The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by boysuphat, 2021-11-08 21:15:30

Annual Report 2021

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2564

ศนู ยเรียนรกู ารพฒั นาสตรแี ละครอบครัว
เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา
บรมราชนิ นี าถ จังหวัดลาํ พูน

Annual Report

2021

QR Code For Download
Annual 2021

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัว
พระราชทานแกข่ า้ ราชการพลเรือน
เนื่องในโอกาสวนั ข้าราชการพลเรอื น ปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

งานข้าราชการนั้น เป็นงานที่เก่ียวข้องโดยตรงกับวิถีชีวิตของประชาชน
ซึ่งมีความเปล่ียนแปลงอยู่เป็นปกติ ตามสถานการณ์ และกาลเวลาที่เปลี่ยนแปลงไป
ข้าราชการทุกคนจึงต้องทาความเข้าใจงานในหน้าท่ีของตนให้กระจ่างชัด และรู้ทัน
ความเปลยี่ นแปลงท่ีเกิดข้ึน แล้วปฏิบัติหน้าท่ีให้สอดคล้องเหมาะสม โดยยึดม่ันแน่วแน่
อยูใ่ นเป้าหมายของการปฏบิ ัติราชการ คอื ประโยชน์สูงสดุ ของประชาชน และความเจริญ
มน่ั คงของประเทศชาติ

พระทนี่ ง่ั อมั พรสถาน พระราชวงั ดสุ ิต
วันที่ ๑๙ มนี าคม พุทธศักราช ๒๕๖๔

หน้า ก

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

คำนำ

ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ
จังหวัดลาพูน กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นเพ่ือฝึกอบรมอาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่สตรีที่ขาดโอกาส
ทางการศกึ ษา/วา่ งงาน/แรงงานนอกระบบ, สตรที ี่ประสบปญั หาทางเศรษฐกิจหรือประสบปัญหาทางสังคม
สตรีท่ีต้องการพัฒนาศักยภาพหาทางเลือกในการประกอบอาชีพให้สามารถยกระดับคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น
สามารถพ่ึงตนเองได้อย่างมั่นคง และมีความรู้และทักษะการป้องกันตนเองไม่ให้ถูกล่อลวง
ส่กู ระบวนการคา้ ประเวณี อกี ทงั้ ยังมีการประสานการทางานแบบบูรณาการภาคีเครือข่าย ระหว่างองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน ประชาชน เพื่อร่วมกันขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาสังคม
ให้เป็นรปู ธรรม

เอกสารฉบับน้ีได้รวบรวมข้อมูล สถิติ และผลการดาเนินงาน ของศูนย์เรียนรู้
การพัฒนาสตรีและครอบครัว เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ จังหวัดลาพูน
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 เพอื่ ประโยชนใ์ นการเผยแพรแ่ ละประชาสมั พนั ธ์แกผ่ สู้ นใจทว่ั ไป

กล่มุ แผนงานและวิชาการ
ศนู ยเ์ รียนรูก้ ารพัฒนาสตรีและครอบครวั
เฉลมิ พระเกยี รติ 72 พรรษา บรมราชินนี าถ จังหวัดลาพูน

หน้า ข

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

สำรบัญ

พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ก

คานา ข

สารบัญ ค

สารบญั ตาราง ง

สารบญั แผนภาพ จ

สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลสถานการณ์ทางสงั คม 4 จงั หวัด พ้ืนท่ีรับผดิ ชอบ 1

1.1 สถานการณ์ทางสังคมเชงิ กลมุ่ เปา้ หมาย (7 กลุม่ เปา้ หมาย) 1

สถานการณ์แรงงานในจังหวดั ลาพูน 9

สว่ นที่ 2 ขอ้ มลู ท่วั ไป 10

ส่วนที่ 3 สรปุ ผลการดาเนนิ งานประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 14

3.1 โครงการพมั นาทกั ษะอาชีพแก่กลมุ่ เสี่ยงในสถาบนั 14

3.2 โครงการสรา้ งชีวิตใหมใ่ หแ้ ก่สตรแี ละครอบครัว (104 วัน) 28

3.3 โครงการสนบั สนนุ การรวมกลมุ่ ประกอบอาชีพ (110 วัน) 31

3.4 โครงการเสริมสร้างโอกาสในการดาเนินธุรกจิ สตรี 33

3.5 โครงการเชิงรกุ /กจิ กรรมพเิ ศษ 34

มาตรการการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา่ 2019 43

หนา้ ค

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

สำรบัญตำรำง

ตารางท่ี 1 จานวนเด็ก จาแนกตามจงั หวัด รายปี 1

ตารางท่ี 2 จานวนเยาวชน จาแนกตามจงั หวัด รายปี 3

ตารางท่ี 3 จานวนสตรจี าแนกตามจงั หวดั รายปี 4

ตารางที่ 4 จานวนการจดทะเบยี นสมรสจาแนกตามจังหวดั รายปี 5

ตารางท่ี 5 จานวนผู้สูงอายจุ าแนกตามจังหวัด รายปี 6

ตารางท่ี 6 จานวนคนพิการท่ีมบี ตั รประจาตวั คนพิการ จาแนกตามจังหวดั รายปี 7

ตารางที่ 7 จานวนคนยากจน จาแนกตามรายจงั หวัด รายปี 8

หนา้ ง

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

สำรบญั แผนภำพ

แผนภาพที่ 1 แสดงจานวนเดก็ จาแนกตามจังหวัด รายปี 2

แผนภาพที่ 2 แสดงจานวนเยาวชน จาแนกตามจังหวัด รายปี 3

แผนภาพท่ี 3 แสดงจานวนสตรีจาแนกตามจงั หวัด รายปี 4

แผนภาพที่ 4 แสดงจานวนการจดทะเบยี นสมรสจาแนกตามจังหวดั รายปี 5

แผนภาพที่ 5 แสดงจานวนผ้สู ูงอายุจาแนกตามจงั หวัด รายปี 6

แผนภาพที่ 6 แสดงจานวนคนพกิ ารทมี่ ีบัตรประจาตัวคนพกิ าร จาแนกตามจังหวัด รายปี 7

แผนภาพที่ 7 แสดงจานวนคนยากจน จาแนกตามรายจังหวัด รายปี 8

หนา้ จ

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลสถานการณท์ างสงั คม 1 จังหวัด พืน้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ

ขอ้ มูลสถานการณ์ทางสังคม 4 จังหวดั พื้นท่ีรบั ผดิ ชอบ

1.1 สถานการณท์ างสังคมเชงิ กลุ่มเป้าหมาย (7 กลมุ่ เป้าหมาย)

พื้นที่ความรับผิดชอบของศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา
บรมราชนิ ีนาถ จงั หวัดลาพูน จานวน 4 จงั หวัด ไดแ้ ก่ เชยี งใหม่ แมฮ่ อ่ งสอน ลาพูน และตาก มีสถานการณ์
ทางสังคมของกลุ่มเปูาหมาย 7 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเด็ก กลุ่มเยาวชน กลุ่มสตรี กลุ่มครอบครัว กลุ่มผู้สูงอายุ
กลมุ่ ผู้พิการ และกลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาส โดยมผี ลจากการวิเคราะห์สถานการณ์ทางสงั คมของแตล่ ะกลุ่มเปูาหมาย
ดงั ต่อไปนี้

1.1.1 กลมุ่ เดก็

ประชากรเด็กหรือบุคคลท่ีมีอายุต่ากว่า 18 ปีบริบูรณ์ท่ีอยู่ในพื้นท่ีความรับผิดชอบของศูนย์เรียนรู้
การพัฒนาสตรีและครอบครัวเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ จังหวัดลาพูน ในปี พ.ศ. 2562
มีจานวนรวม 579,685 คน และจากข้อมูลประชากรเด็ก โดยรวมระหว่างปี พ.ศ. 2553 ถึง 2562
แสดงให้เห็นแนวโน้มว่าจานวนประชากรเด็กลดลงอย่างต่อเนื่องและถ้าพิจารณารายจังหวัด พบว่า
ประชากรเด็กลดลง ในทุกๆ ปี ท้ัง 4 จังหวัด เช่นเดียวกับภาพรวม นอกจากน้ันเม่ือพิจารณาเปรียบเทียบ
รายจังหวัด พบว่า จังหวัดแม่ฮ่องสอนมีจานวนประชากรเด็กต่าท่ีสุดในกลุ่มจังหวัดและยังคงมีแนวโน้ม
ลดต่าลงตามลาดับทกุ ๆ ปี ในสว่ นจังหวดั เชยี งใหม่ เป็นจงั หวัดทม่ี จี านวนประชากรเด็กสูงสุดในกลุ่มจังหวัด
แต่ก็มีแนวโน้มลดต่าลงตามลาดับทุกๆปี เช่นเดียวกัน และจังหวัดลาพูนกับจังหวัดแม่ฮ่องสอน
เปน็ จังหวดั ทีม่ ีจานวนประชากรเด็กใกล้เคียงกัน

ตารางที่ 1 จานวนเดก็ จาแนกตามจงั หวัด รายป(ี หน่วย : คน)

จงั หวัด 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
เชยี งใหม่ 327,624 322,828 318,565 313,549 308,647 304,941 303,247 304,120 304,727 304,656

แมฮ่ ่องสอน 66,216 65,465 64,603 64,107 63,371 62,578 62,143 62,884 63,861 63,312

ลาพูน 75,382 73,414 71,922 70,357 68,730 67,009 65,887 68,361 64,886 64,109

ตาก 151,203 150,896 150,881 150,129 149,503 149,921 149,484 149,040 148,360 147,608

รวม 620,425 612,603 605,971 598,142 590,251 584,449 580,761 584,405 581,834 579,685

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ขอ้ มูล ณ วันท่ี 1 มถิ ุนายน 2563

หนา้ ๑

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

แผนภาพที่ 1 แสดงจานวนเดก็ จาแนกตามจงั หวดั รายปี(หน่วย : คน)

350,000

300,000

250,000

จานวนเ ็ดก 200,000

150,000

100,000

50,000

0
2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562

เชียงใหม่ 327,624 322,828 318,565 313,549 308,647 304,941 303,247 304,120 304,727 304,656
แม่ฮอ่ งสอน 66,216 65,465 64,603 64,107 63,371 62,578 62,143 62,884 63,861 63,312
ลาพูน 75,382 73,414 71,922 70,357 68,730 67,009 65,887 68,361 64,886 64,109
ตาก 151,203 150,896 150,881 150,129 149,503 149,921 149,484 149,040 148,360 147,608

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ข้อมูล ณ วนั ที่ 1 มิถุนายน 2563

1.1.2 กลมุ่ เยาวชน

ประชากรเยาวชน หรือบุคคลท่ีมีอายุต้ังแต่ 18 - 25 ปีบริบูรณ์ ท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีความรับผิดชอบของ
ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ จังหวัดลาพูน
ในปี พ.ศ. 2562 มีจานวน รวม 305,525 คน และจากข้อมูลประชากรเยาวชน โดยรวมระหว่าง
ปีพ.ศ.2553 ถึง 2562 แสดงให้เห็นแนวโน้มว่าจานวนประชากรเยาวชนลดลงอย่างต่อเน่ือง
และถ้าพิจารณารายจังหวัด พบว่า ประชากรเยาวชนลดลงในทุกๆ ปี ทั้ง 4 จังหวัดเช่นเดียวกับภาพรวม
นอกจากนั้น เม่ือพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด พบว่า จังหวัดแม่ฮ่องสอนมีประชากรเยาวชนต่าที่สุด
ในกลุ่มจังหวัดและยังคงมีแนวโน้มลดต่าลงตามลาดับทุกๆ ปี ในส่วนจังหวัดเชียงใหม่เป็นจังหวัด
ที่มีประชากรเยาวชนสูงสุดในกลุ่มจังหวัด แต่ก็มีแนวโน้มลดต่าลงตามลาดับทุกๆ ปีเช่นเดียวกัน
และจังหวดั ลาพูนกบั จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอนเป็นจงั หวดั ทีม่ ีจานวนประชากรเยาวชนใกล้เคียงกนั

