รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทส่งิ ประดิษฐ์
เร่ือง เคร่อื งดักจับยุง MOST (QUITO)
โดย
นายอภสิ ิทธ์ิ โกสนิ นั ท์
นางสาวนนั ท์นภสั เจริญเลิศยศ
นางสาวนติ ย์รดี ชยั หานติ ย์
ครทู ีป่ รกึ ษา
นางสาวเฉลิมรตั น์ เชดิ ชู
วา่ ท่ีรอ้ ยตรกี รปภาวิน ตนั สขุ
โรงเรียนวรราชาทินัดดามาตุวิทยา
สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษาปทมุ ธานี
รายงานฉบับนเ้ี ปน็ ส่วนประกอบของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 – 6
เน่ืองในงานศิลปหตั ถกรรมนักเรียน คร้ัง 70 วันท่ี 23 ธันวาคม พ.ศ. 2565
เร่อื ง เครอ่ื งดักจบั ยุง MOST (QUITO)
โดย โกสนิ ันท์
นายอภสิ ทิ ธิ์ เจรญิ เลศิ ยศ
นางสาวนนั ทน์ ภสั ชยั หานติ ย์
นางสาวนิตย์รดี
ครทู ่ีปรึกษา
นางสาวเฉลมิ รัตน์ เชดิ ชู
ว่าทรี่ ้อยตรกี รปภาวนิ ตันสุข
ก
ชอ่ื เรอื่ ง เคร่อื งดักจบั ยงุ MOST (QUITO)
ผจู้ ดั ทำ
นายอภิสทิ ธ์ิ โกสินันท์
ที่ปรกึ ษา
นางสาวนนั ทน์ ภสั เจริญเลศิ ยศ
สถานศกึ ษา
ปีการศึกษา นางสาวนิตย์รดี ชยั หานติ ย์
นางสาวเฉลิมรตั น์ เชดิ ชู
ว่าทีร่ อ้ ยตรีกรปภาวนิ ตนั สุข
โรงเรียนวรราชาทนิ ัดดามาตุวิทยา
2565
บทคดั ยอ่
โครงงานนม้ี ีวัตถุประสงค์เพื่อสรา้ งและพฒั นาเครื่องดกั จบั ยุง MOST (QUITO) ศกึ ษา
ประสทิ ธิภาพในการดกั จับยุง ลดปญหาโรคตดิ ตอที่เกดิ จากยุงเป็นพาหะนาํ โรค ลดการใชสารเคมใี น
การกําจดั ยงุ และเพอ่ื นำวสั ดเุ หลือใชม้ าใช้ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ หลักการทำงานของเครื่องดกั จบั ยุง
MOST (QUITO) จะใชแ้ อปพลเิ คชันในส่ังการเปิดปดิ การใช้งาน โดยส่งสญั ญาณ Wi-Fi จาก
โทรศัพท์มือถือไปยงั บอรด์ Aduino ทำใหห้ ลอดไฟ Black Light สีมว่ งและพัดลมระบายความรอ้ น
ทำงาน ซ่งึ หลอดไฟ Black Light จะล่อให้ยงุ บินมาเข้าใกล้บริเวณทมี่ ีพัดลม ส่งผลให้ยงุ ถูกดดู ดว้ ยพดั
ลมระบายความร้อนลงไปในกลอ่ งดักยงุ จากการทดสอบประสทิ ธภิ าพในการดักจับยงุ ของเคร่ืองดัก
จับยงุ MOST (QUITO) โดยดำเนินการทดลองประสิทธิภาพในการดกั ยุง เป็น 2 ตอน คือ (1) การดัก
จับยงุ ภายในบา้ น (2) การดกั ยงุ ภายนอกบ้าน โดยทำการทดสอบจำนวน 3 วนั วนั ละ 3 ชว่ั โมง
ในช่วงเวลา 18.00 – 21.00 น. โดยแบ่งช่วงเวลาในการศึกษาเปน็ 6 ช่วงเวลา พบวา่ สามารถดักจับยุง
ภายในบ้านได้มากที่สุดนาทีท่ี 90 โดยจำนวนยงุ เฉลย่ี 1.67 ตัว วันที่ 3 ดกั ยงุ ได้จำนวนรวม 7 ตัว และ
สามารถดกั จบั ยุงภายนอกบ้านไดม้ ากที่สุดนาทีท่ี 30 โดยจำนวนยุงเฉลีย่ 5.00 ตวั วนั ที่ 3 ดักยุงได้
จำนวนรวม 22 ตัวและซง่ึ ประสทิ ธภิ าพในการดักจบั ยุงแต่ละเวลาท่กี ำหนดมจี ำนวนยงุ ท่แี ตกต่างกัน
ขึน้ อย่กู ับผลของช่วงแสงในแต่ละวนั อณุ หภูมิ ความชืน้ และสภาพแวดล้อม นอกจากน้ียังพบวาเคร่ือง
ดักจับยงุ MOST (QUITO) สามารถดักจับยงุ ภานนอกบา้ นไดด้ กี วาภายในบ้าน
คำสำคัญ : MOST (QUITO), หลอดไฟ Black Light, พดั ลม และ Aduino
ข
กติ ตกิ รรมประกาศ
โครงงานเรอ่ื ง เครอื่ งดักจับยุง MOST (QUITO) สำเร็จลลุ ่วงไดด้ ้วยความกรณุ าของครู
ท่ปี รกึ ษาโครงงาน นางสาวเฉลมิ รัตน์ เชดิ ชู และวา่ ทร่ี อ้ ยตรีกรปภาวนิ ตันสขุ เป็นผู้ให้ทง้ั ความรู้
คำแนะนำ ชว่ ยเหลือ และตรวจสอบแกไ้ ขข้อบกพรอ่ งจนโครงงานนี้มีความถูกต้องและเสรจ็ สมบรู ณ์
คณะผจู้ ัดทำขอกราบขอบพระคณุ เปน็ อย่างสูงไว้ ณ โอกาสน้ี
ขอขอบพระคณุ นายอธิปย์ อู่แกว้ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนวรราชาทนิ ดั ดามาตุวิทยา ที่ให้ความ
กรณุ าใชส้ ถานท่ีในการดำเนนิ งาน
ขอขอบพระคุณ นายคมสัน เจรญิ เลศิ ยศ เป็นผใู้ ห้คำแนะนำ ช่วยเหลือในการประดิษฐ์
เครอ่ื งดักยุง
ขอขอบคุณ นายพชรพล ดิษฐโชติ เปน็ ผู้ใหค้ วามรู้ คำแนะนำ ชว่ ยเหลอื ในการเขยี นโคด้
คำสั่ง และการต่อวงจรไฟฟา้
ขอกราบขอบพระคุณบดิ า มารดาทค่ี อยสนบั สนนุ คณะผูจ้ ดั ทำในการทำโครงงานในครงั้ นี้
ไมว่ า่ จะเป็นด้านทุนทรัพย์ กำลงั ใจ ใหค้ วามรกั ความห่วงใยแก่คณะผจู้ ดั ทำ จนโครงงานน้ีเสรจ็
เรยี บร้อยเป็นอย่างดี
ท้ายสดุ นี้คณะผจู้ ัดทำหวงั เป็นอย่างย่งิ วา่ โครงงานน้ีจะมีประโยชนสำหรบั ผู้ทสี่ นใจศกึ ษาหา
ความรเู้ ก่ียวกบั โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภทส่ิงประดิษฐต์ ่อไป
อภิสทิ ธ์ิ โกสนิ นั ท์
นนั ท์นภัส เจริญเลิศยศ
นิตยร์ ดี ชัยหานติ ย์
ผจู้ ดั ทำ
ค
สารบญั
หนา้
บทคดั ย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบญั ตาราง จ
สารบัญรูปภาพ ฉ
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ที่มาและความสำคัญ ………………………………………………………………………………. 1
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของโครงงาน ……………………………………………………………………….. 2
1.3 สมมติฐาน …………………………………………………………………………………………….. 2
1.4 ตัวแปร …………………………………………………………………………………………………. 2
1.5 ขอบเขตการศกึ ษา …………………………………………………………………………………. 2
1.6 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รับ ……………………………………………………………………… 2
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 3
2.1 ยุง ……………………………….……..……………………...………………………………………… 5
2.2 สว่ นประกอบของเคร่อื งดักจบั ยงุ ……………………………………………………………… 6
2.3 หลักการทำงานของเครื่องดกั จับยงุ ………………………………………………………….. 7
2.4 งานวิจยั ท่เี ก่ยี วข้อง …………………………………………………………………………………
บทที่ 3 วิธดี ำเนินงาน 9
3.1 การศึกษารวบรวมข้อมลู ………………………………………………………………………… 9
3.2 ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน …………………………………………………………………………… 10
3.3 การออกแบบโครงสรา้ งเคร่อื งดกั จบั ยุง MOST (QUITO) ................................. 11
3.4 วสั ดุอุปกรณใ์ นการสร้างเครือ่ งดักจับยุง MOST (QUITO) ………………………….. 12
3.5 ข้ันตอนการสร้างเครื่องดักจับยุง MOST (QUITO) ……………………………………. 13
3.6 วิธกี ารทดลอง ……………………………………………………………………………………….
