The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการเรียนการสอนอายุรศาสตร์ นศพ.ปี4 19.05.65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chatimontee_65, 2022-05-19 06:48:08

คู่มือการเรียนการสอนอายุรศาสตร์ นศพ.ปี4

คู่มือการเรียนการสอนอายุรศาสตร์ นศพ.ปี4 19.05.65

Keywords: การสอน

คมู่ อื การเรยี นการสอนและการปฏบิ ตั ิงาน
รายวิชาอายรุ ศาสตร์

สาหรบั นสิ ติ แพทยช์ ั้นปที ่ี ๔
หลกั สตู รแพทยศาสตรบัณฑิต หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๕๖

มหาวทิ ยาลัยบูรพา

ศนู ยแ์ พทยศาสตรศึกษา โรงพยาบาลสมเดจ็ พระป่นิ เกลา้ กรมแพทยท์ หารเรือ

คานา

คู่มือการเรียนการสอนรายวิชาอายุรศาสตร์ สาหรับนิสิตแพทย์ช้ันปีที่ ๔ หลักสูตรแพทยศาสตร
บัณฑิต ประกอบด้วย ๓ รายวิชา ได้แก่ อายุรศาสตร์ ๑ (Medicine I) รหัสวิชา ๕๘๐๔๐๑ อายุรศาสตร์ ๒
(Medicine II) รหัสวิชา ๕๘๐๔๐๒ และอายุรศาสตร์ ๓ (Medicine III) รหัสวิชา ๕๘๐๔๐๓ โดยจัดการเรียน
การสอนแบบบูรณาการ รวม ๑๐ สัปดาห์ สาระสาคัญประกอบด้วย วัตถุประสงค์ ขอบเขตของเน้ือหาวิชาท่ี
ต้องเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ส่ือการเรียนการสอนและการประเมินผล ตลอดจนระเบียบ
ปฏิบตั ิสาหรบั นิสิตแพทย์ในการฝกึ ปฏบิ ัตงิ าน

คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือนี้จะเป็นประโยชน์ต่อนิสิตแพทย์เพ่ือเป็นแนวทางในการเรียนรู้
และการปฏิบัติงาน ตลอดจนเปน็ ประโยชนต์ ่อการดูแลผ้ปู วุ ยต่อไปในอนาคต

สาขาวชิ าอายรุ ศาสตร์
พฤษภาคม ๒๕๖๔

สารบัญ ๑
ตอนท่ี ๑ ข้อมูลของรายวิชา ๑

๑. รายวชิ าอายรุ ศาสตร์ ๑ ๕
๒. รายวชิ าอายุรศาสตร์ ๒ ๖
๓. รายวชิ าอายุรศาสตร์ ๓ ๗
๔. หนังสืออา่ นประกอบ ๙
๕. รายนามอาจารยแ์ พทย์ สาขาวิชาอายรุ ศาสตร์ ๙
ตอนท่ี ๒ รายละเอียดกจิ กรรมการเรยี นการสอนและการปฏบิ ตั ิงาน ๙
๑. ตารางหมุนเวียนนสิ ิตแพทย์ ๑๐
๒. โครงสร้างตารางเรียน ๑๐
๓. กจิ กรรมการเรียนการสอนนิสติ แพทย์ ๑๒
๑๒
๓.๑ ตารางการออกตรวจผู้ปุวยนอก ๑๔
๓.๒ ตาราง Bed side teaching ๑๕
๓.๓ ตารางการนาเสนอ Case study ๑๖
๓.๔ ตารางสอนบรรยาย (lecture) ๑๖
๓.๕ การเรยี นในหอผู้ปวุ ย ๑๘
๓.๖ แนวทางการจ่ายผู้ปวุ ยใหน้ สิ ติ แพทย์ ๑๘
๓.๗ แนวทางการเขยี นและส่งรายงานผู้ปวุ ย ๑๙
๓.๘ Teaching Round ๑๙
๓.๙ การเรียนทหี่ อ้ งตรวจโรคผปู้ วุ ยนอก (OPD) ๒๐
๓.๑๐ กิจกรรมในห้องเรียน ๒๒
๔. การลากิจและลาปุวย ๒๒
๕. การวดั และประเมินผล ๒๔
๖. ขอ้ ปฏิบัติอ่นื ๆ ของนิสติ แพทย์ รายวชิ าอายุรศาสตร์ ๒๗
ภาคผนวก ๒๘
- แบบรายงานผ้ปู ุวย ๒๙
- แบบประเมินการเขียนรายงานผ้ปู วุ ย (กล่มุ ปฏบิ ตั งิ าน) ๓๐
- แบบประเมนิ การเขยี นรายงานผู้ปุวย (รายบคุ คล) ๓๒
- แบบประเมิน case study ๓๓
- แบบประเมินการสอบรายยาว long case ๓๔
- แบบประเมนิ การเขยี นรายงาน Report Assessment Form ๓๕
- แบบประเมินการบนั ทึกเวชระเบยี น ๓๖
- แบบประเมิน teaching round
- แบบประเมนิ การปฏบิ ตั งิ านของนิสติ แพทย์
- สมุดบันทึกกจิ กรรมวิชาการและหัตถการ(Logbook)