หน้า ๒

จานวนเยาวชน รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

ตารางท่ี 2 จานวนเยาวชน จาแนกตามจังหวัด รายปี(หนว่ ย : คน)

จงั หวัด 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
เชยี งใหม่ 189,863 189,055 188,510 189,050 190,286 190,882 200,866 180,622 175,950 170,143
แม่ฮอ่ งสอน 31,696 31,740 31,682 31,412 31,530 31,621 31,327 31,308 31,706 31,279
ลาพนู 44,326 43,678 43,234 43,204 43,064 42,592 41,455 39,158 37,205 35,617

ตาก 61,118 62,563 63,238 63,635 65,423 66,461 68,046 68,450 68,829 68,486
รวม 327,003 327,036 326,664 327,301 329,422 331,556 341,694 319,538 313,690 305,525

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ขอ้ มูล ณ วันท่ี 1 มิถนุ ายน 2563
แผนภาพที่ 2 แสดงจานวนเยาวชน จาแนกตามจงั หวดั รายปี(หนว่ ย : คน)

250,000

200,000

150,000

100,000

50,000

0
2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562

เชยี งใหม่ 189,863 189,055 188,510 189,050 190,286 190,882 200,866 180,622 175,950 170,143
แมฮ่ อ่ งสอน 31,696 31,740 31,682 31,412 31,530 31,621 31,327 31,308 31,706 31,279
ลาพนู 44,326 43,678 43,234 43,204 43,064 42,592 41,455 39,158 37,205 35,617
ตาก 61,118 62,563 63,238 63,635 65,423 66,461 68,046 68,450 68,829 68,486

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ข้อมูล ณ วันท่ี 1 มถิ ุนายน 2563

หน้า ๓

จานวนสต ีร รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู
1.1.3 กลุ่มสตรี

ประชากรสตรีทุกช่วงวัยท่ีอยู่ในพ้ืนที่ความรับผิดชอบของ ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว
เฉลมิ พระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ จังหวัดลาพูน ในปี พ.ศ. 2562 มีจานวนรวม 1,596,060 คน
และจากข้อมูลประชากรสตรีโดยรวมระหว่างปี พ.ศ. 2553 ถึง 2562 แสดงให้เห็นแนวโน้มว่าจานวน
ประชากรสตรีเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ืองถ้าพิจารณารายจังหวัด พบว่า ประชากรสตรีเพิ่มข้ึนในทุกๆ ปี
ทั้ง 4 จังหวัด เช่นเดียวกับภาพรวมนอกจากน้ันเม่ือพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด พบว่า
จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีประชากรสตรีต่าท่ีสุดในกลุ่มจังหวัดและยังคงมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นตามลาดับทุกๆ ปี
ในสว่ นจังหวดั เชยี งใหม่เป็นจังหวัดที่มีประชากรสตรีสูงสุดในกลุ่มจังหวัด แต่ก็มีแนวโน้มเพิ่มข้ึนตามลาดับ
ทกุ ๆ ปี เชน่ เดียวกนั

ตารางท่ี 3 จานวนสตรีจาแนกตามจังหวัด รายปี(หน่วย : คน)

จงั หวดั 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562

เชียงใหม่ 839,596 843,321 848,922 855,129 861,664 887,830 892,674 899,319 908,637 917,562

แมฮ่ ่องสอน 118,148 118,808 119,194 120,360 121,323 133,995 135,169 136,875 138,634 139,836

ลาพูน 207,692 207,443 208,051 208,521 208,713 209,483 209,551 209,734 210,047 209,935

ตาก 259,120 261,648 260,553 263,611 267,290 305,203 311,632 317,793 322,960 328,727

รวม 1,424,556 1,431,220 1,436,720 1,447,621 1,458,990 1,536,511 1,549,026 1,563,721 1,850,278 1,596,060

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ข้อมูล ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2563

แผนภาพท่ี 3 แสดงจานวนสตรี จาแนกตามจงั หวดั รายปี(หน่วย : คน)

1,000,000
900,000
800,000
700,000
600,000
500,000
400,000
300,000
200,000
100,000
0
2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
เชียงใหม่ 839,596 843,321 848,922 855,129 861,664 887,830 892,674 899,319 908,637 917,562
แม่ฮอ่ งสอน 118,148 118,808 119,194 120,360 121,323 133,995 135,169 136,875 138,634 139,836
ลาพนู 207,692 207,443 208,051 208,521 208,713 209,483 209,551 209,734 210,047 209,935
ตาก 259,120 261,648 260,553 263,611 267,290 305,203 311,632 317,793 322,960 328,727

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ข้อมลู ณ วันท่ี 1 มถิ นุ ายน 2563

หน้า ๔

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

1.1.4 กลุม่ ครอบครวั

จานวนการจดทะเบียนสมรสท่ีอยู่ในพื้นที่ความรับผิดชอบศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ จังหวัดลาพูน ในปี พ.ศ. 2562 มีจานวนรวม 14,037 คู่
และจากข้อมูลการจดทะเบียนสมรส โดยรวมระหว่างปี พ.ศ. 2560 – 2562 แสดงใหเ้ หน็ แนวโนม้ ว่าจานวน
การจดทะเบียนสมรสเพิม่ ขึ้นอยา่ งตอ่ เนือ่ งและถา้ พจิ ารณารายจังหวัด พบว่า จานวนการจดทะเบียนสมรส
เพิ่มขึ้นในทุกๆ ปีทั้ง 4 จังหวัด เช่นเดียวกับภาพรวม นอกจากน้ันเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด
พบว่า จังหวัดแม่ฮ่องสอนมีการจดทะเบียนสมรสต่าที่สุดในกลุ่มจังหวัด และยังคงมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น
ตามลาดับทุกๆ ปี ในส่วนจังหวัดเชียงใหม่เป็นจังหวัดที่มีการจดทะเบียนสมรสสูงสุดในกลุ่มจังหวัด
แต่ก็มีแนวโน้มเพิ่มข้ึนตามลาดับทุกๆ ปีเช่นเดียวกัน และจังหวัดลาพูนกับจังหวัดตาก เป็นจังหวัด
ทมี่ ีจานวนประชากรสตรใี กล้เคียงกนั

ตารางที่ 4 จานวนการจดทะเบยี นสมรสจาแนกตามจังหวัด รายป(ี หนว่ ย : คน)

จังหวดั 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
เชียงใหม่ 6,715 7,364 7,705 7,387 7,111 7,348 8,292 7,910 8,064 8,373
1,039 1,079
แม่ฮ่องสอน 1,265 1,319 1,385 1,361 1,113 1,175 1,102 1,066 2,309 2,389
1,953 2,196
ลาพนู 2,138 2,307 2,385 2,281 2,279 2,260 2,263 2,208 13,365 14,037

ตาก 2,579 2,230 2,007 1,833 1,805 1,736 1,778 1,914

รวม 12,697 13,220 13,382 12,862 13,308 12,519 13,435 13,098

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ขอ้ มูล ณ วันท่ี 1 มถิ ุนายน 2563

แผนภาพที่ 4 แสดงจานวนการจดทะเบยี นสมรส จาแนกตามจงั หวดั รายปี(หน่วย : คน)

9,000

8,000

7,000

จานวนการจดทะเ ีบยนสมรส 6,000

5,000

4,000

3,000

2,000

1,000

0 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
6,715 7,364 7,705 7,387 7,111 7,348 8,292 7,910 8,064 8,373
เชยี งใหม่ 1,265 1,319 1,385 1,361 1,113 1,175 1,102 1,066 1,039 1,079
แม่ฮอ่ งสอน 2,138 2,307 2,385 2,281 2,279 2,260 2,263 2,208 2,309 2,389
ลาพนู 2,579 2,230 2,007 1,833 1,805 1,736 1,778 1,914 1,953 2,196
ตาก

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ข้อมลู ณ วันที่ 1 มถิ นุ ายน 2563

หนา้ ๕

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

1.1.5 กลุ่มผสู้ ูงอายุ

ผู้สูงอายุ หรือบุคคลที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปที่อยู่ในพ้ืนที่ความรับผิดชอบของศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรี
และครอบครัวเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ จังหวัดลาพูน ในปี พ.ศ. 2562 มี
จานวนรวม 536,115 คน และจากจานวนผู้สูงอายุโดยรวม ระหว่างปี พ.ศ. 2553 ถึง 2562 แสดงให้เห็น
แนวโน้มว่าจานวนผู้สูงอายุเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่องและถ้าพิจารณารายจังหวัด พบว่า ประชากรผู้สูงอายุ
เพ่ิมขึ้นในทุกๆ ปีท้ัง 4 จังหวัด เช่นเดียวกับภาพรวมนอกจากนั้นเม่ือพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด
พบว่า จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีจานวนผู้สูงอายุต่าที่สุดในกลุ่มจังหวัดและยังคงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามลาดับ
ทุกๆ ปี ในส่วนจังหวัดเชียงใหม่เป็นจังหวัดที่มีจานวนผู้สูงอายุสูงสุดในกลุ่มจังหวัด แต่ก็มีแนวโน้มเพิ่มข้ึน
ตามลาดบั ทุกๆ ปี เช่นเดียวกัน

ตารางที่ 5 จานวนผ้สู งู อายุจาแนกตามจังหวัด รายปี(หน่วย : คน)

จังหวดั 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
เชยี งใหม่ 208,066 217,025 227,654 243,646 256,873 270,405 284,457 300,490 316,847 333,692
แมฮ่ ่องสอน 22,535 23,220 24,194 26,573 27,599 28,507 29,396 30,528 31,854 33,067
ลาพนู 60,741 63,163 65,950 69,666 73,022 76,684 80,468 84,588 88,721
ตาก 49,925 51,995 54,198 59,047 61,704 64,337 66,817 69,799 73,248 92,945
รวม 341,267 355,403 371,996 398,932 419,198 439,933 461,138 485,405 510,670 76,411
536,115

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ข้อมลู ณ วันท่ี 1 มิถนุ ายน 2563

จานวนผู้สูงอา ุย แผนภาพที่ 5 แสดงจานวนผสู้ งู อายจุ าแนกตามจงั หวดั รายปี(หน่วย : คน)

400,000
350,000
300,000
250,000
200,000
150,000
100,000

50,000
0
2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562

เชยี งใหม่ 208,066 217,025 227,654 243,646 256,873 270,405 284,457 300,490 316,847 333,692
แมฮ่ อ่ งสอน 22,535 23,220 24,194 26,573 27,599 28,507 29,396 30,528 31,854 33,067
ลาพนู 60,741 63,163 65,950 69,666 73,022 76,684 80,468 84,588 88,721 92,945
ตาก 49,925 51,995 54,198 59,047 61,704 64,337 66,817 69,799 73,248 76,411

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ขอ้ มูล ณ วันท่ี 1 มถิ ุนายน 2563