ง
สารบัญ (ตอ่ )
หนา้
บทท่ี 4 ผลการศึกษา
4.1 การทดสอบประสทิ ธภิ าพในการดักจับยุงของเคร่ืองดักจับยุง
MOST (QUITO) …………………………………………………………………………………………. 14
บทที่ 5 สรปุ ผล และอภปิ รายผลการศกึ ษา 16
5.1 สรปุ ผลการศึกษา ……………………………………..…………………………………………… 17
5.2 อภปิ รายผลการศกึ ษา ……………………………………………………………………………. 17
5.3 ปัญหาและอปุ สรรค ………………………………………………………………………………. 17
5.4 ขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………
บรรณานุกรม ………………………………………………………………………………………………….………... 18
ภาคผนวก ………………………………………………………………………………………………………………. 20
จ
สารบญั ตาราง
ตาราง หน้า
3.1 รายการวสั ดอุ ุปกรณ์ที่ใช้สร้างเครอื่ งดักจับยงุ MOST (QUITO) ……………………….. 12
4.1 ประสทิ ธิภาพในการดักจับยุงภายในบ้าน ………………………………………………………. 14
4.2 ประสิทธภิ าพในการดักจับยุงภายนอกบา้ น …………………………………………………… 15
ฉ
สารบัญรปู ภาพ
ภาพ หนา้
2.1 วงจรชวี ติ ของยุง ……………………………………………………………………………………….. 4
3.1 ข้ันตอนการออกแบบโครงสรา้ งเครอ่ื งดักจับยุง MOST (QUITO) …………………… 10
3.2 โครงสรา้ งเครือ่ งดักจับยงุ MOST (QUITO) ด้านซา้ ยและดา้ นขวา …………………. 11
3.3 โครงสร้างเคร่ืองดกั จับยงุ MOST (QUITO) ด้านบนและด้านล่าง ………………….. 11
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ทม่ี าและความสำคัญ
ในปัจจบุ นั มยี ุงจำนวนมากท้งั ในเขตชุมชนเมืองและชมุ ชนชนบท โดยเฉพาะพ้ืนทีใ่ กลแ้ หล่ง
นำ้ และในชว่ งฤดฝู น ซึ่งทำให้จำนวนผู้ปว่ ยโรคไข้เลอื ดออกเพ่ิมขนึ้ ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือน
ตุลาคม ปจั จัยสำคญั ที่ทำให้โรคไข้เลือดออกระบาด ไดแ้ ก่ การเพม่ิ จำนวนประชากร โดยเฉพาะอยา่ ง
ย่ิงคือมกี ารขยายชมุ ชนเมืองมากขน้ึ มจี ำนวนยุงลายมากข้นึ จากการเพ่ิมจำนวน ในทุกปปี ระชากรทัว่
โลกกวา่ ครง่ึ ล้านคนต้องเขารกั ษาตวั ในโรงพยาบาลจากการเปน็ โรคไขเ้ ลือดออกชนดิ รนุ แรง และมรี าว
12,500 ราย ท่ีเสียชีวิตลง เดก็ และผทู้ ี่เคยตดิ เชอ้ื แล้วถ้าหากติดเช้ืออีกครง้ั จะมีความเสย่ี งสูงทโ่ี รคจะ
พัฒนาไปส่โู รคไข้เลอื ดออกชนิดรุนแรง แต่อยา่ งไรกต็ าม ผทู้ ่ียงั ไมเ่ คยติดเช้อื ไม่ควรชะล่าใจวา่ เปน็ โรค
ไขเ้ ลอื ดออกครั้งแรกจะไม่รุนแรง เพราะโรคเลอื ดไขเ้ ลือดออกชนิดรุนแรงนนั้ อาจเกิดขน้ึ ได้ตั้งแตก่ าร
ติดเชอ้ื คร้งั แรก 75% ของผทู้ ่ีตดิ เชอ้ื จะไมม่ ีอาการ ผู้ทต่ี ิดเชื้อมากอ่ นจงึ อาจไม่รู้ตัววา่ เคยติดเชอ้ื
มาแล้ว (โรงพยาบาลสมิตเิ วช : 2563)
ปจั จบุ ันมสี ิ่งของเหลอื ใช้ถูกท้ิงเป็นขยะมากมาย จงึ มผี ู้ใหค้ วามสนใจนำขยะมาแปรรูปใหม่ ซ่ึง
บางอยา่ งนำมาประดษิ ฐ์เปน็ ส่ิงของได้ โดยวสั ดุเหลือใช้มหี ลายประเภท เชน่ วสั ดุจากขยะ
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ วัสดุประเภทแก้ว วัสดุประเภทพลาสตกิ เป็นต้น วสั ดุเหล่านห้ี ลงั จากการนำมาใชไ้ ด้
แล้วอาจเกิดการชำรุดเสยี หาย หรอื เปน็ สิ่งของเหลือใช้ซึง่ ไร้ค่า แตส่ งิ่ ของบางชนิดเมอ่ื ไม่สามารถใช้
งานได้แล้ว วัสดบุ างอย่างเราสามารถนำกลบั มาใชใ้ ห้เกิดประโยชนไ์ ดอ้ ีกโดยนำมาประดิษฐเ์ ป็นของ
เล่น ของใช้หรอื ของตกแตง่ ตามความรู้ความสามมารถของแต่ละบุคคลและลกั ษณะ คุณภาพของวัสดุ
เหลือใชแ้ ตล่ ะชนดิ
คณะผจู้ ัดทำได้ตระหนักถึงปัญหาทเ่ี กดิ ข้ึนจงึ ไดจ้ ัดทำเครอื่ งดักยุง เพื่อศึกษาประสทิ ธิภาพ
ของเครือ่ งดกั ยงุ และสรา้ งสรรคส์ ง่ิ ของจากวสั ดทุ ี่ไมใ่ ชแ้ ลว้ ซึง่ เปน็ การนำวสั ดุเหลือใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์
สงู สดุ และยังเป็นการเพิ่มมลู ค่าของวัสดุ โดยคณะผูจ้ ดั ทำได้ทำการศึกษาหลักการทำงานของเครื่องดัก
จบั ยุงวา่ ใช้หลอดไฟสีม่วงเพ่ือเปน็ การล่อยุงหรอื แมลงทุกชนดิ ท่มี ีปฏิกิริยาไวต่อแสง เป็นแนวทางใน
การชว่ ยลดยงุ ลาย ป้องกนั โรคที่เกดิ จากพาหะของยุง
2
1.2 วตั ถุประสงคข์ องโครงงาน
1.2.1 เพอื่ สรา้ งและพฒั นาเคร่ืองดกั จับยุง MOST (QUITO)
1.2.2 เพื่อศึกษาประสทิ ธภิ าพในการดกั จับยุง
1.2.3 เพ่ือลดปญหาโรคติดตอท่เี กดิ จากยุงเป็นพาหะนาํ โรค
1.2.4 เพื่อลดการใชสารเคมีในการกําจัดยุง
1.2.5 เพอ่ื นำวัสดุเหลือใชม้ าใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ
1.3 สมมตฐิ าน
1.3.1 เครอื่ งดักจบั ยงุ MOST (QUITO) สามารถดักจับยุงได้
1.3.2 เครือ่ งดกั จบั ยงุ MOST (QUITO) ทำมาจากวสั ดุเหลอื ใช้
1.4 ตัวแปร
1.4.1 ตวั แปรต้น ไฟแบล็กไลต์ พัดลมระบายความรอ้ น
1.4.2 ตัวแปรตาม ประสทิ ธิภาพในการดกั จบั ยุง
1.4.3 ตวั แปรควบคุม แรงดูดของพัดลม กำลงั ไฟฟ้า
1.5 ขอบเขตการศกึ ษา
โรงเรยี นวรราชาทินดั ดามาตุวิทยา เลขท่ี 59 หมู่ 2 ตำบลคลองพระอดุ ม อำเภอลาดหลุมแกว้
จังหวดั ปทุมธานี 12140
1.6 ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รับ
1.6.1 ไดส้ ร้างและพัฒนาเคร่ืองดกั จบั ยุง MOST (QUITO)
1.6.2 ไดศ้ ึกษาประสทิ ธิภาพในการดกั จับยงุ
1.6.3 เปน็ การลดปญหาโรคติดตอทเี่ กดิ จากยุงเป็นพาหะนําโรค
1.6.4 เป็นการลดการใชสารเคมใี นการกําจัดยุง
1.6.5 นำวสั ดุเหลอื ใชม้ าใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ
บทที่ 2
เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง
การศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาเครื่องดกั จบั ยุง MOST (QUITO)
คณะผู้จดั ทำได้มกี ารศกึ ษาทฤษฎี หลักการ และแนวคิดต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
2.1 ยุง
2.2 สว่ นประกอบของเครอื่ งดักจบั ยุง
2.3 หลกั การทำงานของเคร่ืองดกั จบั ยงุ
2.4 งานวิจยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
