระหวา งเขา รบั การฝก

- สำหรบั นศท.ช้ันปที่ 1 หนวยไดจัดปฐมนิเทศ นศท.ใน
หว งการรับรายงานตวั และเรียนเชญิ ผูปกครอง นศท.ช้ันปท่ี 1 เขา
รวมกิจกรรมพิธเี ปดการฝกภาคปกติและไหวครู นศท.พรอมสอดแทรกกิจกรรมในการเรยี นการสอนของ นศท.ช้ันปท่ี 1
ใหก บั ผปู กครอง นศท.ไดร ับทราบอีกทางหนงึ่

- ผบ.ศฝ.ฯ และผูควบคมุ การฝก พบปะพูดคยุ กบั นศท. กอ นทำการฝก ทุกศูนยฝก
19.2 เนื้อหาการปฐมนเิ ทศ

- ใหน กั ศกึ ษาไดร บั ทราบถึงวตั ถุประสงคข องการฝก นศท. / สิทธแิ ละหนาท่ี ของนศท.เมอื่ สำเร็จการฝก วชิ าทหารแลว
- ชี้แจง กฎ ระเบียบ และขอบังคบั ตาง ๆ ในระหวา งเขา รับการฝกวชิ าทหาร
19.3 เอกสารท่ีจัดทำมาแจกจาย
- แผน พบั ระเบียบวธิ กี ารรบั สมัครและรบั รายงานตวั นศท.
- แจกสมดุ พกและบตั รตัดคะแนน ความประพฤติคูมอื นศท.ช้นั ปท ี่ 1 – 5
19.4 ผูป กครอง / ผกท.มสี วนรวมในการรับฟง
- ผกท.ไดรับทราบขอความการปฐมนิเทศ พรอมกับ นศท.ในวันรับสมัคร และรับ
รายงานตวั ของ นศท.
- หนว ยไดเ ชญิ ผูปกครองของ นศท.ช้ันปท่ี 1 เขา รว มพธิ ีเปดการฝก และ พิธีไหวครู ของ นศท. พรอมจดั ใหมี
การปฐมนิเทศผูปกครองเพ่ือรับทราบ ถึงวัตถุประสงคของการฝก, สิทธิและหนาที่ของ นศท.เม่ือสำเร็จการฝกวิชาทหาร
ไดร บั ทราบแลว
19.5 ไมน ับเวลารวมอยใู น 80 ชม.
- หนวยไดจัดการปฐมนิเทศ นศท.ในหวงการดำเนินการรับสมัคร, จึงไมนับเวลารวมอยูใน 80 ชม.ของเวลาใน
หลักสตู ร
20. การจัดการฝก
20.1 ฝก แบบ 1 / แบบ 4 เปนหลัก
- ศฝ.ปกติ ณ ทต่ี ัง้ หนวย นศท.ช้นั ปท ่ี 1 - 3 ทำการฝกแบบ 1 โดยแบงกลุมฝก 5 กลุมฝก ตัง้ แต วนั จันทร ถึง
วนั ศกุ ร จำนวน 20 สัปดาห
- นศท.ชนั้ ปท่ี 4,5 ทำการฝกแบบ 4 ฝกในวันเสาร วนั ละ 8 ชม. จำนวน 10 สปั ดาห
20.2 ฝกแบบ 2 เฉพาะเขตอำเภอชนั้ นอก
- ในเขตอำเภอชั้นนอกและตางจงั หวัด ทำการฝกแบบ 2 เปนหลัก โดยทำการฝกทุกวัน วันละ ๔ ชวั่ โมง ต้ังแต
วนั จันทร ถงึ วันศกุ ร (ไมเวน วันหยดุ ราชการ) รวม 20 วัน

มาตรฐานโครงการ “ศูนยฝ์ ึกแข็งขนั สถานศึกษาร่วมใจ มุ่งไปสู่มาตรฐานเดยี วกนั ” ประจาํ ปี การศกึ ษา 2562 หนา 3

20.3 ฝก แบบ 2 มมี าตรการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการฝก
- การฝกแบบ ๒ หนวยไดจัดครูฝกนายทหาร และนายสิบ ใหมีอัตราสวนใกลเคียงที่ นรด.กำหนด คือ ครู