หนา้ ๖

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

1.1.6 กลมุ่ ผพู้ ิการ

จานวนคนพิการที่มีบัตรประจาตัวคนพิการท่ีอยู่ในพื้นที่ความรับผิดชอบของศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรี
และครอบครัวเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ จังหวัดลาพูน ในปี พ.ศ. 2562
มจี านวนรวม 98,965 คน และจากข้อมลู จานวนคนพกิ ารทม่ี ีบัตรประจาตัวคนพิการโดยรวมระหว่างปี พ.ศ. 2559
ถงึ 2562 แสดงให้เหน็ แนวโน้มว่าจานวนคนพิการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ืองและถ้าพิจารณารายจังหวัด พบว่า
จานวนคนพกิ ารเพ่มิ ข้นึ ในทกุ ๆ ปที ง้ั 4 จงั หวัด เช่นเดียวกับภาพรวม เม่ือพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด
พบว่า จังหวัดแม่ฮ่องสอนมีจานวนคนพิการต่าท่ีสุดในกลุ่มจังหวัด และยังคงมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นตามลาดับ
ทุกๆ ปี ในส่วนจังหวัดเชียงใหม่ เป็นจังหวัดที่มีจานวนคนพิการสูงสุดในกลุ่มจังหวัดแต่ก็มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น
ตามลาดบั ทุกๆ ปเี ช่นเดียวกัน

ตารางท่ี 6 จานวนคนพกิ ารที่มีบตั รประจาตัวคนพิการ จาแนกตามจงั หวดั รายปี (หนว่ ย : คน)

จังหวัด 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
เชยี งใหม่ 21,582 26,378 30,808 35,945 40,287 45,311 43,214 46,976 48,468 50,351
แม่ฮ่องสอน 3,891 4,454 4,779 5,341 5,837 6,791 6,609 7,406 7,978 8,613
ลาพนู 11,120 12,205 13,852 15,915 17,290 19,491 18,742 20,078 21,335 21,618
ตาก 6,851 8,458 9,836 11,434 12,948 14,297 14,831 16,039 16,833 17,383
รวม 43,444 51,495 58,275 68,635 76,362 86,424 83,396 90,499 94,614 98,965

กรมส่งเสรมิ และพฒั นาคุณภาพชีวติ คนพิการ กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์

ข้อมูล ณ วันที่ 1 มถิ ุนายน 2563

แผนภาพที่ 6 แสดงจานวนคนพิการท่มี บี ตั รประจาตัวคนพิการ
จาแนกตามจังหวัด รายปี(หน่วย : คน)

จานวนคนพิการท่ีมี ับตรประจาตัวคนพิการ 60,000

50,000

40,000

30,000

20,000

10,000

0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
2553 26,378 30,808 35,945 40,287 45,311 43,214 46,976 48,468 50,351
4,454 4,779 5,341 5,837 6,791 6,609 7,406 7,978 8,613
เชียงใหม่ 21,582 12,205 13,852 15,915 17,290 19,491 18,742 20,078 21,335 21,618
แม่ฮอ่ งสอน 3,891 8,458 9,836 11,434 12,948 14,297 14,831 16,039 16,833 17,383
ลาพูน 11,120
ตาก 6,851

กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ คนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์
ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 1 มิถุนายน 2563

หนา้ ๗

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

1.1.7 กลุม่ ผู้ดอ้ ยโอกาส

จ า น ว น ค น ย า ก จ น ที่ อ ยู่ ใ น พื้ น ที่ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง ศู น ย์ เ รี ย น รู้ ก า ร พั ฒ น า ส ต รี แ ล ะ ค ร อ บ ค รั ว
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ จังหวัดลาพูน ในปี พ.ศ. 2561 มีจานวนรวม 710.80 พันคน
และจากขอ้ มูลจานวนคนยากจน โดยรวมระหว่าง ปี พ.ศ. 2560 ถึง 2561 แสดงให้เห็นแนวโน้มว่าจานวน
คนยากจน (เหนือตอนบน 1) เพ่ิมข้ึน และในส่วนจานวนคนยากจน (เหนือตอนบน 2) ลดลง
และถา้ พจิ ารณารายจังหวัด พบว่า จานวนคนยากจน เพิ่มข้ึน 4 จังหวัด (เหนือตอนบน 1) และจานวนคน
จนลดลง 4 จังหวัด (เหนือตอนบน 2) เช่นเดียวกับภาพรวม นอกจากนั้นเม่ือพิจารณาเปรียบเทียบ
รายจังหวัด พบว่า จังหวัดลาพนู มีจานวนคนยากจนตา่ ที่สุดในกลุ่มจังหวัด และจังหวัดเชียงใหม่เป็นจังหวัด
ทม่ี ีจานวนคนยากจนสูงสุดในกล่มุ จงั หวดั

ตารางท่ี 7 จานวนคนยากจน จาแนกตามรายจังหวัด รายปี(หนว่ ย : พนั คน)

จังหวัด 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561
เชยี งใหม่ 183.65 161.00 136.01 302.89 372.80 116.10 88.70 114.10 109.64 149.90
แม่ฮอ่ งสอน 155.54 147.22 122.08 130.04 133.10 93.50 64.80 78.40 66.20 97.00
ลาพนู 44.96 51.72 39.43 27.80 20.40 33.10 24.90 18.40 12.77 18.90
ตาก 196.40 241.40 227.10 186.40 175.40 187.20 124.80 139.60 136.90 145.00
รวม 673.61 601.34 524.62 647.13 701.70 429.90 303.20 350.50 325.51 418.80

ขอ้ มลู จากการสารวจภาวะเศรษฐกิจและสงั คมของครัวเรอื น สานกั งานสถิติแหง่ ชาติข้อมูล ณ วนั ท่ี 1 มถิ นุ ายน 2563

แผนภาพที่ 7 แสดงจานวนคนตามจังหวัด รายปี(หน่วย : พันคน)

จานวนคนยากจน 400

350 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
300 161 136.01 302.89 372.8 116.1 88.7 114.1 109.64 149.9
147.22 122.08 130.04 133.1 93.5 64.8 78.4
250 51.72 39.43 20.4 33.1 24.9 18.4 66.2 97
241.4 227.1 27.8 175.4 187.2 124.8 139.6 12.77 18.9
200 186.4 136.9 145
150
100

50

0
2553

เชยี งใหม่ 183.65
แม่ฮอ่ งสอน 155.54
ลาพูน 44.96
ตาก 196.4

ข้อมูลจากการสารวจภาวะเศรษฐกจิ และสงั คมของครัวเรอื น สานักงานสถิติแหง่ ชาติข้อมลู ณ วันท่ี 1 มถิ ุนายน 2563

หน้า ๘

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

สถานการณ์แรงงาน
ในจงั หวดั ลาพูน

ผ้มู อี ายุ ผู้ทอี่ ยใู่ น ผู้มงี านทา ผ้วู ่างงาน ผูร้ อฤดูกาล
15 ปขี น้ึ ไป กาลงั แรงงาน 853 0
2,450 128
กอ่ นเกดิ Covid-19 356,885 256,879 256,026

หลงั เกิด Covid-19 357,068 258,151 255,573

จาแนกอตุ สาหกรรม ( 3 อนั ดับแรก ) กอ่ นเกิด Covid-19 หลงั เกดิ Covid-19
ภาคเกษตรกรรม การปาุ ไมแ้ ละการประมง 34.8 38.7

ภาคการผลติ 26.2 22.9

ภาคการขายสง่ การขายปลีก 14.3 14.0

อน่ื ๆ 24.7 24.4

สารสถิตสิ านกั งานสถิติจงั หวดั ลาพนู ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 83 ประจาเดอื น พฤษภาคม 2564

หนา้ ๙

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

ส่วนท่ี 2 ข้อมูลท่ัวไป

ศนู ย์เรยี นรูก้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ จังหวดั ลาพนู
สังกดั กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์

หน้า ๑๐

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

ประวตั คิ วามเป็นมา

กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
ได้รบั การสนับสนุนการจดั ต้งั ศนู ยฝ์ ึกอาชีพสตรีจงั หวัดลาพูน จากนางสายพณิ – นายวชิ าญ พหลโยธิน
เป็นท่ีดินจานวน 9 ไร่ 3 งาน 24.8/10 ตารางวา พร้อมอาคารฝึกอาชีพ 1 หลัง อาคารโรงอาหาร 1 หลัง
ศาสตราจารย์นายแพทย์ประสงค์ ศาสตราจารย์เกียรติคุณแพทย์หญิง คุณหญิงสุดสาคร ตู้จินดา
ไดร้ ่วมบริจาคสร้างอาคารเรอื นนอน อีกจานวน 1 หลัง รวมเป็นเงิน 27 ล้านบาท โดยมีวัตถุประสงค์
เพ่ือให้เยาวสตรีที่มีฐานะยากจนประสบปัญหาความเดือดร้อน และเยาวสตรีที่ได้รับผล กระทบ
เน่ืองจากบิดา – มารดาเสียชีวิตด้วยโรคเอดส์ ซ่ึงขาดผู้อุปการะในพื้นท่ี 17 จังหวัดภาคเหนือ
ใหเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรมวชิ าชพี

เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 12 สิงหาคม 2547
การจัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพแห่งนี้ ได้รับความเห็นชอบ ให้เข้าร่วมโครงการเฉลิมพระเกียรติฯและได้รับ
พระราชทานชื่อ ศูนย์ฝึกอาชีพสตรีจังหวัดลาพูน จากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ
เปน็ “ศูนยเ์ ฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชนิ ีนาถ” เม่อื วนั ท่ี 8 มิถุนายน 2547

การปรับปรุงโครงสร้างกระทรวงตามพระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 14)
พ.ศ. 2558 เม่ือวันที่ 6 มีนาคม 2558 หน่วยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
มีการปรับโครงสร้างและบทบาทหน้าท่ี โดยศูนย์สงเคราะห์และฝึกอาชีพสตรี ท้ังหมด 8 แห่ง
เดิมสังกัดกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ได้โอนมาสังกัดกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว
และศูนย์เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ จังหวัดลาพูน ได้เปล่ียนชื่อเป็น
“ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ จังหวัดลาพูน”
จนถึงปจั จุบนั

หนา้ ๑๑

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

หนา้ ๑๒

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

วิสัยทศั น์
♦ " ... เป็นองคก์ รในระดับภมู ิภาค ดา้ นการพัฒนาสตรแี ละครอบครวั สู่ความย่งั ยืน ..."