2.1 ยุง
ยุง (MOSQUITOES) ยุงเปน็ แมลงที่พบได้ทัว่ โลกแต่พบมากในเขตรอ้ น และเขตอบอุ่นจาก
หลกั ฐานทางฟอสซิลสามารถสันนิษฐานไดว้ า่ ยงุ ได้ถอื กำเนิด ขึ้นในโลกตัง้ แต่ยุคดึกดำบรรพเ์ มื่อ
ประมาณ 38 - 54 ลา้ นปีมาแล้ว จากรายงานการสำรวจพบว่าท่วั โลกมียงุ อยมู่ ากมายหลายพันชนดิ
ประมาณการวา่ มีมากถงึ 3,500 ชนิด (Species) ในประเทศไทยมปี ระมาณ 400 ชนิด ยงุ บางชนิด
แค่ก่อความรำคาญโดยการดูดกินเลือดคนและสตั วเ์ ลย้ี งเปน็ อาหารเท่านน้ั แตก่ ็มียงุ อีก หลายชนดิ ซึง่
นอกจากจะดูดกนิ เลือดเป็นอาหารแล้ว ยงั เป็นพาหะนำโรคร้ายแรงต่าง ๆ มาสคู่ นและสัตวอ์ กี ด้วยซ่ึง
นับว่าเปน็ อนั ตรายอย่างยิ่ง
2.1.1 วงจรชีวิตยุง
ในประเทศไทยมีประมาณ 400 ชนดิ ยุงบางชนดิ แคก่ ่อความรำคาญโดยการดูดกินเลือด
คนและสัตว์เลีย้ งเปน็ อาหารเท่านั้น แตก่ ็มยี ุงอีกหลายชนิดซง่ึ นอกจากจะดดู กนิ เลือดเป็นอาหารแลว้
ยงั เป็นพาหะนำโรครา้ ยแรงตา่ ง ๆ มาสคู่ นและสัตว์อกี ด้วยซ่ึงนับวา่ เปน็ อนั ตรายอยา่ งยิ่งการทจ่ี ะ
ควบคมุ ยงุ ให้ไดผ้ ลดีนัน้ จะต้องเรยี นรยู้ ุงให้ถ่องแท้ดีเสียกอ่ น โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ชีววทิ ยาของยงุ
ซึง่ รวมทงั้ วงจรชีวิตอุปนิสยั ของยงุ ถน่ิ ท่ีอยู่ และแหล่งเพาะพนั ธุ์
วงจรชวี ิติของยุง จะมี 4 ระยะ ไดแ้ ก่ ระยะเป็นไข่ (Egg Stage) ระยะตัวออ่ น (Larva
Stage) ระยะเป็นดักแด้ (Pupa Stage) และระยะตัวเตม็ วยั (Adult Stage) ซึ่งยุงจะมีวงจรชีวิต 9 -
14 วนั ตวั เมยี อายปุ ระมาณ 1 - 3 เดอื น ตวั ผอู้ ายปุ ระมาณ 6 - 7 วัน ยงุ แตล่ ะตวั วางไข่ได้ 3 - 4 ครง้ั
จำนวน 50 - 300 ฟองต่อครั้ง ยุงตัวเมยี เม่ืออายุได้ 2 - 3 วนั จงึ เรมิ่ ออกหากินเลอื ดคนหรอื สัตว์ เพ่ือ
นำเอาโปรตีนและแรธ่ าตุไปใช้สำหรบั การเจริญเติบโตของรงั ไข่ ส่วนยงุ ตวั ผ้จู ะดูดน้ำหวานเพ่ือ
4
ดำรงชวี ิต หลังจากดูดเลอื ดเม่ือไข่สกุ เต็มที่ ยุงตวั เมยี จะหาแหล่งน้ำทเ่ี หมาะสมในการวางไข่ หลงั จาก
วางไข่แล้วยุงตัวเมียกอ็ อกดูดเลอื ดใหม่และวางไขไ่ ด้อีก
ภาพ 2.1 วงจรชีวิตของยุง
ทม่ี า ผาทอง กรุ๊ป, 2561
2.1.2 โรคท่มี ียุงเป็นพาหะ
2.1.2.1 โรคมาลาเรีย แหล่งแพร่โรคอยู่ในทอ้ งที่ป่าเขา โดยเฉพาะตามแนวชายแดนติดต่อ
กบั ประเทศพม่าและกัมพูชา เชื้อโรคมาลาเรียคือ โปรโตซัว ซง่ึ เป็นสตั วเ์ ซลล์เดียวมีขนาดเล็กมากมีชอ่ื
เรียกวา่ พลาสโมเดย่ี ม ซง่ึ มอี ยู่ 4 ชนดิ ดว้ ยกัน แตท่ ีม่ ีอนั ตรายร้ายแรงจนถงึ แกช่ ีวิตคอื พลาสโมเดี่ยม
ฟาลซฟิ ารัม
2.1.2.2 โรคไขเ้ ลือดออก แหล่งแพร่โรงอาจเกิดขน้ึ ได้ท้ังในเขตเมืองและชนบททกุ จงั หวัด
ทวั่ ประเทศ ผูป้ ่วยส่วนใหญ่เป็นเด็ก เช้ือโรคไข้เลอื ดออกคือไวรสั ท่ีมชี ่ือวา่ เดงกี่ไวรัส ผ้ปู ว่ ยท่ีมอี าการ
รุนแรงมักเสยี ชวี ติ เนือ่ งจากเกิดการช็อค
2.1.2.3 โรคเทา้ ช้าง แหลง่ แพร่โรคอยใู่ นท้องท่ีชนบทเฉพาะทางภาคใต้และภาคตะวันตก
ของประเทศ เชือ้ โรคเท้าช้างคือพยาธิตวั กลมขนาดเลก็ รูปร่างคล้ายเส้นด้ายอาศยั อยู่ในกระแสโลหิต
ของผปู้ ่วย โรคนี้ทำให้เกดิ แขน เทา้ ลกู อณั ฑะบวมโต เกิดความพิการตามมาแตโ่ รคไมร่ ุนแรงถงึ ขั้น
5
เสียชีวติ เน่อื งจากผปู้ ว่ ยในรายทม่ี อี าการรนุ แรงจะมีเทา้ บวมใหญ่คล้ายเท้าของชา้ ง จึงเรียกโรคนวี้ า่
โรคเทา้ ชา้ ง
2.1.2.4 โรคไข้สมองอักเสบ แหล่งแพร่โรคอยู่ในท้องที่ชนบทโดยเฉพาะทางภาคเหนือ
บริเวณที่มกี ารเลยี้ งสุกรมาก โรคน้ตี ามปกตเิ ปน็ โรคตดิ ต่อในสตั วด์ ว้ ยกนั เองเทา่ นั้น การทโ่ี รคตดิ ตอ่
มาถึงคนไดน้ ้นั นับเป็นการบงั เอิญท่ีคนไปถูกยงุ ท่มี ีเชื้อโรคกัด เชื้อโรคไข้สมองอกั เสบคือไวรัสท่ีมีช่อื วา่
แจแปนิส เอนเซบ ฟาไลตสิ ไวรสั ถึงแมจ้ ำนวนผ้ปู ว่ ยโรคน้มี ีไม่มาก แต่โรคนี้ทำให้เกิดอาการรุนแรงถงึ
ขน้ั เสียชวี ติ ไดโ้ ดยงา่ ยหรือทำใหเ้ กิดความพิการทางสมองตามมาได้
2.2 ส่วนประกอบของเคร่อื งดกั จบั ยงุ
2.2.1 แผ่น PVC
เปน็ ผลติ ภณั ฑพ์ ลาสตกิ วศิ วกรรมทำจากเชื้อพลาสติก PVC (Polyvinyl chloride) มี
คณุ ภาพดีราคาย่อมเยา ปรับคุณสมบตั ิ ให้สามารถใชง้ านท่ีอณุ หภูมิ 0 – 60 องศาเซลเซียสได้ลกั ษณะ
เปน็ แผน่ ตนั ไม่มรี พู รุน มีความหนาต้งั แต่ 1 – 25 มลิ ลเิ มตร ขนาด 122*244 เซนตเิ มตร มีคณุ สมบตั ิ
ทนทานต่อการกัดกร่อนของสารเคมี สามารถตัด เจาะรู เชื่อมด้วยความร้อน มนี ้ำหนักเบา มีสีเทา
สีขาว และสีใส
2.2.2 ตาข่ายไนล่อน
ลกั ษณะของผลิตภัณฑจ์ ะคล้ายมุง้ กันยุงท่วั ไป แตแ่ ตกตา่ งกันทว่ี ัสดุทีน่ ำมาทอนน้ั จะเป็น
พลาสตกิ ไนล่อน โดยการรดี พลาสติกออกมาเปน็ เสน้ ด้ายตามขนาดมาตรฐานทีต่ ้องการ จากนั้นจึง
นำเข้าเคร่ืองทอและเชอ่ื มด้ายใหต้ ิดกนั ดว้ ยความร้อน เมื่อเป็นผลิตภัณฑส์ ำเรจ็ รูปแล้วจึงมีคุณสมบตั ิ
ทนทานน้ำไดด้ ี เหมาะสำหรับใชใ้ นการเกษตร การประมง รวมถึงการใช้งานทั่วไป
2.2.3 พัดลมระบายความรอ้ น
พัดลมระบายความร้อนทำหน้าทีร่ ะบายความรอ้ นจากภายในของอุปกรณ์ โดยการหมุน
ของใบพัดทำใหเ้ กิดความเย็นภายในอุปกรณแ์ ละมอเตอรต์ ่าง ๆ โดยมกี ารควบคุมและแลกเปลีย่ น
ความร้อนจากภายนอก พัดลมระบายความร้อนยังสามารถที่จะป้องกันฝุ่นไดด้ ี ทำให้อายุการใช้งาน
ของพัดลมระบายความร้อนได้ยาวนานขึ้น
2.2.4 หลอดไฟ Black Light
หลอดไฟแบล็คไลต์ (Black Light) เปน็ หลอดท่เี ปลง่ รังสยี วู คี ลน่ื ยาว 380 - 400 นาโนเมตร
มีสีม่วงดำ ใช้ตรวจเอกสารสำคญั เช่น ธนบัตร หนังสอื เดนิ ทาง บัตรเครดติ ฯลฯ วา่ เป็นของจรงิ หรือ
ปลอม หลายประเทศไดผ้ ลิตลายน้ำที่ไม่สามารถมองเหน็ ไดใ้ นรงั สีชนิดนี้ นอกจากนแ้ี บล็กไลต์ยัง
สามารถใชล้ ่อแมลงใหม้ าติดกับ เพ่อื ทจ่ี ะกำจัดภายหลงั ได้
6
2.3 หลกั การทำงานของเครอ่ื งดกั จับยุง