นายทหาร 4 – 5 คน และครนู ายสบิ 15 – 16 คน ตอ 1 ศนู ยฝ ก ยอ ย
- จัดเตรยี มอปุ กรณก ารเรยี นการสอนและเครื่องชวยฝกใหเพียงพอตอ จำนวน นศท.ท่เี ขา รบั การฝก
- ดำเนนิ การฝก ตามขั้นตอนทีก่ ำหนดไวใ นหลกั สตู ร เนอื้ หาวชิ าและจำนวนชั่วโมงไมน อยกวา ท่กี ำหนด ทุกช้นั ป

20.4 จัดสรรเวลาในการฝกแตล ะสปั ดาหเหมาะสม
- ในการฝกยึดถือระเบียบและหลักสูตรการฝกวชิ าทหารสำหรับ นศท.ช้ัน

ปท่ี 1–5 (ชาย, หญิง) พ.ศ.2562 ของ กห. และตามแถลงหลักสูตรการฝกวิชา
ทหาร สำหรับ นศท.ชั้นปท่ี 1-3 โดย นศท.ทุกช้ันปจ ะตองมี เวลาเรียนตามหลกั สูตร
ครบ 80 ชม. นศท.ท่ีขาดการฝกตองเรียนชดเชยใหครบ 80 ชม (เรียนฝก 44 ชม.
รด.จิตอาสา 36 ชม.)

20.5 จำนวนวชิ าและช่วั โมงครบตามระเบยี บหลกั สตู ร
- จัดจำนวนวิชาและช่ัวโมงการเรียน การสอนใหกับ นศท. ทุกช้ันป ครบตามระเบียบและหลักสูตรฯ ชั้นปละ

80 ชม.(เรียนฝก 44 ชม. รด.จิตอาสา 36 ชม.) กจิ กรรมอ่ืนๆ ท่ีกำหนดให นศท.เขารว มกิจกรรมจะไมนับรวมเวลาตาม
หลักสูตร

20.6 บริหารเวลาในการฝก แตละครั้งเหมาะสมกับงาน
- กำหนดใหผูรับผิดชอบการฝกวางแผนการจัดทำตารางกำหนดการฝก โดยจัดลำดับวิชาที่ฝกสอนจากวิชาที่

งายไปหายาก แตจะตองตรงกบั วิชา และช่ัวโมงการฝกไมน อยกวา ชั่วโมงที่กำหนดในหลกั สตู รท้ังนเี้ พ่ือให เหมาะสมกับสิ่ง
อำนวยความสะดวก, จำนวนเครือ่ งชวยฝก และสภาพแวดลอ มอ่ืน ๆ

20.7 ปฏิบตั ิไดตรงตามตารางการฝกทกี่ ำหนด
- การดำเนินการฝกทุกคร้ังจะเนนย้ำใหผูรับผิดชอบการฝกปฏิบัติให

ตรงตาม เวลาท่ีกำหนดไวในตารางกำหนดการฝก อยางสม่ำเสมอ
20.8 แยกการฝก ระหวาง นศท.ชาย กบั นศท.หญงิ
- นรด.ปรับหลักสูตรการฝกวิชาทหาร นศท.ชั้นปที่ 1-3 ตามแถลง

หลักสูตรการฝกวิชาทหารสำหรับ นศท.ชั้นปที่ 1-3 กำหนดเนื้อหาวิชาใน
หลักสูตร นศท.ท้ัง ชายและหญิง เขารับการศึกษาเหมือนกันทุกวิชา สำหรับ
นศท. ชนั้ ปท ่ี 4 และ 5 แยกการฝก

20.9 สอดแทรกกิจกรรมฝกทักษะชีวิตและสรา งภูมิคมุ กนั ฯ
- เม่ือจบการฝกสอนแตละวิชา ทายชั่วโมงการสอน ครูฝกจะสอดแทรกกิจกรรมฝกทักษะชีวิตเพื่อสราง

ภูมคิ มุ กันใหก บั นศท.ตามตารางฝกที่กำหนดไวท กุ วนั
20.10 สถานศกึ ษามีสวนรวมในการวางแผน
- จากผลการประชุมสถานศึกษาท่ีจัดขึ้นกอนทำการฝก นศท. ประจำป ผกท. มีสวนรวมในการวางแผนการ

จัดการฝก นศท.และแกไ ขปญ หาท่ีเกดิ ขึ้นขณะทำการฝก
21. การทำหนา ที่ของครฝู ก

21.1 ครฝู กมีความรูถายทอดไดด ี และเชยี่ วชาญไมนอยกวา 3 วชิ า
- ครูฝกมีความรูถายทอดไดดี และเช่ียวชาญไมนอยกวา 3 วิชาท่ีตนเอง