คมู่ ือการเรียนการสอน ศนู ยแ์ พทยศาสตรศึกษา รพ.สมเดจ็ พระปิ่นเกลา้ พร. /๑

ตอนท่ี ๑ ข้อมลู ของรายวชิ า

๑. อายุรศาสตร์ ๑ Medicine I
๑. ช่ือวิชา : ๕๘๐๔๐๑๖๓ อายรุ ศาสตร์ ๑ Medicine I
๒. จานวนหนว่ ยกติ : ๔(๓-๓-๖)
๓. ปีการศึกษา : พ.ศ.๒๕๖๕
๔. ผู้เรียน : นิสติ หลักสตู รแพทยศาสตรบณั ฑติ ชน้ั ปที ี่ ๔
๕. หลกั สตู ร : แพทยศาสตรบณั ฑติ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๕
๖. สถานภาพวชิ า : หมวดวชิ าเฉพาะ / วชิ าบังคบั / กลมุ่ วิชาชีพ
๗. รายวชิ าทีต่ ้องเรยี นมาก่อน : ๕๗๐๓๐๓๖๓ บทนาทางคลนิ คิ
๘.รายวิชาท่ีต้องเรยี นพร้อมกัน : ๕๘๐๔๒๖๓ อายุรศาสตร์ ๒ และ ๕๘๐๔๐๓๓ อายุรศาสตร์ ๓
๙. คาอธิบายรายวิชา :

วิธีการซักประวัติตรวจร่างกาย อาการวิทยาในระบบต่าง ๆ การรวบรวมข้อมูลทางคลินิก เพื่อการ
วินิจฉัย แนวทางการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการและการแปลผลเบ้ืองต้น การวินิจฉัยเบื้องต้น การให้เหตุผล
และกาตัดสินใจทางคลินิก ปัญหาแกนทางคลินิก ทักษะในการประเมินและการดูแลผู้ปุวยแบบองค์รวม การ
บนั ทกึ และการเขียนรายงานผู้ปุวย ทักษะในการสร้างความสัมพันธ์และการสื่อสารกับผู้ปุวยและญาติ มารยาท
ในการซักประวัติและตรวจร่างกาย หัตถการพื้นฐานก่อนเข้าปฏิบัติงานจริงในหอผู้ปุวยความปลอดภัยของ
ผปู้ ุวย จริยธรรมวชิ าชพี เวชกรรม
๑๐. จุดมงุ่ หมายของรายวชิ า

๑. วิจารณค์ วามหมายความสาคญั กลไกการเกดิ โรคสาเหตปุ จั จัยเสี่ยงในการเกดิ โรควทิ ยาการระบาด
คลินิก อาการสาคัญอาการท่ีพบบ่อยสัญญาณโรคการวินิจฉัยเบ้ืองต้นการดาเนินโรคการพยากรณ์โรคแนวทาง
ในการดูแลรกั ษาและการปูองกันของโรค ตามเกณฑ์ความรู้ความสามารถในการประเมินเพื่อขอรับอนุญาตเป็น
ผู้ประกอบวิชาชพี เวชกรรม พ.ศ. ๒๕๕๕ หมวดที่ ๒ กลุ่มท่ี๑ - ๓ ทีเ่ ก่ยี วข้องโรค/กล่มุ อาการทางอายุรศาสตร์