2.3.1 บอร์ด Arduino
Ardiono มผี ้รู ิเรมิ่ เป็นชาวอิตาเลยี น เรม่ิ ต้นในปี 2005 ผู้รเิ รม่ิ ของ Arduino ชื่อวา่
Massimo Banzi และ David Cuartielles ซ่ึงอาศัยอยใู่ นเมอื ง Ivrea ทางตะวนั ตกเฉยี งเหนือของ
ประเทศอติ าลี สองคนนต้ี ้งั ใจสรา้ งอปุ กรณป์ ระเภทไมโครคอนโทรลเลอรร์ าคาถกู ท่ีนกั เรียนนักศึกษา
สามารถเขา้ ถงึ และซ้ือหามาเปน็ เจา้ ของไดโ้ รงงานเล็ก ๆ ในเมอื งท่ีวา่ นก้ี ็ถูกใช้เป็นท่ผี ลติ บอรด์
Arduino เวอรช์ น่ั แรก โดยใช้ช่ือโครงการของพวกเขาวา่ Arduino of Ivrea ต่อไปกท็ ำความรจู้ ักตวั
บอรด์ Arduino กัน บอร์ด Arduino คือบอรด์ ไมโครคอนโทรเลอรต์ ระกลู AVR มีการพัฒนาแบบ
Open Source บอรด์ Arduino ถูกออกแบบมาให้ใช้งานได้ง่าย
2.3.2 AC Relay Module
รเี ลย์ (Relay) เปน็ อปุ กรณ์ไฟฟ้าชนิดหน่งึ ซง่ึ ทำหนา้ ท่ีตัดต่อวงจรแบบเดยี วกับสวิตช์ โดย
ควบคมุ การทำงานดว้ ยไฟฟา้ รีเลย์มหี ลายประเภท ตง้ั แต่รีเลย์ขนาดเล็กท่ีใชใ้ นงานอิเล็กทรอนกิ ส์
ทว่ั ไป จนถึงรีเลย์ขนาดใหญท่ ี่ใช้ในงานไฟฟ้าแรงสงู โดยมรี ูปรา่ งหนา้ ตาแตกตา่ งกันออกไป แตม่ u
หลกั การทำงานทคี่ ลา้ ยคลงึ กัน สำหรับการนำรีเลยไ์ ปใช้งาน จะใชใ้ นการตดั ตอ่ วงจร ทง้ั นรี้ เี ลยย์ ัง
สามารถเลอื กใช้งานได้หลากหลายรปู แบบ
2.3.3 โพรโทบอร์ด (Breadboard)
โพรโทบอร์ด (Breadboard) เป็นอปุ กรณท์ จ่ี ะชว่ ยใหส้ ามารถเช่อื มต่อวงจรเพ่ือทดลอง
งา่ ยข้ึน ลักษณะของบอรด์ จะเป็นพลาสติกมีรูจำนวนมาก ภายใตร้ ูเหล่านน้ั จะมีการเช่อื มต่อถงึ กัน
อยา่ งมรี ปู แบบ เม่ือนำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสม์ าเสียบ จะทำใหพ้ ลังงานไฟฟ้าสามารถไหลจากอุปกรณ์
หนง่ึ ไปยังอปุ กรณ์หนง่ึ ได้ ผ่านรูทีม่ กี ารเช่อื มต่อกันดา้ นลา่ ง พื้นทีก่ ารเช่ือมต่อกนั ของโพรโทบอร์ด
2.3.4 Power Supply Step Down
วงจรลดแรงดนั แบบ Step - Down หรือเรียกอกี แบบวา่ Buck Converter (บัคคอนเวอร์
เตอร์) ใช้ลดแรงดนั จากแรงดันสูงใหต้ ่ำลง ใช้หลักการสวิตชงิ – ตวั เหน่ยี วนำ (L) จงึ ทำใหม้ ีความร้อน
และความสญู เสยี กำลังไฟนอ้ ย ไม่เหมือนกบั การลดแรงดนั โดยใช้ IC ตระกูล 78xx / 317 ท่ัวไปท่ีใช้
หลกั การลดทอนทำให้เกดิ ความร้อนสูง วงจรบคั คอนเวอรเ์ ตอรเ์ ม่ือลดแรงดนั ลงแล้วจะได้กระแส
Output เพม่ิ ข้นึ
7
2.4 งานวิจยั ทเี่ กี่ยวขอ้ ง
สำหรับงานวิจยั ทีใ่ ชใ้ นงานวิจัยน้ไี ด้ศึกษาจากแหล่งข้อมูลท่ีนา่ เชื่อถือได้ ดงั น้ี
2.4.1 งานวจิ ัยในประเทศ
ณัฐพล แสงจักร และคณะ (2557) ไดท้ ำการศึกษาเคร่ืองดักจับยุง มจี ดุ มุ่งหมายเพื่อสรา้ ง
เครื่องดักจับยุง เพ่ือลดปญหาโรคตดิ ตอท่เี กิดจากยงุ เป็นพาหะนาํ โรค เพื่อลดการใชสารเคมีในการ
กําจดั ยงุ และเพื่อปองกันอันตรายตอสขุ ภาพในการกาํ จัดยุง ดำเนนิ การโดยการใชทฤษฎีหลอดหลอด
ฟลูออเรสเซนต (Black Light: BL) ท่มี คี ุณสมบตั ิดึงดูดและลอ แมลงใหเกิดความสนใจใหมาเขาใกล
หลอด และจะถกู ดูดดว้ ยพดั ลมดูดอากาศ โดยการใชทฤษฎีของมอเตอร์พัดลมดูดอากาศ เมือ่ มอเตอร์
พัดลมเกิดการหมุนกจ็ ะใหเกิดแรงดูดทำใหยุงหรือแมลงต่าง ๆ ถกู ดูดลงไปในตะแกรงกจ็ ะทำให
ถกู ชอ็ ต โดยการใชทฤษฎีวงจร Step Up สร้างความถ่ีเพ่อื เปลี่ยนกระแสตรงจากถ่านไฟฉายใหเป็น
ไฟสลับ จากน้นั ก็ Step Up แรงดนั ไฟฟาใหสงู ขน้ึ จากเดมิ มาก ๆ เมือ่ ยุงบนิ ผ่านในระยะใกลกระแส
ไฟฟาที่มีแรงดันสงู ก็จะ Spark แบบหัวเทยี น หรือถายงุ แตะครบวงจรก็โดนช็อตและตกลงไปในชอง
จดั เก็บยุง เคร่ืองมือและอุปกรณ์ท่ีใชในการจัดทำโครงการประกอบด้วย เคร่อื งมือช่างไฟฟาต่าง ๆ
ไมต้ ยี ุง พัดลมดดู อากาศและแผน่ อะคริลิค จากผลการทดลองพบวาจากการที่ได้ทำแบบสอบถาม
จำนวน 100 ชดุ ในการประเมินผลงานสำหรบั โครงการคร้ังน้ี มีอาชีพนักศึกษา 50 คน เพศชาย 30
คน เพศหญิง 20 คน อาชีพขาราชการ 10 คน เพศชาย 5 คน เพศหญิง 5 คน อาชีพคาขาย 34 คน
เพศชาย 13 คน เพศหญิง 21 คน อาชพี อนื่ 6 คน เพศชาย 4 คน เพศหญิง 2 คนและได้คาเฉลยี่
เทา่ กบั 18.65 เม่ือนําไปเทยี บเกณฑการประเมินโดยใชคาเฉลยี่ สรปุ ได้ว่า คุณภาพของชนิ้ งานอยูใน
ระดับคุณภาพดี
รุ่งโรจน์ พ่มุ ร้วิ และคณะ (2560) ได้ทำการศกึ ษานม้ี วี ัตถปุ ระสงคเพ่อื ศึกษาสภาพทัว่ ไป
และสภาพปญหาสาธารณสุขของชมุ ชนปุรณาวาส และศกึ ษาความสามารถของกบั ดักยุงแบบประดิษฐ์
ในการดกั จับยุงลายในชมุ ชนปุรณาวาส เขตทววี ัฒนา กรงุ เทพมหานคร ในการศึกษาทำการสำรวจ
สภาพชุมชนโดยการสนทนากับผู้นำชมุ ชนรว่ มกบั การสํารวจสภาพชุมชน และการดักจบั ยงุ ลายโดย
อาสาสมคั รชุมชน จากการใชกับดกั ยงุ แบบประดิษฐ์นาํ ไปวางในบริเวณบ้านทั้งภายในและภายนอก
บ้านทั้ง 3 ชมุ ชน จากน้ันอาสาสมัครทำการตรวจนบั จำนวนและบันทึกชนิดของยงุ ท่ีดักจับได้ทุก 7 วัน
เป็นระยะเวลา 30 วัน ผลการศึกษาพบวาชมุ ชนมปี ญหาท่ีสำคญั ได้แก ปญหาสะสมของขยะมลู ฝอย
ปญหาการกาํ จัดยงุ ลาย และปญหายาเสพติด ผลการดักจบั ยุงโดยอาสาสมัครพบวากับดักยงุ ลาย
สามารถดักจบั ยุงได้ทัง้ ยุงลาย (Aedes) และยงุ รําคาญ (Culex Mosquito) ความสามารถของกับดัก
พบวา ดกั จับยุงได้เฉล่ีย 0.16 ตัว/กับดกั /วัน และดักจบั ยงุ ในบ้านได้ 4.40±0.04 ตวั /กับดกั และดัก
8
จับยุงนอกบา้ นได้ 5.43±0.02 ตวั /กบั ดัก หรอื ในภาพรวมสามารถดักจับยุ่งได้ 4.91±0.03 ตัว/กับดกั
นอกจากนี้พบวาการดักจับยุงนอกบ้านสามารถดักจับยุงได้มากกวาการดักจับยุงในบ้าน
สนุ ันทา ชูตธิ วัช และคณะ (2563) ได้ทำการศึกษาเคร่ืองดักยุงแบบพอเพียง โดยการนำ
ทอ่ PVC มาตดั เปน็ ท่อนและประกอบเปน็ โครงสรา้ ง นำพัดลมดดู อากาศมาติดในส่วนของชนั้ ท่ี 2 ของ
โครงสรา้ ง นำหลอดไฟมาติดดา้ นบนสดุ ของโครงสรา้ งและพันหลอดไฟดว้ ยกระดาษแก้ว และนำผา้ มงุ้