รบั ผิดชอบเพอื่ ใหเปนมาตรฐานเดียวกัน
21.2 ครูฝกมีมาตรฐานดา นคุณธรรมจริยธรรม และเปน ตัวอยางที่ดี
- ครฝู กมมี าตรฐานดา นคุณธรรมจรยิ ธรรม และเปนตวั อยา งท่ีดี เพ่อื ใหเปน

มาตรฐานเดียวกนั

มาตรฐานโครงการ “ศนู ยฝ์ ึกแข็งขนั สถานศึกษาร่วมใจ มุ่งไปสู่มาตรฐานเดยี วกนั ” ประจาํ ปี การศกึ ษา 2562 หนา 4

21.3 จดั ทำแผนบทเรียน
- ครฝู ก ทุกนายจัดทำแผนบทเรียนทกุ วชิ า และทุกชั้นปท่ตี นเองรับผิดชอบเพอ่ื ใหเ ปน มาตรฐานเดยี วกนั

21.4 เตรียมความพรอมในการฝกสอน
- กำหนดการฝกทบทวนและทดสอบการฝกสอนของครูกอน

ดำเนินการฝก ภาคปกติและการฝก ภาคสนาม ประสานสถานศึกษาแจงเตอื น
นศท.ใหมีความพรอ มกอ นเขา รบั การฝก

21.5 ความรู ความสามารถในการฝก สอน
- มอบหมายความรับผิดชอบใหครูฝกตามความสามารถของแตละบุคคล

และ ตามความสามารถพิเศษเฉพาะตวั บุคคล
21.6 จิตวิทยาในการฝกและปกครอง นศท.
- ปลูกฝงให นศท. มีจิตสำนึกถึงความรักประเทศชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย ความเปนน้ำหนึ่งใจ

เดียวกัน รูจักการเสียสละความสุขสวนตนเพ่ือสวนรวมและประเทศชาติ เขาใจถึงหนาที่และความรับผิดชอบตอสังคม
ความเปน ผูมรี ะเบยี บวนิ ยั เปน ส่งิ สำคัญ และนำมาซ่ึงความสำเร็จในชวี ิต

21.7 ประเมนิ ผลการฝกสอนของครูโดย นศท. / ผกท.
- จัดทำแบบประเมินครูโดย นศท./ผกท.หลักจบการฝกศึกษาทุกครั้ง เพ่ือพัฒนาปรับปรุงแผนการเรียนการสอนของ

ครูใหมปี ระสิทธภิ าพดียิง่ ข้ึนตอไป
- จดั ทำเว็บไซตข อง ศฝ.ฯ www.nst31.com เพื่อให นศท.และ ผกท.ได แสดง ความคิดเห็น ในเร่ืองการเรียนการ

สอน เพ่ือนำไปปรับปรงุ แกไขตอไป
21.8 เวบ็ ไซตร ับฟงความคดิ เหน็ การทำหนาท่ขี องครฝู ก
- หนวยติดตั้งอินเตอรเน็ตความเร็วสูง,มีเว็บบอรดของ ศฝ.ฯ www.nst31.com ให นศท., ผกท.และผูท่ี

ตอ งการ รับทราบขอ มลู เก่ยี วกับวชิ าทหาร หรอื อื่น ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ งกับ ศฝ.ฯไดเ ขยี นขอความสอบถาม เขามาในเว็บบอรด
- หนว ยไดจ ัด จนท.ไวรบั ฟง ขอมูล และตอบโต ช้ีแจงขอ มลู ใหไดร บั ทราบ

21.9 นำขอมูลที่ไดมาปรับปรุงการฝกสอนของครู
- ไดน ำขอ มลู ทเ่ี ปน ประโยชนนำมาปรับปรงุ แกไข การฝก สอนของครูและทุก ๆ เรือ่ งที่เปน ประโยชน

22. การกระตนุ ให นศท.มสี ว นรวมในการเรียน
22.1 เนน การฝก ปฏิบัติมากกวาการสอนเชิงบรรยาย
- ให นศท.ทำการฝก ปฏบิ ัตใิ นสนามมากกวารบั การสอนเชงิ บรรยายในหองเรียน โดยใหป ฏบิ ตั คิ รบทุกคน
22.2 ใชวิทยากร / ยุทโธปกรณจากหนวยท่ีรบั ผดิ ชอบโดยตรง
- ขอรับการสนับสนุนวิทยากรภายนอกจากหนวยท่ีมีหนาท่ีปฏิบัติโดยตรงเชน วิชาการปฐมพยาบาลและเวช