พนั ธกิจ
♦ 1. พัฒนาศกั ยภาพของกลุ่มเปูาหมายให้มีคณุ ภาพชีวติ ทด่ี ี
♦ 2. พัฒนารปู แบบและวิธีการจัดบรกิ ารสวัสดิการสงั คมทม่ี ีมาตรฐาน
♦ 3. ส่งเสริม สนับสนนุ องคก์ รเครือข่ายและกลไกที่เก่ยี วขอ้ ง ในการพฒั นากลมุ่ เปาู หมาย

♦ 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการ

ยทุ ธศาสตร์หน่วยงาน
♦ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พฒั นาศักยภาพสตรแี ละครอบครัว ใหม้ ีคุณภาพชีวิตท่ีดี

♦ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสงั คมแก่สตรแี ละครอบครวั
♦ ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 3 บรู ณาการทางานรว่ มกบั เครอื ขา่ ยในการจัดสวสั ดกิ ารสังคมแกส่ ตรี

และครอบครัว
♦ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 4 ยกระดับองคก์ รส่คู วามเป็นมอื อาชีพ

เป้าประสงค์
♦ 1. กลมุ่ เปาู หมายได้รับการพฒั นาศักยภาพสตรแี ละครอบครัวไดอ้ ยา่ งมาตรฐาน

♦ 2. กลุม่ เปาู หมายได้รบั สวสั ดกิ ารด้านสตรีและครอบครวั ในรปู แบบของศนู ย์เรียนรู้อยา่ งมี
มาตรฐานมปี ระสทิ ธิภาพทัว่ ถึงและมีส่วนร่วมองค์กรเครอื ข่ายมีส่วนรว่ มในการดาเนินงาน

♦ 3. ภาคเี ครอื ข่าย มีส่วนร่วมในการจัดสวัสดกิ ารสงั คมแก่สตรีและครอบครวั
♦ 4. เปน็ องค์กรที่มีคณุ ภาพ สามารถพัฒนาระบบการบรหิ ารองค์กรให้ทนั ต่อการเปลย่ี นแปลง

หน้า ๑๓

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

ส่วนท่ี 3 สรปุ ผลการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

3.1 โครงการพัฒนาทักษะอาชีพแกก่ ลมุ่ เสย่ี งในสถาบัน
โครงการพฒั นาทักษะอาชพี แกก่ ลุ่มเส่ียงในสถาบัน เป็นกิจกรรมฝึกอาชีพในสถาบันเป็นการสร้าง

ทางเลือกในการประกอบอาชีพแก่สตรี เพื่อให้สตรีมีทักษะอาชีพและสามารถประกอบอาชีพ สร้างรายได้
อย่างมั่นคงและย่ังยืน มีเปูาหมายที่ตั้งไว้จานวน 500 คน และมีผู้เข้ารับการฝึกอบรมอาชีพ จานวน 1,379 คน
ออกกลางคัน จานวน 21 คน และได้สาเร็จการฝึกอบรมอาชีพ จานวน 1,358 คน พ่อ/แม่เลี้ยงเดี่ยว
จานวน 151 คน โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี

3.1.1 หลักสูตรระยะส้ัน 1 วัน (Zoom Meeting) เป็นหลักสูตรระยะสั้นท่ีทางศูนย์ฯจัดข้ึน
ในช่วงวิกฤตการณ์โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ภายใต้ระบบการบริหารจัดการ DWF 072 Online
Learning ตามวิธีการ Google Classroom และการถ่ายทอดด้วย Zoom Meeting ให้กับผู้เข้ารับการ
ฝึกอบรมอาชีพในห้องเรียนออนไลน์เฉพาะกลุ่ม ได้แก่ หลักสูตรไข่เค็มสมุนไพร จานวน 20 คน
พอ่ /แม่เล้ยี งเดีย่ ว จานวน 2 คน

3.1.2 หลักสูตรระยะส้ัน 2 วัน (Zoom Meeting) เป็นหลักสูตรระยะส้ันที่ทางศูนย์ฯ
จัดขึ้น ในช่วงวิกฤตการณ์โรคติดต่อเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 ภายใต้ระบบการบริหารจัดการ DWF 072
Online Learning ตามวิธีการ Google Classroom และการถ่ายทอดด้วย Zoom Meeting ให้กับผู้เข้า
รับการฝึกอบรมอาชีพในห้องเรียนออนไลน์เฉพาะกลุ่ม ได้แก่ หลักสูตรกระเป฻าเชือกถัก จานวน 20 คน
และหลกั สตู รสายคลอ้ งแมส 3 in 1 จานวน 20 คน พอ่ /แม่เล้ียงเดีย่ ว จานวน 1 คน

3.1.3 หลักสูตรระยะส้ัน 3 วัน (ในชุมชน) ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ จังหวัดลาพูน มอบหมายให้กลุ่มส่งเสริมการเรียนรู้
และพัฒนาอาชีพ ดาเนินการปิดโครงการพัฒนาทักษะอาชีพแก่สตรีกลุ่มเสี่ยงฯ (หลักสูตรระยะส้ัน
ภายในชุมชน) หลกั สตู รระยะสนั้ 3 วัน : 18 ชั่วโมง ประจาปีงบประมาณ 2564 จานวน 10 กลุ่ม รวมผู้เข้ารับ
การฝึกอบรม 100 คน พ่อ/แม่เลี้ยงเด่ียว จานวน 7 คน ในการน้ีศูนย์ฯ ได้แนะนาการพัฒนาผลิตภัณฑ์
สนิ คา้ ให้หลากหลาย ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคสูงสุดเพิ่มช่องทางการจาหน่ายการตลาดออนไลน์
สรา้ งงาน สร้างอาชีพ มรี ายได้ อย่รู อดยคุ โควดิ -19

หลกั สตู รการจกั สานหมวก จานวน 1 กลมุ่ 10 คน

หลกั สตู รงานผา้ ปักมือ จานวน 4 กลมุ่ /กลมุ่ ละ 10 คน รวม 40 คน

หลกั สตู รจกั สานไมไ้ ผ่ จานวน 1 กลมุ่ 20 คน

หลกั สตู รสายคลอ้ งแมส ทรีอินวนั จานวน 3 กลมุ่ /กลมุ่ ละ 10 คน รวม 30 คน

หน้า ๑๔

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

3.1.4 หลกั สูตรระยะสน้ั 5 วัน
3.1.4.1 หลักสูตรระยะสั้น 5 วัน(ในสถาบัน) เป็นหลักสูตรระยะสั้น เพื่อรองรับ

สถานการณ์ปัญหาและเยียวยาประชาชนอันได้แก่สตรีและครอบครัวที่ประสบปัญหาทางเศรษฐกิจ
และสังคมในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) เพ่ือให้ประชาชน
ไดม้ อี าชพี และมรี ายได้จากอาชพี ที่ไดร้ ับการฝึกอบรมระยะสน้ั ได้แก่หลักสูตรขนมไทย (พ่อ/แม่เล้ียงเด่ียว),
หลักสูตรการทาซูซิ(พ่อ/แม่เล้ียงเด่ียว), หลักสูตรอาหารว่าง(จีน)(พ่อ/แม่เล้ียงเด่ียว), หลักสูตรตัดผมชาย
(ทรงผมแฟชั่น), หลักสูตรอบรมเพ่ือสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานพนักงานนวดไทย ระดับ 1,
หลักสูตรอาหารไทย, หลักสูตรเค้กและการตกแต่งหน้าเค้ก, หลักสูตรโคมประดับและการตัดตุง,
หลักสตู รตา&ยา By072, หลักสูตรอาหารว่าง(ทอด)

หลกั สูตรเค้กและการตกแตง่ หนา้ เค้ก

หนา้ ๑๕

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู
หลักสตู รตา&ยา By072

หลักสตู รอาหารวา่ ง(ทอด)

หลกั สูตรโคมประดบั และการตัดตุง
หนา้ ๑๖

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

สถิติของผู้เข้ารับการฝึกอบรมระยะสั้น 5 วัน (ในสถาบัน) โดยมีผู้เข้ารับการฝึกอบรมอาชีพ
10 หลักสูตร จานวน 116 คน สาเร็จการฝึกอบรม 115 คน ออกกลางคัน 1 คน พ่อ/แม่เล้ียงเด่ียว
จานวน 33 คน ดังตอ่ ไปน้ี

ผเู้ ขา้ รับการ ผู้สาเร็จการ พ่อ/แม่
ฝกึ อบรม ฝึกอบรม เล้ยี งเดีย่ ว
ท้งั หมด

หลักสตู รการทาโคมประดบั และตดั ตุง 21 21 0

หลักสตู รเค้กและการแตง่ หน้าเค้ก 14 14 2

หลักสูตรตา & ยา by 072 18 18 4

หลักสตู รอาหารว่าง(ทอด) 5 52

หลักสตู รขนมไทย 3 30

หลักสูตรการทาซูซ(ิ เลย้ี งเด่ียว) 5 55

หลกั สตู รอาหารว่าง(จีน)(เลยี้ งเดยี่ ว) 15 14 15

หลกั สตู รตดั ผมชาย(ทรงผมแฟชั่น) 15 15 4
8 80
หลักสตู รฝกึ อบรมเพ่ือสอบมาตรฐาน 12 12 1
ฝมี ือแรงงานพนักงานนวดไทย ระดบั 1

หลักสูตรอาหารไทย

หน้า ๑๗

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

3.1.4.2 หลกั สูตรระยะสนั้ 5 วัน(ในชมุ ชน) เปน็ หลกั สูตรระยะสน้ั เพ่ือรองรับสถานการณ์ปัญหา
แล ะเ ยีย ว ยา ปร ะ ชา ชน อั นไ ด้แ ก่ สต รีแ ละ ค รอ บค รั วที่ ปร ะ สบ ปั ญ ห าท าง เศ ร ษฐ กิจ แ ละ สัง ค มใ นช่ ว ง
การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) เพ่ือให้ประชาชนได้มีอาชีพและมีรายได้
จากอาชีพที่ได้รับการฝึกอบรมระยะส้ัน ได้แก่หลักสูตรขนมจัดเล้ียง, หลักสูตรข้าวเกรียบว่าว,
หลักสูตรอาหารและอาหารวา่ ง,หลักสูตรอาหารไทใหญ่

สถติ ิของผ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรมระยะสั้น 5 วนั (ในชุมชน) โดยมีผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมอาชพี
7 หลกั สูตร จานวน 143 คน พ่อ/แม่เลย้ี งเดยี่ ว จานวน 13 คน ดังน้ี

จานวนผเู้ ขา้ รบั การ พอ่ /แม่

ฝกึ อบรม เลี้ยงเด่ียว

หลกั สูตรขนมจดั เล้ยี ง 20 1

หลกั สตู รขา้ วเกรียบวา่ ว 20 1

หลักสตู รอาหารและอาหารวา่ ง 20 5

หลักสตู รอาหารไทใหญ่ 20 0

หลักสูตรขนมไทยจดั เล้ยี ง 18 4

หลกั สูตรการปักผ้าด้วยมอื 15 2

หลักสตู รการเพาะปลกู แปรรปู 30 0
สกดั สารสมุนไพรสกัด

หนา้ ๑๘

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

3.1.4.3 หลักสูตรระยะสั้น 5 วัน (Zoom Meeting) เป็นหลักสูตรระยะส้ันท่ีทางศูนย์ฯ
จัดขึ้น ในช่วงวิกฤตการณ์โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ภายใต้ระบบการบริหารจัดการ DWF 072
Online Learning ตามวิธีการ Google Classroom และการถ่ายทอดด้วย Zoom Meeting ให้กับผู้เข้า
รับการฝึกอบรมอาชีพ ในห้องเรียนออนไลน์เฉพาะกลุ่ม จานวน 18 หลักสูตร รวมจานวน 281 คน
ออกกลางคัน จานวน 4 คน สาเร็จการฝึกอบรม 277 คน พอ่ /แม่เล้ยี งเด่ยี ว จานวน 22 คน