มาเย็บตามขนาดของโครงสรา้ งท่ีทำไว้ นำมาติดในส่วนของช้ันที่ 2 ทำการต่อไฟและพัดลมดดู อากาศ
เขา้ กบั มอเตอร์ จงึ ได้เครอ่ื งดักยงุ แบบพอเพียง ใชห้ ลักพลงั งานความร้อนจากหลอดไฟฟ้ามาเป็นตวั ลอ่
ยุงเปรยี บเสมือนอณุ หภมู ิของร่างกายมนุษย์ เมอื่ ยุงได้สัมผัสกบั พลงั งานความรอ้ นทแ่ี ผ่กระจายจาก
หลอดไฟ ทำใหย้ ุงบนิ เขา้ มา เพราะคิดว่าเป็นสิ่งมีชีวิตทเี่ ปน็ อาหาร และด้วยหลกั การของมวลรา่ งกาย
ของยงุ มนี ้อย จึงทำใหถ้ ูกดดู ด้วยพัดลมดูดอากาศลงไปในถงุ ดักยุงได้ง่าย ในช่ัวโมงแรกดักจบั ยงุ ได้ 3
ตัว ในชว่ั โมงทีส่ องดักจับยงุ ได้ 17 ตวั และในชวั่ โมงท่สี ามดักจับยุงได้ 32 ตวั โดยเปลี่ยนสถานท่ี
ทดสอบ ประสทิ ธิภาพในแต่ละชว่ั โมง สรปุ ได้ว่า ในแตล่ ะชั่วโมงที่จำนวนยงุ ท่ีแตกต่างกันน้ันมีสาเหตุ
มาจากสถานที่ที่แตกต่างกนั
พีรพงษ์ แซต่ ้ัง และคณะ (2565) ได้ทำการศกึ ษาเคร่ืองดักจบั ยงุ ประดษิ ฐข์ ้ึนมา เพื่อใชด้ ัก
จับยุงทีเ่ ป็นพาหะของโรค โรคท่มี ียุงเปน็ พาหะและเป็นอันตราถึงแก่ชวี ิตได้ทีส่ ามารถกำจัดยุงได้
ปรมิ าณมากกว่าอุปกรณ์ทวี่ างขายตามท้องตลาดทเี่ รยี กวา่ ไม้ตยี งุ และไม่เปน็ อัตราเหมือนกบั การใช้
ยาจดุ และยาฉดี กนั ยงุ ซ่ึงการประดษิ ฐอ์ ุปกรณ์ท่เี รียกวา่ เคร่ืองดกั จบั ยุงทป่ี ระดิษฐ์ข้นึ มาเกดิ จากการ
ดัดแปลงมาจากไม้ตยี ุงที่มขี ายตามท้องตลาด โดยนำหลอดแบล็คไลท์ (Black light) ทีม่ ีคุณสมบัตเิ ป็น
แหล่งกำเนิดแสง ซ่ึงให้แสงสีม่วงสำหรบั ลอ่ ยงุ และได้มีการศึกษา ดงั น้ี 1. ศึกษาการทำงานของไมต้ ียุง
ทม่ี ขี ายในปัจจบุ ัน 2. ศกึ ษาเปรยี บเทียบประสทิ ธิภาพของเคร่อื งดักจบั ยุงกับไม้ตยี งุ ในปัจจบุ นั
ลลติ า รตั นเดชากลุ และคณะ (2565) ได้ทำการศึกษาโดยมีวตั ถุประสงค์ เพ่อื สรา้ งและ
พฒั นาเคร่ืองดกั ยุง และนำความรทู้ ่ไี ด้จากการหาข้อมลู เข้าค่ายส่งิ ประดิษฐ์สมองกลฝังตัวมาใช้
อำนวยความสะดวกภายในบ้านเรือน ผวู้ จิ ัยไดศ้ กึ ษาเกย่ี วกับเครอื่ งมอื และการออกแบบเองคือ
ยงุ ลาย โดยพบว่าในปจั จุบนั เมอื่ ถึงฤดฝู นกจ็ ะมีผคู้ นมามายทกุ ภาคเปน็ ไขเ้ ลือดออก โดยมีสาเหตุมา
จากยุงกลุ่มผวู้ จิ ัยจึงคิดการแก้ปญั หาเกยี่ วกบั การลดปริมาณยงุ เพื่อลดการระบาดของไข้เลอื ดออก
คณะผู้จดั ทำจงึ มีแนวคิดในการสรา้ งเครื่องดักยงุ ที่ควบคุมการเปดิ ปดิ เวลาด้วยสมองกล คือ Kid
Bright ดว้ ยการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ควบคุม Arduino Relay เพ่อื ควบคุมการตัดไฟดว้ ย
ตนเอง ในการเปดิ ปดิ เคร่อื ง
บทที่ 3
วธิ กี ารดำเนินงาน
ในการทำเครื่องดกั จับยงุ MOST (QUITO) จากวสั ดุเหลอื ใชเ้ พ่อื ใหต้ รงกบั วัตถุประสงค์ท่ี
กำหนด คณะผ้จู ัดทำไดด้ ำเนินการ 6 ขั้นตอน ดงั นี้
3.1 การศกึ ษารวบรวมข้อมูล
3.2 ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน
3.3 การออกแบบโครงสรา้ งเครื่องดกั จบั ยุง MOST (QUITO)
3.4 วสั ดุอุปกรณใ์ นการสรา้ งเครอื่ งดักจับยงุ MOST (QUITO)
3.5 ขนั้ ตอนการสร้างเคร่ืองดักจับยุง MOST (QUITO)
3.6 วิธกี ารทดลอง
3.1 การศึกษารวบรวมขอ้ มลู
ศึกษารายละเอียดโครงงาน จัดหาข้อมลู และเรียบเรียงสว่ นประกอบตา่ ง ๆ รวมถึงหลกั การ
ทำงานของเคร่ืองดักจับยุง MOST (QUITO) การศึกษาข้อมลู คณุ สมบัติของวสั ดุอุปกรณท์ ่นี ำมาใช้
จากแหล่งข้อมลู ต่าง ๆ และจัดหาตามท้องตลาด วสั ดเุ หลือใช้ จนได้ข้อมูลท่ขี องวสั ดุอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ท่ี
จะนำมาใช้ในการประดิษฐ์เครื่องดักจบั ยุง MOST (QUITO)
3.2 ขั้นตอนการดำเนนิ การ
3.2.1 ข้ันตอนการดำเนินงาน
3.2.1.1 คิดหัวขอ้ โครงงานเพ่ือนำเสนอครูทีป่ รึกษาโครงงาน
3.2.1.2 ศกึ ษาและค้นควา้ หาข้อมลู ที่เกย่ี วข้องกบั เครื่องดกั จับยงุ MOST (QUITO) จาก
แหล่งข้อมลู ตา่ ง ๆ และเก็บข้อมูลไว้เพอื่ ทำรูปเล่มโครงงานต่อไป
3.2.1.3 จัดทำเคา้ โครงโครงงานนำเสนครูท่ีปรกึ ษาโครงงาน
3.2.1.4 ออกแบบโครงสรา้ งเคร่อื งดักจบั ยงุ MOST (QUITO) และจดั หาวสั ดอุ ปุ กรณ์
3.2.1.5 รายงานความกา้ วหน้าของโครงงานเป็นระยะ ๆ ให้ครทู ป่ี รกึ ษาโครงงานทราบ
ซง่ึ ครทู ป่ี รึกษาโครงงานจะให้ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ในการจดั ทำรูปเล่มโครงงาน
3.2.1.6 สรา้ งเคร่อื งดักยุง MOST (QUITO) และทดสอบประสิทธภิ าพในการใชง้ านของ
เคร่อื งดักจับยงุ MOST (QUITO)
10
3.2.1.7 จดั ทำเอกสารรูปเล่มโครงงาน
3.2.1.8 นำเสนอโครงงานเคร่ืองดกั จบั ยุง MOST (QUITO)
3.3 การออกแบบโครงสร้างเครอ่ื งดักจบั ยุง MOST (QUITO)
3.3.1 การออกแบบโครงสรา้ งเครื่องดักจบั ยงุ MOST (QUITO)
3.3.1.1 กาํ หนดลักษณะของเครอ่ื งดักจับยุง MOST (QUITO)
3.3.1.2 ออกแบบเคร่อื งดักจับยงุ MOST (QUITO)
3.3.1.3 นําเสนอครูท่ีปรกึ ษาโครงงานพิจารณา
3.3.1.4 รูปแบบเครอ่ื งดักจบั ยุง MOST (QUITO)
ท่มี ีลกั ษณะเหมาะสมกับการใชง้ าน
ภาพ 3.1 ขนั้ ตอนการออกแบบโครงสร้างเครอ่ื งดกั จับยงุ MOST (QUITO)
3.3.1.1 กำหนดลักษณะของเครื่องดักจับยงุ MOST (QUITO) คณะผูจ้ ัดทำได้มีการ
กำหนดรปู แบบโครงสร้างของเครอื่ งดักจับยุง MOST (QUITO) ดังนี้
1) คุณลักษณะที่เหมาะสมกบั การใช้งานของเคร่ืองดักจับยงุ MOST (QUITO)
1.1) ด้านลกั ษณะของเครอื่ ง
1.1.1) มรี ูปลกั ษณ์สวยงาม
1.1.2) มขี นาดรูปทรงท่เี หมาะสมกับการใช้งาน
1.1.3) โครงสร้างกะทัดรดั
1.2) ดา้ นวัสดอุ ุปกรณ์ในการทำเคร่อื งดกั ยุง MOST (QUITO)
1.2.1) วสั ดุอปุ กรณ์มีราคาไม่สูงเกิน
1.2.2) วัสดอุ ปุ กรณ์มคี วามทนทาน
1.3) ด้านลกั ษณะการใช้งาน
1.3.1) ใชง้ ่านง่าย ไม่ยุ่งยาก
1.4) ด้านงบประมาณในการสร้างเคร่อื ง