กรรมปองกัน จากโรงพยาบาล ในพื้นทีท่ ่ที ำการฝก ,วชิ าการบรรเทาสาธารณภัย จากเทศบาลฯ และ อบต.ในพืน้ ที
- ขอรับการสนับสนนุ อาวุธประจำหนวยจากหนวยทหารในพ้ืนท่ี เชน ร.4, ร.4 พัน.1 และ ป.4 พนั .4

22.3 ส่ือการสอนดึงดดู ความสนใจของ นศท.
- ติดตัง้ โปรเจคเตอร
- จัดเคร่ืองมอื ตดิ ตอ สอื่ สาร,เข็มทิศและเครื่องหาพกิ ัดดว ยดาวเทยี ม
- จดั แสดง อาวธุ กระสุน ที่ไมมใี นหลกั สูตร
- จัดทำแผน ภาพ คชฝ. ตามท่ี นรด.จดั ทำประกอบการเรียนการสอน

22.4 ใชเ ครื่องชว ยฝกประกอบการฝกสอน
- การสอนจะมเี คร่ืองชว ยฝกทม่ี อี ยปู ระกอบการสอนทุกครงั้

22.5 นศท.มีสว นรว มแสดงความคิดเหน็ / ศึกษาเปนคณะ
- ในระหวางการฝกสอนจะให นศท.ปฏบิ ัตไิ ปพรอ ม ๆ กัน และใหปฏบิ ตั ทิ กุ คน

มาตรฐานโครงการ “ศูนยฝ์ ึกแข็งขนั สถานศึกษาร่วมใจ มุ่งไปสู่มาตรฐานเดียวกนั ” ประจาํ ปี การศกึ ษา 2562 หนา 5

22.6 สาธิตการปฏบิ ตั ิ / ดงู านนอกสถานที่
- นศท.ช้ันปที่ 1 - 3 จะจัดใหไปศึกษาดูงาน กองพันทหารปนใหญที่ 4 เรื่อง

อาวุธยิงสนับสนุนระดับ กองพันทหารปนใหญ และการตรวจสอบประเมินผลการตรวจ
สภาพพรอมรบ ระดบั กองพนั เมื่อวนั ท่ี 1 ส.ค. 62

22.7 มอบหมายงานให นศท.นำมาสง
- แบงกลมุ และมอบงานให นศท.ไปทำการคน ควา และนำมาบรรยายในวนั ถัดไป

22.8 ถามตอบ / สอบเกบ็ คะแนนทายชัว่ โมงเรียน
- สอบถามความเขาใจในวิชาที่รับการฝกแลวให นศท. ตอบเปนรายบุคคลเพื่อทดสอบความเขาใจในช่ัวโมง

สดุ ทายของแตล ะวชิ าเพือ่ เกบ็ คะแนนทา ยชั่วโมง และสอบทฤษฎีเม่ือจบการฝก สอน ในแตล ะวชิ า
23. การสนบั สนุนทรัพยากรในการฝก

23.1 หอ งเรยี น นศท.ตามจำนวนช้นั ปท ีจ่ ดั การฝก (3 หอง)
- หนวยไดดำเนนิ การปรับปรงุ หองเรยี นมาตรฐานดังนี้
- ช้ันปท่ี 3 ใชอ าคารอเนกประสงคซ ง่ึ เปนหอ งเรยี นตนแบบซึ่งมีอุปกรณ และ

ส่อื การเรียนการสอนที่ครบถว น ไดร บั การปรับปรงุ เปนหองเรยี นมาตรฐาน แบบท่ี 1
- ชั้นปท่ี 2 ใชอาคารสวนการศึกษาเปนหองเรียนซึ่งไดรับการปรับปรุงเปน

หองเรยี นมาตรฐานแบบท่ี 2
- ชนั้ ปท ี่ 1 ใชห อ งโถงใตอ าคารหนว ยฝก และไดร บั การปรับปรุงเปน หองเรยี นมาตรฐานแบบท่ี 2
- นอกจากนห้ี นวยยงั ไดป รบั ปรุงอาคารโรงไมเ กา เปน หองเรียน มาตรฐานแบบที่ ๑

23.2 นศท.เขา เรยี นตอ หอ งไมเ กิน 150 คน
- ถา นศท. มมี ากเกินกวา 150 คน ก็จะแบงเขา หองเรียนสำรองพนื้ คอนกรีตกางเตน็ ทก นั แดดพรอมเกาอ้ี

23.3 จดั ครฝู ก นศท. ในอตั ราสวน 1 : 4 : 100
- ถา มี นศท.มากเกนิ กวา ในอัตราสว นทก่ี ำหนด ก็จะจัดครูเพิ่ม