ลา หลกั สตู ร จานวน ออก จบ พอ่ /แม่ งบประมาณ
ดบั คนเข้า กลางคัน หลักสตู ร เล้ียง
เรียน เดี่ยว 3,700
09 0
1 หลกั สตู รการเพน้ ทเ์ ล็บเจล 9 0 11 0 0
0 13 0
2 หลักสูตรการนวดบรรเทาอาการตะครวิ น่อง 11 02 0 3,185
07 0 0
3 หลกั สตู รการเย็บผ้าด้วยมือเบือ้ งตน้ 13 06 0
2 0 20 0 3,000
4 หลักสตู รการจดั สวนถาดแบบย่อส่วน 7 1 19 0 10,500
6 1 19 1 14,996
5 หลักสตู รคลินกิ ซอ่ มผ้า 20 0 12 4 15,000
20 1 19 3 4,500
6 หลกั สตู รการใชห้ มอ้ อบลมร้อน 20 0 20 3 15,000
12 1 19 4 10,500
7 หลักสูตรการทาผ้าเชด็ เทา้ จากเศษผา้ 20 3 15,000
20 0 21
8 หลกั สตู รการทาวุน้ แฟนซี 20 0 20 1 15,000
0 10,500
9 หลกั สตู รปักผา้ ดว้ ยมอื 21 0 20
20 0 20 0 11,565
10 หลักสตู ร Makeup ตวั แม่ 0 20 1 5,000
20 2 1,980
11 หลกั สตู รทากระเป฻าสตางค์ด้วยมือ 20 4 277 139,426
20 22
12 หลักสตู รDIY ถ้วยน้าชาตกแตง่ บ้าน

13 หลักสูตรการทากระเป฻าจากเสน้ พลาสตกิ
Minimal Style

14 หลักสูตรทาพวงกุญแจงานผ้า

15 หลักสตู รการทาโบวร์ บิ บนิ้ และถุงใส่ของขวญั
สดุ เก๋

16 หลกั สตู รการทากระเป฻าถักจากเชือก

17 หลักสตู รการทาสานคลอ้ งแมส 3 in 1

18 หลกั สูตรการทาไขเ่ ค็มสมนุ ไพร

รวม 281

หน้า ๑๙

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

หนา้ ๒๐

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู
3.1.5 หลักสตู รระยะสัน้ 10 วนั

3.1.5.1 หลักสูตรระยะส้ัน 10 วัน (ในสถาบัน) เป็นหลักสูตรระยะส้ันเพ่ือรองรับ
สถานการณ์ปัญหาและเยียวยาประชาชนอันได้แก่สตรีและครอบครัวท่ีประสบปัญหาทางเศรษฐกิจ
และสังคมในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) เพื่อให้ประชาชน
ได้มอี าชีพและมีรายไดจ้ ากอาชีพท่ีได้รับการฝึกอบรมระยะส้ัน ได้แก่หลักสูตรนวดเท้าเพื่อสุขภาพ รุ่น1, 2
และหลักสูตรเพ้นท์เล็บเบื้องต้น จานวน 21 คน ออกกลางคัน 2 คน จบหลักสูตร จานวน 19 คน
พอ่ /แมเ่ ลย้ี งเดยี่ ว 9 คน

หน้า ๒๑

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

สถิติของผู้เข้ารับการฝึกอบรมระยะส้ัน 10 วัน (ในสถาบัน)โดยมีผู้เข้ารับการฝึกอบรมอาชีพ

2 หลกั สูตร จานวน 21 คน ออกกลางคัน 2 คน จบหลกั สูตร จานวน 19 คน พ่อ/แมเ่ ลย้ี งเดย่ี ว 9 คน

หลกั สตู รนวดเทา้ เพ่อื สขุ ภาพ จานวน 14 คน หลกั สตู รเพน้ ทเ์ ลบ็ เบอื้ งตน้ จานวน 7 คน
พอ่ /แมเ่ ลยี้ งเดย่ี ว จานวน 7 คน พอ่ /แมเ่ ลยี้ งเดย่ี ว จานวน 2 คน

3.1.6 หลักสูตรระยะสั้น 10 วัน (ในชุมชน) เป็นหลักสูตรระยะสั้น เพ่ือรองรับสถานการณ์
ปัญหาและเยยี วยาประชาชนอนั ไดแ้ ก่สตรีและครอบครัวทปี่ ระสบปญั หาทางเศรษฐกิจและสังคมในช่วงการ
แพร่ระบาดของโรคติดต่อเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) เพื่อให้ประชาชนได้มีอาชีพและมีรายได้
จากอาชพี ที่ไดร้ บั การฝกึ อบรมระยะสนั้

หน้า ๒๒

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

สถิติของผู้เข้ารบั การฝึกอบรมระยะส้ัน 10 วัน (ในชุมชน) โดยมีผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมอาชีพ 13 หลักสตู ร

จานวน 260 คน พอ่ /แม่เล้ียงเดีย่ ว จานวน 27 คน ดงั แผนภูมติ อ่ ไปนี้

20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20 20
20

15

10
10

5 3 23 1 2003 3 000
0

จานวนทง้ั หมด
พอ่ /แม่เลยี้ งเดี่ยว

3.1.7 หลกั สูตรระยะสั้น 20 วัน
มีผู้เข้ารับการฝกึ อบรมอาชีพ 1 หลักสูตร ได้แก่ หลักสตู รทอผ้าลายภมู ิปญั ญาวิถีลา้ นนา

จานวน 20 คน พอ่ /แม่เล้ยี งเดยี่ ว จานวน 4 คน

หน้า ๒๓

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

3.1.8 หลักสตู รระยะสั้น 1 เดอื น ได้แก่หลักสูตร
- ขนมไทยเปน็ อาชพี
- คลนิ ิกซอ่ มผา้
- เครอ่ื งดม่ื ทาง่ายขายคล่อง
- เบเกอร่ี
- เพ้นทเ์ ลบ็ และตกแต่งเล็บ
- ผา้ ด้นมอื
- ปกั ผ้าดน้ มือ
- อาหารจานเดียว
- อาหารว่างนานาชาติ

สถิติของผู้เข้ารับการฝึกอบรมระยะส้ัน 1 เดือน โดยมีผู้เข้ารับการฝึกอบรมอาชีพ 9 หลักสูตร

จานวน 235 คน สาเร็จการฝกึ อบรมอาชีพ 231 คน และออกกลางคัน 4 คน พอ่ /แม่เล้ียงเดี่ยว จานวน 30 คน

11 ขนมไทยเปน็ อาชพี พ่อ/แมเ่ ล้ยี งเดย่ี ว 4 คน

16 คลินกิ ซอ่ ม พ่อ/แมเ่ ลี้ยงเด่ียว 0 คน

ผ้า

37 เครอ่ื งดื่มทางา่ ยขายคล่อง พอ่ /แม่เลยี้ งเด่ียว 6 คน

35 เบเกอรี่ พอ่ /แม่เล้ียงเดี่ยว 3 คน

20 ผา้ ดน้ มือ พ่อ/แม่เลย้ี งเดยี่ ว 8 คน

47 ปกั ผ้าดน้ มอื พอ่ /แมเ่ ล้ยี งเดีย่ ว 0 คน

20 การตกแตง่ เลบ็ เพน้ ท์เล็บ พ่อ/แม่เล้ยี งเดีย่ ว 1 คน

44 อาหารจานเดียว พอ่ /แม่เลยี้ งเดีย่ ว 8 คน

20 อาหารว่างนานาชาติ พอ่ /แมเ่ ลย้ี งเด่ยี ว 0 คน

หนา้ ๒๔

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

3.1.9 หลักสูตรระยะส้นั 3 เดอื น ได้แก่หลกั สตู ร

หลักสูตรนวดดแู ลสุขภาพ รุ่น 1 และ รุ่น 2 หลกั สตู รออกแบบตัดเย็บเส้อื ผา้ รุ่น 2

หลักสตู รเสรมิ สวยสตรี รนุ่ 2 หลักสตู รตัดผมชาย ร่นุ 1 และ รุน่ 2

สถติ ิของผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมระยะสั้น 3 เดอื น โดยมผี ู้เข้ารบั การฝึกอบรมอาชีพ 5 หลกั สูตร
จานวน 119 คน สาเร็จการฝึกอบรมอาชพี 115 คน และออกกลางคัน 4 คน พอ่ /แม่เลย้ี งเดี่ยว 6 คน

ตัดผมชาย ผูฝ้ กึ อบรม จานวน 52 คน ออกกลางคนั 1 คน
จบหลักสูตร 51 คน พ่อ/แม่เล้ียงเด่ียว 3 คน

นวดดูแลสขุ ภาพ ผ้ฝู ึกอบรม จานวน 27 คน ออกกลางคนั 2 คน
จบหลกั สตู ร 25 คน พอ่ /แม่เล้ียงเดย่ี ว 0 คน

3 เดือน ตัดเยบ็ เบื้องต้น ร่นุ 2 ผู้ฝกึ อบรม จานวน 9 คน ออกกลางคัน 1 คน
เสริมสวยสตรี จบหลกั สตู ร 8 คน พ่อ/แม่เลย้ี งเด่ียว 0 คน

ผฝู้ ึกอบรม จานวน 27 คน พอ่ /แม่เลี้ยงเด่ยี ว 2 คน

ออกแบบตดั เย็บ ผู้ฝึกอบรม จานวน 4 คน พอ่ /แม่เลีย้ งเด่ียว 1 คน
เบอ้ื งต้น รุ่น 2

หน้า ๒๕

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

3.1.10 หลกั สตู รระยะส้ัน 4 เดือน

หลกั สตู รตัดเยบ็ เบอ้ื งต้น รุ่น 1 หลักสูตรออกแบบตดั เยบ็ ร่นุ 1

สถติ ขิ องผูเ้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมระยะส้นั 4 เดอื น โดยมผี ู้เข้ารบั การฝึกอบรมอาชีพ 2 หลกั สตู ร
จานวน 29 คน สาเร็จการฝึกอบรมอาชีพ 24 คน และออกกลางคนั 5 คน

ออกแบบตดั เยบ็
เส้อื ผ้า รุ่น 1

ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรม จานวน 17 คน ผ้เู ข้ารบั การฝึกอบรม จานวน 12 คน

สาเร็จหลักสตู ร จานวน 14 คน สาเร็จหลักสูตร จานวน 10 คน

ลาออก จานวน 3 คน ลาออก จานวน 2 คน

หน้า ๒๖

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู
3.1.11 หลักสตู รระยะสัน้ 6 เดอื น เทียบโอน ปวช. ร่วมกับวิทยาลัยการอาชีพปาุ ซาง จังหวัดลาพูน
เป็นหลักสูตรที่ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ
จังหวัดลาพูน ได้มีการจัดทาหลักสูตรเพ่ือสตรีและเยาวสตรีอายุตั้งแต่ 15 – 35 ปี ท่ีสาเร็จการศึกษา
ระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ขึ้นไป กลุ่มเสี่ยงต่อกระบวนการค้าประเวณีและการค้ามนุษย์ ท่ีประสบปัญหา
ทางเศรษฐกิจและสังคม ขาดโอกาสทางการศึกษา ต้องการพัฒนาทักษะอาชีพ การสร้างทางเลือก
ในการประกอบอาชีพเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงทางรายได้ให้แก่ครอบครัว ได้แก่ หลักสูตรตัดเย็บเสื้อผ้า,
หลักสูตรอาหารและโภชนาการ, หลักสูตรธุรกิจท่องเท่ียวและโรงแรม จานวน 3 หลักสูตร มีจานวน
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทงั้ สิน้ 55 ราย จบหลักสูตร 55 ราย

หลักสูตรตดั เย็บเส้ือผา้ จานวน 21 คน
หลกั สตู รธุรกิจทอ่ งเทย่ี วและโรงแรม จานวน 14 คน
หลกั สูตรอาหารและโภชนาการ จานวน 20 คน