1.4.1) ใชง้ บประมาณในการสรา้ งไมส่ ูงเกนิ
11
3.3.1.2 ออกแบบเครื่องดักจับยงุ MOST (QUITO) คณะผู้จัดทำได้มกี ารออกแบบผา่ น
โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ จนได้รปู แบบของเคร่ืองดกั ยุง MOST (QUITO)
ภาพ 3.2 โครงสร้างเครื่องดักจบั ยงุ MOST (QUITO) ดา้ นซ้ายและดา้ นขวา
ภาพ 3.3 โครงสรา้ งเคร่ืองดักจับยงุ MOST (QUITO) ด้านบนและด้านลา่ ง
3.3.1.3 นำเสนอครทู ี่ปรกึ ษาโครงงาน คณะผูจ้ ัดทำได้นำเสนอรปู แบบโครงสรา้ งเครือ่ งดัก
จับยงุ MOST (QUITO) ให้ครูทป่ี รึกษา เพอ่ื ทจี่ ะรับคำแนะนำ แล้วนำไปปรับปรงุ แก้ไข
12
1) นำรปู แบบของเครอื่ งดักจับยงุ MOST (QUITO) เสนอครทู ปี่ รกึ ษา เพื่อ
พิจารณาให้คำแนะนำ แล้วนำไปปรับปรงุ แกไ้ ข
2) ไดร้ ูปแบบโครงสรา้ งเคร่ืองดกั จบั ยงุ MOST (QUITO) ที่เหมาะสมสำหรับการ
ใชง้ านทผี่ ่านการตรวจสอบแก้ไขจากครทู ่ปี รึกษาโครงงาน
3.3.1.4 รปู แบบเคร่อื งดักจับยุงที่มลี ักษณะเหมาะสมกบั การใช้งาน คณะผจู้ ัดทำได้
คุณลักษณะทีเ่ หมาะสมกบั การใชง้ านในด้านต่าง ๆ ของเครื่องดักจับยุง MOST (QUITO) ดงั น้ี
1.1) ด้านลกั ษณะของเครอื่ ง
1.1.1) มลี กั ษณ์ทส่ี วยงาม
1.1.2) มขี นาดรปู ทรงทเี่ หมาะสมกับการใช้งาน
1.1.3) โครงสร้างกะทดั รัด
1.2) ดา้ นวสั ดุอุปกรณ์ในการทำเครอ่ื งดักจบั ยงุ
1.2.1) วัสดอุ ุปกรณ์มรี าคาไม่สงู เกิน
1.2.2) วสั ดอุ ุปกรณ์มีความทนทาน
1.3) ดา้ นลกั ษณะการใชง้ าน
1.3.1) ใช้ง่านงา่ ย ไม่ยุ่งยาก
1.4) ด้านงบประมาณในการสร้างเคร่อื ง
1.4.1) ใชง้ บประมาณในการสรา้ งไม่สูงเกนิ
3.4 วัสดุอปุ กรณ์ในการสรา้ งเครื่องดกั จบั ยงุ MOST (QUITO)
ตาราง 3.1 รายการวัสดอุ ุปกรณ์ทใ่ี ช้สร้างเครื่องดักจบั ยุง MOST (QUITO)
ลำดับ วัสดุอุปกรณ์ จำนวน ราคาโดยประมาณ
(ชนิ้ ) (บาท)
1 กระปุก 1 48
2 กล่องพลาสติก 1 57
3 สตัดเกลยี ว 3 หุน* 3 81
4 นอ็ ตตวั เมีย 3 หนุ * 18 17
5 แหวน 3 หุน* 99
6 พัดลม 220 โวลต์ 3,000 รอบตอ่ วนิ าที 1 159
7 สายจัมป์เปอร์ 8 29
8 หลอดไฟ Black Light 1 86
13
ลำดับ วัสดอุ ุปกรณ์ จำนวน ราคาโดยประมาณ
(ช้ิน) (บาท)
9 Breadboard 2 83
10 Board Aduino Node MCU 8266 ESP-12E 1 120
11 แผ่น PVC 3 300
12 AC Relay Module 1 50
13 Power Supply Step Down 1 220
14 ตาขา่ ยไนลอน (50 ซม.) 1 50
รวม 1,309 บาท
3.5 ขั้นตอนการสร้างเครื่องดกั จบั ยุง MOST (QUITO)
3.5.1 ตดั น็อตเกลียวใหม้ ีขนาด 50 เซนตเิ มตร จำนวน 3 แทง่
3.5.2 นำแผน่ PVC มาตัดให้มเี ส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 22 เซนติเมตร จำนวน 3 แผน่ แลว้ นำ
แผ่น PVC สองแผ่นมาเจาะตรงกลางแผน่ PVC ให้มีเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางขนาด 12 เซนติเมตร เพอื่ นำ
พดั ลมมาติดตัง้
3.5.3 เจาะรหู า่ งจากขอบของแผ่น PVC 2 เซนตเิ มตร เพ่อื จะนำนอ็ ตเกลยี วมาตดิ ตั้ง
3.5.4 นำนอ็ ตตัวเมยี มาประกบตดิ ข้างบนและขา้ งล่างของแผ่น PVC ที่เจาะไว้เพื่อนำนอ็ ตเกลยี ว
มาติดต้ัง
3.5.5 นำกล่องพลาสติกมาตดิ ไว้ดา้ นบนสุด เพื่อนำแผงวงจรมาติดตั้ง
3.5.6 นำกระปุกใสมาเจาะรู เพอื่ ตดิ ตาขา่ ยไนล่อน แลว้ นำไปตดิ ตงั้ ไวด้ ้านล่างสุด
3.6 วิธกี ารทดลอง
3.6.1 การทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องดักจบั ยุง MOST (QUITO) วา่ มปี ระสทิ ธิภาพในการ
ดกั จับยุงมากนอ้ ยเพียงใด โดยการทดสอบ เพื่อหาประสิทธิภาพในการดักจับยุง มขี ้นั ตอนดงั น้ี
3.6.1.1 ใชเ้ คร่อื งดกั ยุง ทดสอบประสิทธิภาพในการดักจับยุง โดยทำการทดลองจบั เวลาที่
ใช้ในการดกั จับยุงเปน็ เวลา 30, 60, 90, 120, 150 และ 180 นาที เป็นระยะเวลา 3 วัน และใชเ้ ครอื่ ง
ดกั จบั ยุง MOST (QUITO) ในสถานที่ที่แตกต่างกนั
3.6.1.2 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพของเคร่ืองดักจับยงุ MOST (QUITO) ว่ามี
ประสทิ ธิภาพในการดักจับยงุ มากน้อยเพยี งใด และนำข้อมูลที่ไดม้ าหาค่าเฉล่ยี ของจำนวนยงุ
บทที่ 4
ผลการศึกษา
ในการทำโครงงานครง้ั น้ี คณะผู้จัดทำได้วเิ คราะห์ข้อมลู ตามวตั ถุประสงค์ของโครงงาน
โดยจำแนกผลการวิเคราะห์ข้อมลู ดังนี้
4.1 การทดสอบประสิทธิภาพในการดกั จังยุงของเครื่องดักจับยงุ MOST (QUITO)
4.1 การทดสอบประสิทธภิ าพในการดกั จบั ยงุ ของเคร่ืองดกั จับยงุ MOST (QUITO)
การทดสอบประสทิ ธิภาพในการดกั จับยงุ ของเคร่ืองดักจบั ยุง MOST (QUITO) วา่ มปี ระสิทธภิ าพ
ในการดักจับยุงมากน้อยเพยี งใด โดยใช้ระยะเวลาจำนวน 3 ชั่วโมง (18.00 – 21.00 น.) โดยแบ่ง
ชว่ งเวลาในการศึกษาเป็นนาทีที่ 30, 60, 90, 120, 150 และ 180 เปน็ เวลา 3 วนั เพอ่ื หา
ประสิทธภิ าพในการดกั จบั ยุง
ตอนที่ 1 การทดสอบประสิทธภิ าพในการดักจบั ยุงภายในบา้ น
ตารางท่ี 4.1 ประสิทธภิ าพในการดักจับยงุ ภายในบ้าน
เวลาทศ่ี กึ ษา จำนวนยุง (ตัว) คา่ เฉลย่ี
(นาทีท)่ี วันท่ี 1 วันท่ี 2 วันท่ี 3 0.00
0.67
30 - - - 1.67
0.67
60 2 - - 0.67
0.67
90 1 - 4 4.35
120 - - 2
150 1 - 1
180 2 - -
รวม 6 0 7
จากการทดลองตอนที่ 1 ประสิทธิภาพในการดักจับยงุ ภายในบา้ น โดยใช้ระยะเวลาจำนวน 3
ชัว่ โมง (18.00 – 21.00 น.) โดยแบ่งชว่ งเวลาในการศึกษาเปน็ นาทีท่ี 30, 60, 90, 120, 150 และ
180 เป็นเวลา 3 วนั พบวา่ เครื่องดักจบั ยงุ MOST (QUITO) สามารถดกั จับยุงได้มากที่สุดนาทที ่ี 90
โดยจำนวนยงุ เฉลีย่ 1.67 ตวั และสามารถดกั จับยุงได้น้อยทสี่ ดุ นาทที ี่ 30 โดยจำนวนยุงเฉลย่ี 0.00
15
ตวั โดยวันที่ 1 วันที่ 2 และวนั ท่ี 3 มจี ำนวนยุง 6, 0 และ 7 ตัว ตามลำดับ ซึง่ ประสิทธิภาพในการดัก
จบั ยงุ ภายในบ้านทัง้ สามวันมีจำนวนยงุ ทัง้ หมด 13 ตัว
ตอนที่ 2 การทดสอบประสิทธภิ าพในการดักจบั ยุงภายนอกบา้ น