23.4 เคร่อื งชวยฝก / ส่อื การสอนมีสนบั สนนุ อยางเพยี งพอ
- ตดิ ต้งั เครื่องฉายโปรเจคเตอร, เคร่อื งฉายขา มศรี ษะ, เครื่องมือส่อื สาร, แผนท่,ี เขม็ ทิศ, ภาพเคร่อื งชว ยสอน

24. การทดสอบความรูภาคปฏิบตั ิ
24.1 แตงตง้ั คณะกรรมการทำการทดสอบ
- มทบ.31 แตงต้ังคณะกรรมการประกอบดวยประธานกรรมการ,

กรรมการนายทหาร และ ผช.กรรมการครบทุกช้ันป ทำการประเมินการ
ปฏิบตั ิของ นศท.ทกุ ช้ันป เมอ่ื จบการฝกภาคปกติ

24.2 มีการจัดสถานที ดสอบครบทุกสถานี ทุกชัน้ ป และทุกศูนยฝก
- ชัน้ ปท่ี 1 จัดตั้งสถานที ดสอบ บคุ คลทา มอื เปลา และแถวชิด
- ชั้นปท่ี 2 จัดตงั้ สถานีทดสอบ การสวนสนาม การอานแผนท่ีและการ

ใชเข็มทิศ การปฐมพยาบาลและเวชกรรมปอ งกนั ,การฝก ยิงปน เชงิ กฬี า และการใชด าบปลายปน
- ชนั้ ปที่ 3 จัดตั้งสถานีการฝกทดสอบ หมู ปล.ในการเขาตี, ลูกระเบิดขวา ง, ปน กล เอ็ม 60 , แผนที่ – เข็มทิศ

และการใชห นากากปองกันไอพษิ
24.3 ทำการทดสอบ นศท.ทุกชนั้ ปท ุกศูนยฝ ก โดยใชก รรมการชุดเดิม
- ใชกรรมการชุดเดิมทำการประเมินผล นศท.ทุกชั้นปและทุกศูนยฝก เพ่ือใหทราบผลการทดสอบ นศท.แตละ

ศนู ยฝกใหไ ดม าตรฐานเดียวกนั
24.4 จดั ใหม กี ารบันทึกผลในแบบฟอรมแตละช้ันปใ นการทดสอบทุกคร้ังและทกุ ศนู ยฝ ก
- มกี ารบนั ทกึ ผลคะแนนในแบบฟอรม การใหค ะแนน หากไมไ ดผ า นเกณฑ ใหทำการทดสอบซ้ำใหม

มาตรฐานโครงการ “ศนู ยฝ์ ึกแขง็ ขนั สถานศกึ ษาร่วมใจ มุ่งไปสู่มาตรฐานเดยี วกนั ” ประจาํ ปี การศกึ ษา 2562 หนา 6

24.5 การทดสอบทุกครัง้ เวลาจะไมรวมอยใู น 80 ชวั่ โมง
- กำหนดวนั ทำการทดสอบ ทุกครั้งจะกระทำหลังจบการฝก ในภาคปกติ ครบตามหลักสตู รแลว

25. การทดสอบความรูภ าคทฤษฎี
25.1 ธนาคารขอ สอบ นศท.ของหนว ยฝก
- หนวยไดจัดทำธนาคารขอสอบของหนวยโดยอาศัย

ธนาคารขอสอบของ นรด.และขอสอบของครูแตละวิชาชั้นปลงในเว็บ
ไซดข องหนวย www.nst31.com

25.2 เผยแพรขอ สอบในธนาคาร นศท.ทดลองทำ
- หนวยไดแนะนำให นศท.ทำการประเมินผลความรูที่ได

จากการฝก สอนดว ยตนเอง โดยใชข อสอบจากธนาคารขอสอบของหนวยในเวบ็ ไซดท ีแ่ จงให นศท.ทราบ
25.3 จดั ทำปญหาสอบ นศท.ทุกชน้ั ป
- หวงทำการฝกทบทวนครูฝก กำหนดใหครูแตละชั้นปจัดทำปญหาสอบ ตามวิชาท่ีตนเองรับผิดชอบทุกวิชา