หนา้ ๒๗

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

3.2โครงการสรา้ งชวี ติ ใหม่ให้แก่สตรแี ละครอบครวั (104 วนั )

โครงการสร้างชีวิตใหม่ให้แก่สตรีและครอบครัว (104 วัน) เป็นการฝึกอบรมอาชีพในชุมชน
ในเขตพื้นทรี่ บั ผดิ ชอบ 4 จังหวัด ไดแ้ ก่ จงั หวัดลาพูน จังหวดั เชยี งใหม่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน และจังหวัดตาก
ซ่งึ เป็นภารกิจในการส่งเสริมสถานภาพ พฒั นาศักยภาพและคณุ ภาพชีวิตให้แก่สตรี และสร้างความเข้มแข็ง
ใหแ้ ก่สถาบันครอบครัว เพื่อฝึกอาชีพและพัฒนาทักษะฝีมือ ส่งเสริมให้สตรีสามารถทาธุรกิจ มีอาชีพเสริม
หรือประกอบอาชีพอิสระในท้องถ่ินของตน เกิดการรวมกลุ่มอาชีพให้มีความเข้มแข็ง มีรายได้มั่นคง
และเพียงพอสาหรับการดูแลตนเองและครอบครัว โดยได้ดาเนินการไปแล้ว 10 รุ่นๆละ 30 คน
รวมท้ังสิ้น 300 คน

ลาดบั หลกั สูตร สถานท่ี จานวน

1 หลกั สูตรการแปรรปู ผลิตภัณฑ์ผ้าทอกะเหรี่ยง กล่มุ สตรแี ละครอบครวั บา้ นแมก่ ๊ะเปยี ง 30
30
ตาบลสะลวง อาเภอแมร่ มิ จังหวดั เชยี งใหม่ 30
30
2 หลกั สตู รการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร กล่มุ สตรีและครอบครัวบ้านแมป่ า฻ ม 30
30
ตาบลปงิ โคง้ อาเภอเชียงดาว จงั หวัดเชียงใหม่ 30
30
3 หลักสตู รการตดั เยบ็ และแปรรปู ผ้าชนเผ่าม้ง กลุ่มสตรีและครอบครัวบ้านแม่สานอ้ ย 30
30
ตาบลโปุงแยง อาเภอแม่ริม จังหวดั เชยี งใหม่

4 หลักสูตรการทอผา้ ยกดอกแบบโบราณ กลมุ่ สตรแี ละครอบครวั บ้านบวก

ตาบลดงดา อาเภอลี้ จังหวัดลาพนู

5 หลักสตู รการตดั เยบ็ เสอ้ื ผ้า กลุ่มสตรแี ละครอบครวั บ้านนาเล่ยี ง

ตาบลนาทราย อาเภอล้ี จงั หวดั ลาพูน

6 หลกั สูตรการออกแบบและตดั เย็บชดุ ไทยอง กลุ่มสตรแี ละครอบครัวบา้ นหว้ ยยาบ

ตาบลหว้ ยยาบ อาเภอบา้ นธิ จังหวดั ลาพนู

7 หลักสตู รการออกแบบตดั เย็บและงานปกั เสื้อ กลุ่มสตรีและครอบครัวบ้านดงฤาษี

พ้ืนเมือง ตาบลบ้านโฮ่ง อาเภอบา้ นโฮง่ จงั หวดั ลาพูน

8 หลักสตู ร การแปรรูปผลิตภัณฑผ์ า้ ทอมอื กลมุ่ สตรแี ละครอบครวั ตาบลสบเต๊ียะ

อาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่

9 หลกั สูตรผลติ ภัณฑผ์ า้ ปักมือ เทศบาลตาบลแมส่ ะเรียง อาเภอแมส่ ะเรยี ง

จังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน

10 หลกั สูตรผลติ ภัณฑ์ผา้ ทอกะเหร่ียง กลมุ่ สตรแี ละครอบครัวบา้ นแมแ่ ดดนอ้ ย

ตาบลแม่แดด อาเภอกลั ยาณิวัฒนา จังหวัดเชยี งใหม่

หน้า ๒๘

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

สถิติของผู้เข้ารับการฝึกอบรมโครงการสร้างชีวิตใหม่ให้แก่สตรีและครอบครัว (104 วัน)
โดยไดด้ าเนนิ การฝกึ อบรมอาชพี แล้วจานวน 10 รุ่นๆละ 30 คน รวมทัง้ ส้นิ 300 คน

จำนวน 5 รนุ่ ๆละ 30 คน จำนวน 1 รนุ่ ๆละ 30 คน
รวม 150 คน รวม 30 คน

จำนวน 4 รนุ่ ๆละ 30 คน
รวม 120 คน

หนา้ ๒๙

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

หนา้ ๓๐

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

3.2 โครงการสนบั สนุนการรวมกลุ่มประกอบอาชีพ

โครงการสนับสนุนการรวมกลุ่มประกอบอาชีพ (110วัน) เป็นภารกิจในการส่งเสริมสถานภาพ
พัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิตให้แก่สตรี และสร้างความเข้มแข็งให้แก่สถาบันครอบครัว เพ่ือส่งเสริม
ให้สตรีในพื้นท่ีเกิดการรวมกลุ่มอาชีพ สร้างเสริมความเข้มแข็งสามารถดาเนินธุรกิจได้อย่างมีศักยภาพ
มอี าชีพเสริมหรอื ประกอบอาชีพอิสระในทอ้ งถ่ินของตน มีรายได้ม่ันคงและเพียงพอสาหรับการดูแลตนเอง
และครอบครัว ซึง่ โครงการสนับสนนุ การรวมกลุ่มประกอบอาชีพแก่กลุ่มฝึกอาชีพที่ผ่านการฝึกอบรมอาชีพ
ในโครงการสร้างชีวิตใหม่ให้แก่สตรีและครอบครัว (104 วัน) และได้นาความรู้ไปประกอบอาชีพ
มีการรวมกลุ่มเพื่อประกอบอาชีพ เสริมความม่ันคงในกลุ่ม เพ่ือให้สตรีและครอบครัวมีทักษะอาชีพ
และสามารถประกอบอาชีพ สร้างรายได้อย่างม่ันคงและยั่งยืน กลุ่มอาชีพที่ได้รับการสนับสนุนเงินทุน
ประกอบอาชีพจะได้ มีเงินทุนในการต่อยอดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ท่ีทันสมัย เป็นท่ีต้องการของตลาด
โดยได้ดาเนนิ การไปแล้วท้ังสน้ิ 136 คน

ลาดบั หลักสูตร สถานที่ จานวน

1 หลกั สูตรการตัดเยบ็ เส้ือผา้ บา้ นกอลงุ ต.ทาสบเสา้ อ.แมท่ า จ.ลาพูน 9
2 หลกั สูตรการทาอาหารและขนมพืน้ เมอื ง
3 หลักสตู รการทอผา้ ซ่นิ ตีนจก บ้านดงเจริญ ต.วังผาง อ. เวยี งหนองลอ่ ง จ. ลาพูน 9
4 หลักสตู รการทอผ้ายกดอก
บา้ นปวง ต.บ้านปวง อ.ทงุ่ หัวชา้ ง จ.ลาพูน 8

บา้ นห้วยหญา้ ไซ ม.4 ต.ดงดา อ.ลี้ จ.ลาพนู 9

5 หลกั สตู รการทาดอกไมป้ ระดษิ ฐ์ บ้านไม้ตะเคียน ต.ตะเคียนปม อ.ทุ่งหัวช้าง 8
6 หลกั สูตรการพัฒนาผลิตภัณฑจ์ ากผ้าทอ จ.ลาพนู 9

บ้านปางสา้ น ต.ดงดา อ.ลี้ จ.ลาพูน

7 หลกั สูตรการทานา้ พรกิ เคร่ืองแกง บ้านขุนยวม ม.1 ต.ขุนยวม อ.ขุนยวม 10

จ.แมฮ่ อ่ งสอน

8 หลกั สตู รการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรตะไคร้ บ้านห้วยโปุง ต.ห้วยโปุง อ.เมืองแม่ฮ่องสอน 10

ภเู ขา จ.แมฮ่ ่องสอน

9 หลักสูตรการพัฒนาผลิตภณั ฑผ์ า้ ด้นมือ บ้ า น โ ปุ ง ม . 1 ต . บ้ า น ก า ศ อ . แ ม่ ส ะ เ รี ย ง 10

จ.แม่ฮอ่ งสอน

10 หลักสตู รการทอผ้าตนี จกดอยเต่า ตาบล โปงทงุ่ อาเภอ ดอยเตา่ จงั หวัด เชยี งใหม่ 7

11 การออกแบบและงานปักผ้าปะกาเกอะญอ บา้ นแมส่ ะปฺอก ม.5 ต.แม่วิน อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่ 7

หน้า ๓๑

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

ลาดับ หลกั สตู ร สถานที่ จานวน
12 การพฒั นาผลติ ภัณฑ์ผา้ ทอกะเหร่ียง
บ้านหนองเจ็ดหน่วย ม.4 ต.บ้านจันทร์ 7
13 หลกั สูตรการทอผา้ ยกดอก อ.กลั ยาณิวฒั นา จ.เชยี งใหม่
บ้านกอ้ ทงุ่ ต.กอ้ อ.ลี้ จ.ลาพูน 10

14 หลักสูตรการตีเหล็ก บา้ นผาตา้ ย ต.แม่ลาน อ.ลี้ จ.ลาพนู 10

15 หลกั สูตรการตัดเยบ็ เสอ้ื ผ้าสตรี บ้านช่างเพ้ยี น ต.บ้านธิ อ.บ้านธิ จ.ลาพูน 13

รวมจานวน 136

หนา้ ๓๒

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู
3.3 โครงการเสริมสร้างโอกาสในการดาเนนิ ธรุ กจิ แกส่ ตรี
โครงการเสริมสร้างโอกาสในการดาเนินธุรกิจแก่สตรี เป็นโครงการสาหรับสตรีท่ีผ่านการเข้าร่วม
โครงการสร้างชีวิตใหม่ให้แก่สตรีและครอบครัว (104 วัน) หรือโครงการสนับสนุนการรวมกลุ่มประกอบอาชีพ
(110 วัน) ด้วยการพัฒนาทักษะการดาเนินธุรกิจในยุคดิจิทัล ทั้งด้านการบริหารจัดการกลุ่ม การพัฒนาสินค้า
โดยการให้ความรู้และศึกษาดูงาน เพ่ือเป็นการยกระดับฝีมือพัฒนาศักยภาพกลุ่มให้สามารถแข่งขันได้ในตลาด
และพัฒนาสินค้าให้ได้มาตรฐาน สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง และสามารถพึ่งพาตนเองได้ มีงานทาในท้องถ่ิน
โดยมเี ปูาหมาย จานวน 50 คน ดาเนนิ การแลว้ รวมทงั้ สน้ิ 60 คน

หน้า ๓๓

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู
3.5โครงการเชงิ รุก/กจิ กรรมพิเศษ
โครงการ / กจิ กรรมพเิ ศษ นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล นโยบายเรง่ ดว่ นของกระทรวงการพฒั นา
สงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ นโยบายเร่งดว่ นของกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว และภารกจิ
ตามบรบิ ทพ้ืนท่รี บั ผิดชอบ
3.5.1 ลงพืน้ ที่ร่วมกับทมี กระทรวงการคลัง (ธนาคารกรงุ ไทยและคลงั จงั หวดั ลาพูน) เพ่อื ช้เี ปูาและ
ลงทะเบียนให้กบั กล่มุ เปราะบางที่ยังไมไ่ ด้เข้ารว่ มโครงการ “เราชนะ” พรอ้ มทั้งเก็บขอ้ มูลกล่มุ เปราะบาง
เพอ่ื ติดตามให้ความช่วยเหลือ