ตารางท่ี 4.2 ประสทิ ธิภาพในการดักจับยงุ ภายนอกบ้าน
เวลาทศี่ กึ ษา จำนวนยงุ (ตัว) คา่ เฉลีย่
(นาทีท)่ี วนั ท่ี 1 วนั ท่ี 2 วนั ท่ี 3 5.00
1.67
30 1 2 12 2.33
1.00
60 2 3 - 1.33
2.67
90 2 2 3 14
120 1 1 1
150 - 1 3
180 2 3 3
รวม 8 12 22
จากการทดลองตอนท่ี 2 ประสทิ ธิภาพในการดักจบั ยุงภายนอกบ้าน โดยใช้ระยะเวลาจำนวน
3 ช่วั โมง (18.00 – 21.00 น.) โดยแบ่งช่วงเวลาในการศึกษาเป็นนาทที ่ี 30, 60, 90, 120, 150 และ
180 เป็นเวลา 3 วนั พบว่า เครอื่ งดักจับยุง MOST (QUITO) สามารถดกั ยุงได้มากทส่ี ดุ นาทที ่ี 30
นาที โดยจำนวนยุงเฉลยี่ 5.00 ตวั และสามารถดักจับยงุ ได้น้อยทส่ี ดุ นาทีท่ี 120 โดยจำนวนยุงเฉล่ีย
1.00 ตวั โดยวนั ท่ี 1 วันท่ี 2 และวันท่ี 3 มีจำนวนยงุ 8, 12 และ 22 ตัว ตามลำดับ ซงึ่ ประสิทธิภาพ
ในการดักจบั ยุงภายนอกบ้านทง้ั สามวันมจี ำนวนยงุ ทง้ั หมด 42 ตัว
บทที่ 5
สรปุ ผล และอภิปรายผลการศึกษา
การทำโครงงานเรือ่ ง เคร่อื งดักจับยงุ MOST (QUITO) สามารถสรปุ ผลและอภปิ ราย
ผลการศึกษา ไดด้ งั น้ี
5.1 สรุปผลการศึกษา
5.2 อภปิ รายผล
5.3 ปญั หาและอุปสรรค
5.4 ขอ้ เสนอแนะ
5.1 สรุปผลการศกึ ษา
จากการทำโครงงานเรื่อง เครื่องดกั จบั ยุง MOST (QUITO) สรปุ ผลการศึกษาได้ดงั น้ี
5.1.1 ไดส้ รา้ งและพัฒนาเคร่ืองดักจับยุง MOST (QUITO) โดยเป็นการเพ่ิมการสง่ั การเปดิ ปิด
ผ่านแอพลิเคชัน ซึง่ สอดคลอ้ งกับสมมติฐานวา่ เครื่องดักยุงสามารถดกั ยุงได้
5.1.2 การทดสอบประสทิ ธิภาพในการดกั จบั ยงุ ของเคร่ืองดักจับยงุ MOST (QUITO) โดยการ
ทดสอบประสิทธิภาพในการดักจบั ยุงภายในบ้าน พบว่าสามารถดกั จับยุงได้มากที่สุดนาทีที่ 90 โดย
จำนวนยงุ เฉลี่ย 2.67 ตวั และวันท่ี 3 มีจำนวนมากที่สดุ 7 ตวั โดยเฉล่ีย 3 วนั สามารถจบั ยุงในบ้าน
ได้ 4.35 ตัว และการทดสอบประสิทธิภาพในการดกั จบั ยงุ ภายนอกบา้ น พบวา่ สามารถดักจบั ยงุ
ไดม้ ากทส่ี ดุ ในนาทที ี่ 30 โดยจำนวนยงุ เฉลยี่ 5.00 ตวั และวนั ท่ี 3 มจี ำนวนมากทสี่ ุด 22 ตวั โดยเฉล่ีย
3 วนั สามารถจับยุงในบา้ นได้ 14.00 ตวั และในแต่ละช่วั โมงท่จี ำนวนยงุ ทแ่ี ตกตา่ งกันน้นั มสี าเหตุมา
จากสถานท่ีท่แี ตกต่างกนั
5.1.3 ช่วยลดปญหาโรคติดตอท่เี กิดจากยุงเปน็ พาหะนาํ โรคได้ เชน่ โรคเทา้ ช้าง โรคไข้เลอื ดออก
โรคมาลาเรีย
5.1.4 ช่วยลดการใชสารเคมใี นการกาํ จัดยุง ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบตอ่ สุขภาพ ทัง้ ผลกระทบ
ฉับพลันหรือเรื้อรัง รวมถึงสารทกี่ ่อให้เกิดมะเรง็ (Carcinogen)
5.1.5 การทำโครงงานเครอ่ื งดักจบั ยุง MOST (QUITO) สามารถชว่ ยลดคา่ ใชจ้ า่ ย และยังเปน็
การนำวัสดุเหลือใช้มาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์และเพ่ิมมูลค่าให้กับวัสดุเหลา่ นั้น นอกจากนีย้ งั เปน็ การลด
ปรมิ าณขยะและช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ช่วยลดปัญหาภาวะโลกร้อนและปญั หาปริมาณขยะล้นเมอื งได้
อีกดว้ ย
17
5.2 อภปิ รายผล
จากการศึกษาเคร่อื งดกั จบั ยุง MOST (QUITO) โดยผลการทดสอบประสทิ ธภิ าพในการดักจับยุง
สามารถดักจบั ยุงภายในบา้ นได้มากท่สี ดุ นาทที ่ี 90 โดยจำนวนยงุ เฉลี่ย 1.67 ตวั และสามารถดักจับยุง
ภายนอกบา้ นได้มากท่สี ดุ นาทีที่ 30 โดยจำนวนยุงเฉล่ยี 5.00 ตวั ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั สมมติฐานทตี่ ั้งไว้
เคร่อื งดักจบั ยุง MOST (QUITO) สามารถดักจบั ยุงได้ อาจเปน็ เพราะว่าหลอดไฟนีออน Black Light
สมี ว่ ง สามารถลอ่ ยุงได้มากท่ีสดุ ซึ่งจากการศกึ ษาของอลงกรณ์ วรี ะพนั ธ์ (2552) การศึกษาการดกั จับ
แมลงทเ่ี ปน็ อาหารด้วยกับดักแสงไฟท่ีมีแสงสีตา่ งกนั ในหมู่บา้ นหว้ ยโกน๋ อำเภอเฉลิมพระเกยี รติ
จงั หวดั น่าน พบว่าแสงในชว่ งคลน่ื แสงสีม่วงสามารถดึงดูดแมลงได้ดีกว่าชว่ งแสงสอี ื่น และยงั
สอดคล้องกบั การศึกษาของ Dethier (1963) พบวา่ ตาของแมลงจะตอบสนองต่อชว่ งแสงทคี่ วามยาว
คล่ืนระหวา่ ง 253 - 700 นาโนเมตร สอดคล้องกับผลการศึกษาของสนุ นั ทา ชตู ิธวชั และคณะ (2563)
เคร่อื งดักยุงแบบพอเพยี ง ในชัว่ โมงแรกดกั จับยุงได้ 3 ตัว ในชวั่ โมงท่สี องดักจบั ยุงได้ 17 ตวั และใน
ชั่วโมงที่สามดักจับยุงได้ 32 ตัว โดยเปลยี่ นสถานทท่ี ดสอบประสิทธิภาพในแตล่ ะชว่ั โมง สรุปไดว้ า่ ใน
แตล่ ะชว่ั โมงทีจ่ ำนวนยุงท่แี ตกตา่ งกนั น้นั มสี าเหตุมาจากสถานทท่ี ่ีแตกต่างกนั ซึง่ สอดคล้องกบั การ
ทดลองในครงั้ น้ีพบว่าประสิทธิภาพในการดักจับยงุ แตล่ ะเวลาท่ีกำหนดมีจำนวนยุงที่แตกต่างกันข้นึ อยู่
กับผลของช่วงแสงในแตล่ ะวนั อุณหภูมิ ความชน้ื และสภาพแวดล้อม
5.3 ปัญหาและอปุ สรรค
5.3.1 การตัดและเจาะแผ่น PVC มคี วามอันตราย และต้องใช้เครื่องมือเฉพาะทาง
5.3.2 ข้ันตอนในการต่อวงจรไฟฟ้ามคี วามอนั ตราย
5.4 ข้อเสนอแนะ
5.4.1 การตัดและเจาะแผ่น PVC ตอ้ งมีความระมดั ระวังเป็นพิเศษ เน่ืองจากตอ้ งใช้เคร่ืองมอื
เฉพาะทาง
5.4.2 ขั้นตอนในการต่อวงจรไฟฟ้าควรทำดว้ ยความระมดั ระวงั หรอื ปรกึ ษาผเู้ ช่ยี วชาญทางดา้ น
ไฟฟ้า
18
บรรณานกุ รม
กรมควบคุมโรค. (2565). ไขแ้ ดงก.ี่ สืบค้นเม่ือวนั ท่ี 15 พฤศจิกายน 2565. จากเว็บไซต์
https://ddc.moph.go.th/disease_detail.php?d=44&fbclid=IwAR1_EnHSeCey-
ZTzGzf3lvmGZ-c5lvcNotDbPvrCi7Hm0zkWR8MZrXuN_KE
คงสวัสด์ิ กรุ๊ป. (2565). มุ้งไนล่อน : Nylon Net. สบื ค้นเมอื่ วันท่ี 26 พฤศจิกายน 2565. จากเว็บไซต์
http://kongsawat.com/products/nylonnet/?fbclid=IwAR2Vfophrm7yxIiraG1H79
U_EEz3-fZL5rwvyfXAw4TRgYeIX3gwip8Xgp8
ณัฐพล แสงจักร และคณะ. (2557). เครอ่ื งดักจับยงุ . สืบคน้ ข้อมลู วันท่ี 26 พฤศจิกายน 2565.