เพื่อจดั ทำเปน ปญ หาสอบของหนว ย ทใ่ี ชป ระเมินผล นศท.ทุกช้ันป ในทายวิชา เมื่อจบการฝก ภาคปกติ
25.4 ทดสอบ นศท.ทุกชั้นป / ทกุ ศูนยฝก
- นศท. ช้ันปที่ 1 และ 2 งดทำการทดสอบ
- ทำการประเมนิ ผลภาคทฤษฏีเฉพาะ นศท.ชั้นปที่ 3, 5 เมอ่ื จบการฝก ภาคปกติ
25.5 ตรวจและบนั ทกึ ผลคะแนนอยา งเปนรูปธรรม
- กรรมการท่ีหนวยแตงตัง้ จะทำการตรวจผลสอบ และบันทึก

ผลคะแนนอยางถกู ตอ งเพอ่ื ใหเ กดิ ความเปน ธรรมแก นศท.ทุกนาย
25.6 คะแนนไมถ งึ 50 % สอบซอม
- ผลคะแนนของ นศท.ทกุ นาย ที่มคี ะนนการประเมินผล

ภาคทฤษฏีไมถึง 50 % จะแจงให นศท. ที่มีคะแนนไมถึงทราบและ
กำหนดทำการสอบซอ มใหมใ นแตล ะศูนยฝ ก

- กำหนดสอบซอม นศท.ที่ไมผา นการประเมิน พรอ มกับการสอบซอม นศท.ชั้นปที่ 5
25.7 ไมน ับเวลารวมอยูใน 80 ชม.

- กำหนดการทดสอบจะกระทำพรอมกบั วนั ประเมนิ ผล ภาคปฏิบัติ โดยทำการทดสอบในวนั ถดั ไป
26. การบังคับใชมาตรการดานเวลาเรยี น

26.1 ตรวจสอบยอด นศท.ทกุ ครงั้ ท่ีเขารบั การฝก
- หนวยไดกำหนด รปจ.ในการตรวจสอบยอดทุกวัน โดยให หน.กองรอย, หน.หมวด ทำการตรวจสอบยอด

นศท.แตล ะชั้นปและรายงานให หน.ชัน้ ปทราบ หาก นศท.ขาดเรียนโดยไมมีเหตุผลจะถูกตัดคะแนนความประพฤติ คร้ัง
ละ 15 คะแนน

26.2 บนั ทกึ เวลาเรยี นของ นศท.เปนหลักฐานอยา งรดั กุม
- หนวยไดบันทึกเวลาเรียนของ นศท.ในแตละวันโดยไดใชรูปแบบ รด.25 เปนตนแบบ และมี ผกท.ลงช่ือ

รบั ทราบทกุ ครง้ั
26.3 นศท. / ผกท. ผูป กครองมีสวนในการรบั รู
- นศท.ที่ขาดการฝกในคร้ังแรกจะแจงใหสถานศึกษา และผูปกครองทราบทันที และแจงใหสถานศึกษาทราบ

ทกุ คร้งั ที่ นศท.ขาดการฝก หากขาดการฝก เกนิ 4 ครั้ง นศท.จะหมดสทิ ธสิ อบ

มาตรฐานโครงการ “ศูนยฝ์ ึกแข็งขนั สถานศกึ ษาร่วมใจ มงุ่ ไปสู่มาตรฐานเดียวกนั ” ประจาํ ปี การศกึ ษา 2562 หนา 7

26.4 ขอ พจิ ารณาในการฝก ชดเชยใหก ับ นศท.ท่เี คยขาดการฝก
- ถา นศท.ขาดการฝก เชน ปวย, ลา, ขาด ไปรวมกิจกรรมของโรงเรียน หนวยจะแจงใหสถานศึกษาทราบ

และนำ นศท.ทขี่ าดจากการฝก มาเรยี นชดเชยในภายหลัง โดยจะตองมเี วลาเรียนครบ 80 ชม.
26.5 กำหนดคะแนนท่ขี ยันหม่นั เพยี รใหก ับ นศท.
- นศท.ท่ีมีความประพฤติดี มีความขยันหม่ันเพียร มีระเบียบวินัย และมีการฝกอยูในเกณฑดี หนวยจัดทำ

เกยี รติบตั รชมเชยมอบใหในวันประกอบพธิ กี ระทำสัตยปฏิญาณตน และสวนสนาม นศท.ประจำป
26.6 เวลาเรียนไมค รบ นศท.หมดสทิ ธ์ิสอบ
- กำหนดมาตรการควบคมุ เวลาเรยี นใหกับ นศท.ไดรับทราบกอ นทำการฝก นศท.ท่ขี าดจากการฝกตองรายงาน