3.5.2 ลงพื้นที่เพ่ือสารวจ สัมภาษณ์ เก็บข้อมูลสมุดพกครอบครัว และวางแผนช่วยเหลือผู้ประสบ
ปัญหาทางสังคม (กลุ่มเปราะบาง) ตามข้อมูล TPMAP ได้แก่พ้ืนที่ชุมชนเข้มแข็งทุ่งหัวช้าง Model
(ทีม One home) และลงพ้ืนท่ีอาเภอปุาซาง,อาเภอแม่ทา ซึ่งเป็นพื้นที่รับผิดชอบตามการแบ่งเขตดูแล
กลุ่มเปูาหมายของ ทีม One home ทั้งนี้ศูนย์ฯ ได้ปฏิบัติตามมาตรการปูองกัน DMHTT ในพื้นท่ีชุมชน
อยา่ งเคร่งครดั

หน้า ๓๔

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

3.5.3 โครงการ Mobile Marketing เพื่อผู้ประกอบ
การ Start Up ประจาปีงบประมาณ 2564 เพื่อพัฒนา
ทกั ษะการตลาดออนไลน์ การนาเสนอขายสนิ คา้ ภาพถ่าย
ผลิตภัณฑ์ชวนซื้อ ดึงดูดความต้องการของลูกค้า
เกิดความประทับใจ การบริหารจัดการแหล่งช่องทาง
ก า ร จ า ห น่ า ย ผ่ า น ส่ื อ โ ซ เ ซี ย ล มี เ ดี ย ใ ห้ เ ข้ า ถึ ง ต ร ง กั บ
กลุ่มเปูาหมายให้กับกลุ่มประชาชนท่ัวไปที่มีความสนใจ
และผู้ประสบปัญหาผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19
ผู้เข้าร่วมโครงการฯ จานวนท้ังส้ิน 27 คน ระหว่าง
วันท่ี 16 – 17 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมศูนย์ปฏิบัติการ
ศปก.พม.

3.5.4 โครงการDigital Marketing เพ่ือผู้ประกอบ
การชนชาตพิ นั ธุ์ ประจาปีงบประมาณ 2564 โดยการบูรณา
การความร่วมมือระหว่างศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรี
และครอบครัวฯ จังหวัดลาพูน กับศูนย์พัฒนาราษฎร
บนพ้ืนที่สูง จังหวัดเชียงใหม่ เพ่ือสร้างองค์ความรู้
ทางการตลาดออนไลน์แก้ไขปัญหาด้านการตลาดในช่วง
สถานการณ์โควิด - 19 และสร้างความเข้มแข็งในชุมชน
พัฒนาขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยอย่างยั่งยืน จานวน 30 คน
ในระหว่างวันที่ 2 – 4 เมษายน 2564 ณ ห้องประชุมนิคมฯ
ดอยเชียงดาว ศูนย์พัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขา
จงั หวัดเชยี งใหม่

หนา้ ๓๕

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู
3.5.5 โครงการอบรมเครอื ข่ายและขยายผลด้านการ
ปูองกันและแก้ไขปัญหาการค้าประเวณีผ่านกลไกชมรม
คบเด็กสร้างบ้าน (อบอุ่น) จังหวัดลาพูน ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 (รุ่นท่ี 1/ 2564) โดยมีวิทยากร
กระบวนการจากมูลนิธิเพื่อความเข้าใจเด็ก (FOCUS)
เครือข่ายสถานพยาบาล โรงพยาบาลลาพูน และองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อเพิ่มพูนทักษะชีวิตและองค์
ความรู้ให้แก่กลุ่มเปูาหมาย ได้แก่ แกนนาเยาวชนใน
โรงเรยี น/ในพื้นท่ี ทก่ี าลงั ศึกษาอยู่ระดับช้ันมัธยมศึกษาปี
ที่ 1-6 จานวนรุ่นละ 30 คน ในวันที่ 13 กรกฎาคม 2564
ณ โรงเรียนทาขมุ เงินวิทยาคาร อาเภอแมท่ า จงั หวัดลาพนู

3.5.6 โครงการขับเคลื่อนการจัดสวัสดิการแม่เลี้ยงเดี่ยว
และ คร อ บครั ว “ศูน ย์บริ ก ารแม่เล้ี ยง เดี่ ยวและ คร อ บครั ว ”
ซ่ึงจัดต้ังข้ึนเพื่อขับเคลื่อนการจัดสวัสดิการแม่เลี้ยงเด่ียว
และครอบครัวในศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว
เพ่ิมช่องทางให้แม่เล้ียงเด่ียวและครอบครัวสามารถเข้าถึง
บริการความช่วยเหลือ คาแนะนาปรึกษา และแก้ไขปัญหา
เบ้ืองต้นได้อย่างครบวงจร ส่งผลให้เกิดต้นแบบการจัด
สวัสดิการแม่เลี้ยงเด่ียวและครอบครัวในระดับพ้ืนท่ี ที่
หน่วยงานอื่นสามารถนาไปปรับใช้และขยายผลในการ
ดาเนินงานจัดสวัสดิการได้ ณ ศูนย์เรียนรู้ การพัฒนาสตรี
และครอบครวั ฯ จงั หวดั ลาพูน

หน้า ๓๖

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู
3.5.7 โครงการขบั เคล่อื นศูนย์แห่งการเรียนรู้ครบวงจรด้านสตรีและครอบครัว (Learning Center)
เพื่อเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ที่นาการประมวลความรู้และการจัดการความรู้มาร่วมขับเคล่ือน
งานในรปู แบบใหม่ เสริมความรู้ดา้ นสตรีและครอบครัว ความเสมอภาคระหว่างเพศ ปูองกันและลดปัญหา
ความรุนแรงในครอบครัว และสง่ เสริมการมกี จิ กรรมรว่ มกนั ของทุกช่วงวยั ในรูปแบบ Play & Learn

หนา้ ๓๗

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู
3.5.8 โครงการ "หนว่ ยบาบดั ทกุ ข์ บารุงสขุ จงั หวัดลาพูนเคล่อื นท่ี
ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ จังหวัดลาพูน
เข้าร่วมโครงการ "หน่วยบาบัดทุกข์ บารุงสุข จังหวัดลาพูนเคล่ือนท่ี" ทั้งนี้ศูนย์ฯ ได้ประชาสัมพันธ์
หลักสูตรฝึกอาชีพระยะสั้นภายในสถาบัน แจกส่ือประชาสัมพันธ์พร้อมรับสมัครฝึกอาชีพเคล่ือนท่ี
และบริการนวดแผนไทยเพื่อสุขภาพ (ฟรี) แจกยาหม่องสมุนไพร มีผู้เข้ารับบริการทั้งหมด 147 คน
ณ โรงเรียนสามัคคีศรีวิชัย อาเภอทุ่งหัวชา้ ง จงั หวัดลาพนู

3.5.9 โครงการกิจกรรม 5 ส
เป็นกจิ กรรมท่ีขบั เคลอ่ื นนโยบายกิจกรรม 5ส ในหน่วยงานเพอื่ สรา้ งรากฐานสู่การยกระดับพัฒนา

องค์กรสู่ความเป็นเลิศ โดยทาความสะอาด บริเวณตึกอานวยการ ห้องทางานทุกกลุ่ม/ฝุาย อาคารเรือนนอน
เก็บกวาดทาความสะอาด ปลอดโปร่งโล่งสบาย อากาศถ่ายเทได้สะดวก เช็ด ถู โดยน้ายาฆ่าเชื้อโรค
ตามหลักการ 5ส (สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสัย) และมาตรการปูองกันการแพร่ระบาด
ของเชื้อไวรัสโคโรนา่ 2019 ภายในศนู ย์ฯ

หนา้ ๓๘

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู
3.5.10 การจดั เตรยี มความพรอ้ มอาคาร สถานท่ี ระบบบริหารจดั การ ตามมาตรการปูองกัน ควบคุม
เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ของศูนย์ฯ เพ่ือสร้างความม่ันใจด้านความปลอดภัยให้กับผู้เข้ารับ
การฝึกอบรมอาชีพ ตามแนวทางชีวิตวิถีใหม่ New Normal “ฝึกอาชีพอย่างมั่นใจ ห่างไกลภัยโควิด-19”
ได้แก่ การจัดทาจุดบริการที่กดเจลแอลกอฮอล์แบบเท้าเหยียบ จานวน 10 จุด ก่อนขึ้น-ลง อาคารต่างๆ
โดยรอบบริเวณของศูนย์ฯ และการจัดฉากกั้น (บริเวณโรงอาหาร) เส้นทางเดินในการสร้างระยะห่าง
ปราศจากแออัด

หน้า ๓๙

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู
3.5.11 กิจกรรมปฐมนิเทศ และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ให้กับผู้เข้ารับการอบรมวิชาชีพ
หลักสูตรระยะสั้นภายในสถาบัน ประจาปีงบประมาณ 2564 ได้ชมวีดีทัศน์ แนะนาบทบาทภารกิจของ
ศูนย์ฯ, แนะนาบุคลากร เจ้าหนา้ ท่ีศนู ย์ฯ และจัดกิจกรรมกลมุ่ สมั พนั ธ์ เพอ่ื สร้างสัมพนั ธภาพ “รจู้ ักเขา รู้จัก
เรา ร้จู ักตนเอง” สร้างความร้คู วามเขา้ ใจจากฐานเรียนรู้ด้านสตรีและครอบครัว ได้แก่ ฐานที่ 1 (Gender),
ฐานท่ี 2 (Learning Center), ฐานท่ี 3 (ลกู เตา๋ 6ดา้ นสายสมั พนั ธค์ รอบครวั ) และ ฐานที่ 4 (สามัคคีคือพลัง)
ณ หอ้ งประชุมอาคารราตรี ช้ัน 1 ของศนู ยเ์ รียนร้กู ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั ฯ จงั หวัดลาพูน

หน้า ๔๐

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู
3.5.12 ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวฯ จังหวัดลาพูนได้ดาเนินการจัด กิจกรรม
พัฒนาศักยภาพสตรีและครอบครัวในพ้ืนที่อาเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลาพูน ตามโครงการฝึกทักษะอาชีพ
ระยะส้ันในชุมชนและได้จัดอบรมให้ความรู้ในเรื่องของการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัยในการทาอาชีพ
เกษตรกร โดยมีวิทยากรจากสานักงานเกษตรอาเภอทุ่งหัวช้าง, การสร้างพ้ืนที่ปลอดภัยแก่สตรีและ
ครอบครัว ความรแู้ ละทกั ษะความปลอดภัยในการดารงชีวิต โดยมีวิทยากรจากสถานีตารวจภูธรทุ่งหัวช้าง
จังหวัดลาพูน, การดูแลสุขภาพองค์รวมแก่สตรีและครอบครัว และการเสริมสร้างพัฒนาคุณแม่เล้ียงเด่ียว
ในพน้ื ท่ี โดยมวี ิทยากรจากโรงพยาบาลทุง่ หัวช้าง กล่มุ บรหิ ารปฐมภมู แิ ละองค์รวม และการเป็นอาสาสมัคร
พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ การเสริมสร้างความเป็นผู้นาสตรีความเสมอภาคระหว่างเพศ
และการเสริมสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวไร้ความรุนแรง โดยมีวิทยากรจากศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรี
และครอบครัวเฉลมิ พระเกยี รติ 72 พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพูน

หนา้ ๔๑

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู
3.5.13 วันที่ 8 กันยายน 2564 นางวริยา สนิทวาที ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรี

และครอบครัวเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ จังหวัดลาพูน มอบหมายให้กลุ่มแผนงาน
และวชิ าการ ดาเนินการจัดประชุมแนวทางการจัดสวัสดิการและการสร้างทางเลือกในการประกอบอาชีพ
และพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่สตรีและครอบครัวที่ประสบปัญหาทางสังคม ในพ้ืนท่ีศูนย์พัฒนาครอบครัว
ในชุมชนจังหวัดลาพูน ผ่านระบบ Zoom Meeting เพื่อนาเสนอบทบาทและภารกิจของศูนย์พัฒนา
ครอบครัวในชุมชน การส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาอาชีพ การส่งเสริมการจัดสวัสดิการและสังคม
สงเคราะห์ และการสร้างพื้นท่ีแห่งครอบครัว พื้นท่ีแห่งความสุข (Family Happy Space) ให้กับศูนย์
พฒั นาครอบครวั ในชุมชนจังหวัดลาพนู (จานวน 9 อปท.) ในการนท้ี ่านผอู้ านวยการศูนย์ฯ เป็นประธานการ
ประชุมฯ ได้กล่าวถึงภารกิจและการดาเนินงานของศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวฯ จ.ลาพูน
ณ ห้องประชุมศูนยป์ ฏิบตั กิ าร ศปปก.พม. ของศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรแี ละครอบครัวฯ จังหวดั ลาพูน

หน้า ๔๒

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

มาตรการในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด-19)
ระหวา่ งเดือน มถิ นุ ายน ถงึ กันยายน 2564

ของศูนยเ์ รียนรูก้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครัวเฉลิมพระเกยี รติ 72 พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวัดลาพูน

1. มาตรการในการฝึกอาชีพ

(1) การสอบประวัติการเดนิ ทาง (Time Line) ของผเู้ ขา้ รบั การอบรมอาชพี ก่อนรับเขา้ สถานทฝี่ ึกอาชีพ
ในช่วงเวลา 14 วัน ตามแบบที่ศูนย์ฯกาหนด พร้อมติดตั้งและใช้งานแอปพลิเคช่ัน “หมอชนะ” ควบคู่กับ
การใชแ้ อปพลิเคชนั่ “ไทยชนะ” เพอื่ ลดความเสยี่ งหรือเล่ยี งจากการติดเชื้อ ก่อนเข้าร่วมกิจกรรมฝึกอาชีพ
หากพบว่าผู้เข้าฝึกอาชีพรวมถึงบุคคลในครอบครัวเป็นผู้เดินทางมาจาก หรือกลับมาจากจังหวัดท่ีกรม
ควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ประกาศให้เป็นพ้ืนที่ควบคุมสูงสุด (สีแดง) จะไม่อนุญาตให้เข้าร่วม
กิจกรรมการฝึกอาชพี หรอื เข้าในสถานท่ขี องศูนย์ฯ เวน้ แต่ได้รบั การการรับรองจากพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือ
สานกั งานสาธารณสขุ ในพ้นื ท่ี

(2) ทาความสะอาดพ้ืน พืน้ ผวิ สัมผสั ร่วมบ่อยๆ และอุปกรณ์ในการฝึกอาชีพ ท้ังก่อน ระหว่าง และหลัง
การฝกึ อาชีพ รวมถึงห้องสุขา และให้กาจดั ขยะมูลฝอยทกุ วนั

(3) ใหเ้ จ้าหน้าทผี่ ปู้ ฏิบตั งิ าน วิทยากร ผู้ฝึกอบรมอาชีพ และผู้เข้าร่วมกิจกรรมในสถานที่ สวมหน้ากาก
อนามยั หรอื หน้ากากผ้า ตลอดเวลา

(4) ให้มีจุดบรกิ ารลา้ งมอื ด้วยสบู่ หรอื แอลกอฮอลเ์ จล หรอื นา้ ยาฆ่าเชอื้ โรค
(5) ใหเ้ วน้ ระยะนง่ั ยืน และระยะห่างในการฝึกอาชีพ อยา่ งนอ้ ย 1 เมตร
(6) ให้ควบคุมผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่ให้แออัด ลดระยะเวลา หรือเพิ่มการพักระหว่างการทากิจกรรม
คร้ังละไมเ่ กนิ 2 ชั่วโมง เพอ่ื ใหม้ ีการทาความสะอาดพ้นื ท่ีและจดั ให้มีการระบายอากาศภายในอาคารที่ดีใน
สถานท่ฝี กึ อาชพี รวมถึงภายในห้องสขุ า
(7) จัดให้มีการแนะนาให้ความรู้แก่ เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงาน วิทยากร ผู้ฝึกอบรมอาชีพ และผู้เข้าร่วม
กจิ กรรมในสถานท่ี ถงึ มาตรการการปูองกันโรค พร้อมลงทะเบยี นยนื ยันการปฏิบัติตามมาตรการปูองกนั โรค
ท่ีทางราชการกาหนด การแบ่งพื้นท่ีสาหรับการฝึกอาชีพ สถานท่ีใช้ชีวิตในศูนย์ฯ และสถานที่สาหรับ
ผู้ปฏิบัติงาน (Zoning) โดยจัดให้มีเอกสารให้ความรู้ การปฏิบัติตน และการสังเกตตนเอง ในสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโควิด – 19
(8) ใหม้ กี ารควบคมุ ทางเข้าออก การลงทะเบียนก่อนเข้าและออกจากสถานที่ หรือสแกนแอปพลิเคชั่น
“ไทยชนะ” ให้มีมาตรการคัดกรองวดั ไขแ้ ละบันทกึ อณุ หภูมทิ ุกครง้ั
(9) ให้งดเว้นการรับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มร่วมกัน โดยจัดให้มีการแยกภาชนะ เว้นระยะห่าง
ระหว่างโต๊ะ ที่นั่ง ระยะห่างระหว่างการเดิน อย่างน้อย 1 เมตร และจัดให้มีการเหล่ือมเวลาในการ
รบั ประทานอาหาร ดงั นี้

(9.1) หลกั สตู รการฝึกอาชีพ ระยะสั้น 1 เดือน ให้รบั ประทานอาหารกลางวันในเวลา 11.00 – 12.00 น.

หน้า ๔๓

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ANNUAL REPORT ๒๐๒๑

ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๒ พรรษา บรมราชนิ นี าถ จงั หวดั ลาพนู

(9.2) หลกั สูตรการฝกึ อาชีพ ระยะส้นั 3 เดอื น ใหร้ ับประทานอาหารกลางวันในเวลา 12.00 –13.00 น.
(10) จัดสถานท่ีนอนพักค้าง สาหรับผู้ฝึกอบรมอาชีพระยะส้ัน ท่ีเดินทางมาจากต่างจังหวัด
โดยลดสัดส่วนจานวนเตียงนอนต่อห้องไม่ให้แออัด และขยายพื้นท่ีในการใช้สาหรับพักค้าง และจัดพ้ืนท่ี
สาหรบั การดาเนินชีวิต อาทิ ห้องอาบน้า ห้องสุขา ท่ีน่ัง เตียงนอน ทางเดิน ฯลฯ โดยยึดหลักการเว้นห่าง
อย่างน้อย 1 เมตร มีการจัดแผนผังตาแหน่งเตียงนอนให้มีช่ือ-สกุล รวมถึงจัดกลุ่มผู้ฝึกอบรมอาชีพ
ในหลักสูตรการฝึกอาชพี และภูมิลาเนาเดยี วกันพกั รว่ มกันอยา่ งไมป่ ะปน
(11) ให้มีการบูรณาการหน่วยงานหรือผู้ปฏิบัติหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้อง อาทิ ที่ว่าการอาเภอ สานักงาน
สาธารณสุขประจาอาเภอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล องค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน อาสาสมัคร
สาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ในการคัดกรองปูองกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019
(โควิด-19) ในพ้ืนทฝ่ี กึ อาชพี
(12) ใหก้ าหนดแนวปฏบิ ัติ/ข้อกาหนด อืน่ ๆ ในสว่ นทเี่ กี่ยวขอ้ ง ตามแต่ท่ีเหน็ สมควรโดยไมข่ ัดตอ่
กฎหมาย ระเบยี บ หลกั เกณฑ์ต่างๆ ของคาส่ังศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรน่า 2019 (โควดิ -19)

2. มาตรการปอ้ งกันสาหรบั เจ้าหนา้ ทผี่ ู้ปฏบิ ตั งิ าน วิทยากร และผ้ฝู ึกอบรมอาชพี

(1) ใหเ้ จ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัตงิ าน วทิ ยากร และผฝู้ ึกอบรมอาชีพ สวมหนา้ กากอนามัย/หนา้ กากผา้ อยา่ ง
เครง่ ครดั ตลอดระยะเวลาในการฝกึ อาชีพ

(2) ให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน วิทยากร และผู้ฝึกอบรมอาชีพ ผ่านการคัดกรอง ณ จุดคัดกรองไวรัสโควิด-19
(เรือนพีเ่ รือนน้อง) กอ่ นเข้าสถานท่ีฝึกอาชีพ หรือหอ้ งฝึกอาชีพ เพอื่ วดั อุณหภูมิร่างกาย ซึ่งต้องไม่เกิน 37.5
องศาเซลเซียส และล้างมือด้วยเจลหรือสเปรย์แอลกอฮอล์ หากเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน วิทยากร
และผู้เข้ารับการอบรม มีอุณหภูมิร่างกายเกิน 37.5 องศาเซลเซียส จะไม่อนุญาตให้เข้าสถานท่ีฝึกอาชีพ
และจัดใหม้ กี ารลงทะเบียนการเขา้ ออกทกุ ครง้ั รวมถงึ การบันทกึ อุณหภูมริ า่ งกายในทุกวัน และติดสติ๊กเกอร์
เพ่ือแสดงวา่ ผา่ นจดุ คัดกรองแลว้ ในทกุ วัน

(3) ไม่อนุญาตให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน วิทยากร และผู้ฝึกอบรมอาชีพ ที่มีอาการไข้ ไอ จาม เจ็บคอ
มีน้ามูก เหนื่อยหอบ มาปฏิบัตงิ านหรือฝึกอาชพี และใหเ้ ข้ารับการรักษาตัวในสถานบริการสาธารณสุข

(4) ให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน วิทยากร และผู้ฝึกอบรมอาชีพ ต้องเก็บขยะมูลฝอยท่ีปนเปื้อนเสมหะ
น้ามูก น้าลาย เช่น กระดาษเช็ดปาก กระดาษชาระ ในห้องสุขา ต้องมีการปูองกันตนเอง โดยใส่อุปกรณ์
ปูองกัน เช่น หน้ากากอนามัย ถุงมือยางและใช้เหล็กคีบด้ามยาวเก็บมูลฝอยใส่ถุงบรรจุมูลฝอยปิดปากถุง
ใหม้ ดิ ชิด นาไปรวบรวมไวท้ พ่ี กั มูลฝอยและล้างมือหลงั ปฏิบัตงิ านทกุ คร้ัง

หนา้ ๔๔


Click to View FlipBook Version