จากเวบ็ ไซต์ http://www.sbt.ac.th/new/sites/default/files/34.%20เครื่องดักจับยุง.
pdf?fbclid=IwAR3X-eMeERrQ-r8E4TvtD4JJEKKN2MkEIIJjfGp8RYqlxlaiAEEPntQtxo
บรษิ ทั พิพัฒนกิจเทรดดิง้ จาํ กัด. (ม.ป.ป.). แผ่น PVC. สืบค้นเมือ่ วนั ที่ 26 พฤศจิกายน 2565. จาก
เว็บไซต์ https://pipat.co.th/pvcsheet/?fbclid=IwAR2aod1esKh2Zen3lgqcsl2
kUP8DrA9LP0VMty3Fp1pmRaF6jmCcws_ZkDk
บริษัท ทรัพยว์ รา เทคโนโลยี. (ม.ป.ป.). หนา้ ทีข่ องพดั ลมระบายความร้อน. สืบค้นเม่ือวันท่ี
26 พฤศจกิ ายน 2565. จากเว็บไซต์ https://www.subwara.com/Blog/detail/5?fbclid
=IwAR0N1f0pnSdAbdiYWdjnP83hHp55b2d3WYJtcoE1wZPhNiCwC7NhyHC9t-0
พีรพงษ์ แซต่ ัง้ และคณะ. (2565). โครงงานเคร่อื งดักยุงแบบพอเพียง. สบื คน้ ข้อมลู จากวันท่ี
10 ธนั วาคม 2565. จากเว็บไซต์ https://th.apacode.com/post/project-of-a-self-
sufficient-mosquito-trap
รุง่ โรจน์ พ่มุ รว้ิ และคณะ. (2560). การเฝา้ ระวังยุงลายพาหะนาํ ไข้เลือดออกด้วยกบั ดักยุงแบบ
ประดิษฐ์โดยอาสาสมคั รชมุ ชน. สบื ค้นวนั ที่ 26 พฤศจกิ ายน 2565. จากเว็บไซต์
https://bkkthon.ac.th/home/user_files/department/department-24/files/28.
การเฝ้าระวังยุงลายพาหะนำไข้เลือดออกด้วยกับดักยุงแบบประประดิษฐโ์ ดยอาสาสมัคร
ชุมชน20(1).pdf?fbclid=IwAR1BJ1TFloSPrhWDQTKUQmNrr1e3ntSQF5m2tynp5IL-
c90NyG85h8Ykevc
19
บรรณานกุ รม (ต่อ)
ลลติ า รัตนเดชากุล และคณะ. (ม.ป.ป.). โครงงานประดิษฐ์สมองกลฝังตัว เรื่อง เครือ่ งดักยงุ . สบื ค้น
เมอ่ื วนั ที่ 26 พฤศจิกายน 2565. จากเวบ็ ไซต์ https://www.princess-it-foundation.org
/project/wpcontent/uploads/2020/08/196%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8
%971.pdf?fbclid=IwAR0ZafaICBXYs8_Glj7xZ0QRBUBUCmP4novqIlRUppoFTQaq
MBr17yBmhi8
สุนันทา ชูติธวัช และคณะ. (2563). เครอื่ งดกั ยุงแบบพอเพียง. สบื ค้นจากวนั ท่ี 26 พฤศจิกายน
2565. จากเวบ็ ไซต์ http://www.thai-explore.net/search_detail/result/9456?
fbclid=IwAR1lVkLynZXJH3SjskBR_6t7kYJfMYbqDdNFZGnZrKcL3tXLhQjH_YU4FU
Global warming. (2565). แบล็กไลต์. สืบคน้ เมอื่ วนั ท่ี 26 พฤศจิกายน 2565. จากเว็บไซต์
https://th.wikipedia.org/wiki/แบล็กไลต์?fbclid=IwAR0kfi9TKStP59uaJJzDDn3pL
qufZ2tL92y1VqVvNVxOpV6hLL1c-YjeSZs
I Get Solar Cell. (ม.ป.ป.). วงจรแปลงแรงดนั ไฟ Step-up Step-Down. สืบคน้ เม่อื วนั ท่ี 30
พฤศจิกายน 2565. จากเว็บไซต์ https://www.igetsolarcell.com/c/26
Mindphp. (2564). บอรด์ Arduino (อารด์ ุยโน)่ คืออะไร. สบื ค้นเมอ่ื วนั ท่ี 26 พฤศจิกายน 2565.
จากเวบ็ ไซต์ https://www.mindphp.com/บทความ/4900-arduino.html?fbclid=IwAR
32hOWNhz8QnHPqPzvQ6_8f1hy1tQJ50aY3SvM9mwd6a8o8zIHKzsm-XCo
Regina Coeli college. (ม.ป.ป.). โพรโทบอรด์ . สบื คน้ เมือ่ วนั ที่ 26 พฤศจิกายน 2565. จากเวบ็ ไซต์
https://sites.google.com/site/somyongregina/academic/electronic/protoboard?
fbclid=IwAR2a4k3PgGkOh54hOEFuCNT6lqIK8klKtUeIHovtMcO06MyylQ-8zT7gH
HM
THAIEASYELEC. (2560). ตวั อย่างการใช้งาน Arduino + Relay Module ควบคุมการปดิ เปดิ
เครื่องใช้ไฟฟ้า. สืบค้นเมือ่ วันท่ี 26 พฤศจิกายน 2565. จากเวบ็ ไซต์
https://blog.thaieasyelec.com/example-project-for- control-electrical-device-
using-arduino-and-relay-module/?fbclid=IwAR0K6FxSfauqYKS96gA94QJo_fZ5
IcuntDi18y17ndVqK62wABZzYupxAFQ
ภาคผนวก
21
ภาพ ก – 1 นำแผ่น PVC มาตดั ใหม้ เี สน้ ผา่ นศูนย์กลางขนาด 22 เซนตเิ มตร จำนวน 3 แผ่น
ภาพ ก – 2 นำกระปกุ ใสมาเจาะรูฝาครอบกล่องพลาสติก
22
ภาพ ก – 3 นำกระปุกใสมาเจาะรู เพื่อติดตาข่ายไนล่อน แล้วนำไปตดิ ตั้งไวด้ ้านลา่ งสุด
ภาพ ก – 4 ตอ่ วงจรไฟฟา้ และบอรด์ Aduino
23
ภาพ ก – 5 นำแผงวงจรมาติดตงั้ ด้านบนของเคร่อื งดักจับยุง
ภาพ ก – 6 นำหลอดไฟแบล็กไลตม์ าต่อเขา้ กบั ขวั้ หลอดไฟ
24
ภาพ ก – 7 นำแผงวงจรมาติดต้งั ด้านบนของเคร่อื งดักจับยุง
ภาพ ก – 6 ติดตงั้ อปุ กรณภ์ ายในเครือ่ งดกั จับยุง MOST (QUITO) เสร็จสมบูรณ์