ขอฝกชดเชยใหครบเวลาตามหลักสูตร 80 ชม. นศท.ที่ขาดการฝกโดยมีเหตุอันควรจะพิจารณาจัดการฝกชดเชยใหตาม
ความเหมาะสม

- นศท.ที่มีเวลาเขา รบั การฝกไมค รบ 80ชม.หรือนศท.ที่มเี หตุอนั ควรมี เวลาฝก นอยกวา รอ ยละ 80 หมดสิทธ์สิ อบ
27. การบงั คับใชม าตรการดานคะแนนความประพฤติ

27.1 เผยแพรเ กณฑก ารตัดคะแนนความประพฤติ
- หนวยไดแจง ให นศท.ทราบในหวงปฐมนิเทศ, ครฝู กชี้แจงในหวงกอนการเรียนการสอน, ตดิ เอกสารประกาศ

แจง ให นศท.ที่เขารบั การฝก ในแตล ะ ศฝ.ทราบเพอ่ื ให นศท.ไดรบั ทราบเกณฑก ารตัดคะแนนความประพฤตใิ นความผิด
- มีการจัดทำสมุดประจำตวั นศท.ทกุ ชั้นป
- จดั ทำคูม ือแนะนำการรบั สมัครเขาเปน นศท.

27.2 ตรวจและตดั คะแนนความประพฤติอยา งเปน รูปธรรม
- เมื่อมีการตรวจพบ นศท.กระทำผิดตอระเบียบ วินัย ครูฝกจะ

ทำการตัดคะแนนความประพฤติตามเกณฑโดยมี สมุดตัดคะแนนความ
ประพฤติแจกใหประจำตัว นศท.ทกุ นาย

27.3 นศท. / ผกท. / ผปู กครองมีสว นในการรับรู
- เม่ือมีการตัดคะแนนความประพฤติ จะแจงให นศท.ทราบ

เหตุผลท่ีตัดคะแนนความประพฤติและแจงให ผกท. และ ผูปกครองทราบ เมื่อถูกตัดคะแนนความประพฤติใกลถึง 50
คะแนน กจ็ ะเชิญ ผกท.และผูป กครองของ นศท.พบเพอ่ื รวมแกปญหา

๒๗.๔ ถูกตดั คะแนนเกิน 50 คะแนน หมดสิทธเิ์ ล่ือนช้นั ป
- นศท.ท่ีกระทำความผิดและถูกตัดคะแนนความประพฤติเกิน 50 คะแนน ตองตกซำ้ ชั้น ไมม ีสทิ ธิเขา สอบ

28. การฝกยงิ ปน ตามหลักสตู ร
28.1 นศท.ทกุ ช้ันป / ทุกศนู ยฝก ไดฝ ก ยงิ ปน ตามหลกั สูตร
- นศท.ช้ันปท ี่ 1 และ 2 ฝก ยงิ ปนตามหลักสูตร ใชป น เจเกอร ขนาด .22 มม. หว งการฝก ภาคปกติ
- นศท.ช้นั ปที่ 3 ยงิ ปน ปลย.11 ขนาด 5.56 มม. ในการฝกภาคสนาม
28.2 จำนวนกระสนุ ที่จายให นศท.ใชฝก ยิงปน
- หนวยไดจ ัดสรรยอดจำนวนกระสนุ ให นศท.ไดยิงปนทุกนาย ในช้นั ปท่1ี ,

2 และ ป 3 ตามเครดิตทไ่ี ดรับการจดั สรรจาก นรด.
28.3 มอบรางวัล / เชดิ ชูเกียรติ นศท.ท่มี ีผลการยิงปนดเี ดน
- จัดทำเกยี รติบัตรใหกบั นศท.ท่ีมีผลการยิงปนอยูในเกณฑดี และมอบให

ในหวงการฝก ภาคสนาม (พิธีปดการฝก)
28.4 บันทกึ ผลคะแนนอยางเปน รูปธรรม
- การบันทึกผลคะแนนการยิงปนของ นศท. ครฝู กจะเปนผูบันทกึ ผลคะแนนตามความจริงที่ นศท.ทำการยิงปน

ไดแ ละรายงานผลคะแนนเก็บรกั ษาไวเ ปน หลกั ฐาน

มาตรฐานโครงการ “ศูนยฝ์ ึกแข็งขนั สถานศึกษาร่วมใจ ม่งุ ไปสู่มาตรฐานเดยี วกนั ” ประจาํ ปี การศกึ ษา 2562 หนา 8

29. การเสริมสรางสมรรถภาพรางกาย
29.1 มีพนื้ ทเี่ หมาะสมสำหรับการออกกำลังกาย
- หนวยไดจัดพื้นที่ในการออกกำลังกายของ นศท. อยาง

เหมาะสม และเพียงพอ ช้ันปที่ 1 อยูริมสนามหญาดานทิศเหนือของ
ศฝ.ฯ,ช้ันปท่ี 2 อยูร มิ สนามหญาดา นทศิ ใตข อง ศฝ.ฯ,ชัน้ ปท ี่ 3 อยูบรเิ วณ
หนาหอโดดดานทิศตะวันตกของ ศฝ.ฯ

29.2 นศท.ไดออกกำลงั กายในทาย ชม.เรยี น
- กำหนดให นศท.ทกุ ชั้นป ไดทำการออกกำลังกายในทาย

ชั่วโมงกอนจบการฝก ทุกวัน เพ่ือให นศท.สุขภาพรางกายแข็งแรง และรกั การออกกำลังกาย
29.3 ทดสอบสมรรถภาพรางกาย นศท.
- ทำการทดสอบสมรรถภาพรางกายของ นศท.โดยใหทำการทดสอบดวยการว่ิงระยะทาง 800 ม. ดันพ้ืน

และลุกนง่ั ตามเกณฑการทดสอบ และบนั ทึกผล คะแนนในสมดุ บันทกึ การเรยี นโดยมนี ายสิบพยาบาล และครูฝกกำกบั ดแู ล
- ทำการทดสอบระหวางการฝกภาคปกติ และกอ นเขารบั การฝกภาคสนาม

29.4 ฝก สอนคตี ะมวยไทย / ศลิ ปการตอสปู อ งกันตัว
- หนวยไดจดั ครูฝก ที่เขารบั การอบรมศิลปะการตอสูปองกันตัวฝกสอนคีตะมวยไทยและศิลปะการตอสูป องกัน

ตวั ใหก บั นศท.ในหวงการเลน กายบรหิ ารโดยให นศท.จับคูปฏิบัติ
30. การควบคุมกำกบั ดูแล ผกท.

30.1 บันทึกการมาปฏบิ ัติงานของ ผกท.
- หนวยไดจัดทำสมดุ ลงเวลาบันทึกการมาปฏิบัติงานของ ผกท.ในทุกๆ ครั้งที่ทำการฝกโดย ผกท.ตองเปนผูลง

ช่อื ทีส่ มุดลงเวลาที่ กอ.ฝก
30.2 ประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านของ ผกท.
- หนวยไดจ ดั กรรมการรวมกับชมรม ผกท. ในแตละพื้นท่ีเพอื่ ประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานของ ผกท.และพิจารณา

ใหเ ปน ผกท.ดเี ดน
30.3 รายงานผลการปฏิบัตงิ านใหส ถานศึกษาทราบ
- หลังจากหนวยไดรวมกับชมรม ผกท.ในแตละพ้ืนที่เพื่อ

ประเมินผล และพจิ ารณาคัดเลือกใหเปน ผกท.ดีเดนโดยหนว ยไดร ายงานผล
การปฏบิ ัตงิ านใหส ถานศกึ ษาทราบเพอื่ พจิ ารณาความดคี วามชอบตอ ไป

30.4 ตรวจสอบสถานภาพ ผกท.ใหม ีความทันสมยั
- หนวยไดทำหนังสือพรอมแนบใบกรอกประวัติ ผกท.ติดรูปถาย

แจง ใหสถานศึกษาทุกสถานศึกษาไดด ำเนินการกรอกประวัติ และสงคนื ให
ศฝ.เพือ่ จดั ทำทำเนียบ ผกท.

- หนวยไดมอบหมายให หน.ชุดครูฝก ที่ออกไปฝกศูนยฝก ยอย ใหสำรวจขอมูล ผกท.(พ.), ผกท., ผช.ผกท.ใน
แตละสถานศึกษาเพอ่ื รวบรวมทำรูปเลม ใหท ันสมัยอยเู สมอโดยมีแบบฟอรม แจกจายให

30.5 บอรดแสดงสถานะภาพ ผกท.
- จัดทำสมดุ ติดรูปของ ผกท.ของสถานศึกษาทุกสถานศกึ ษาพรอมเบอรโ ทรศัพท

มาตรฐานโครงการ “ศนู ยฝ์ ึกแขง็ ขนั สถานศกึ ษาร่วมใจ มุง่ ไปสู่มาตรฐานเดยี วกนั ” ประจาํ ปี การศกึ ษา 2562 หนา 9


Click to View FlipBook Version