๒. อธิบายหลักการใช้ยาและผลข้างเคยี งของยาท่ีสาคญั ท่ีใช้ในการรักษาโรค
๓. อธิบายขอ้ บ่งชีข้ อ้ หา้ มภาวะแทรกซ้อนในการตรวจสภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสมการเตรยี มผปู้ วุ ย
ขน้ั ตอนการตรวจใช้เครือ่ งมือตา่ งๆในการตรวจห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษการตรวจทางรังสีวิทยา และ
การตรวจอื่นๆและหัตถการระดับ ๑ ของภาคผนวก ข. ตามเกณฑ์ความรู้ความสามารถในการประเมิน เพ่ือ
ขอรับอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. ๒๕๕๕ หมวดท่ี ๓ ข้อ ๓.๑ และ ๓.๓ ส่วนที่เก่ียวข้องกับ
อายุรศาสตร์
๔. สอ่ื สารกบั ผูป้ วุ ยและญาตไิ ดอ้ ยา่ งสภุ าพและเหมาะสม มมี ารยาท คานึงถงึ ความแตกตา่ งใน
ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละวัฒนธรรม แสดงออกถึงบุคลกิ ภาพอันเป็นท่นี า่ เช่ือถือ
๕. ตระหนักถงึ ความสาคญั ของคายินยอมของผ้ปู วุ ยและผ้อู นุบาลตามกฎหมาย ในการซักประวัติ ตรวจ
รา่ งกาย การตรวจเพ่ิมเติม การรักษา การขอขอ้ มลู จากแหลง่ อืน่ เคารพสิทธิผู้ปวุ ย
๖. มีมนุษย์สัมพันธ์กับผู้ปุวย ญาติผู้ปุวย อาจารย์ แพทย์รุ่นพ่ี พยาบาล ผู้ร่วมงาน ฯลฯ ได้อย่าง
เหมาะสมตามวัฒนธรรมไทย

คมู่ อื การเรียนการสอน ศนู ย์แพทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเดจ็ พระป่นิ เกล้า พร. /๒

๗. ปฏิบัติไดถ้ กู ต้องตามจรยิ ธรรมวิชาชพี เวชกรรม

๘. มนี ิสัยใฝุรู้ และสามารถค้นคว้าหาข้อมูลให้ทันความกา้ วหน้าทางวชิ าการจากแหลง่ ข้อมูลต่างๆ โดย

สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

๙. ตรงตอ่ เวลา มคี วามซื่อสัตย์ มีความรบั ผดิ ชอบ

๑๑. การเรียนการสอน :

ภาคทฤษฎี - บรรยาย และอภปิ รายสลับการซกั ถาม

- การแสดงและอภปิ รายโจทย์ปญั หาผปู้ วุ ย

การศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง

ภาคปฏิบัติ - สังเกตการสาธติ และปฏิบตั ิตาม การซักประวตั ิ

การตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏบิ ตั ิการและการปฏิบัตหิ ัตถการ

- การฝกึ ปฏิบตั ิกับผู้ปุวยในและผู้ปวุ ยนอก

- การปฏบิ ัติงานในหอผ้ปู ุวยตามท่ไี ด้รบั มอบหมาย

ท้ังในและนอกเวลาราชการ

ภาคเจตคตแิ ละจรยิ ธรรม - ตอ้ งนามารยาท พฤตกิ รรม เจตคติ จริยธรรมวชิ าชพี

มาปฏบิ ัติทกุ ขน้ั ตอนของการเรยี นรู้

- ประพฤติตามอาจารยท์ เ่ี ป็นแบบอย่าง (role model)

ทีด่ ใี นด้านเจตคติและจรยิ ธรรมวชิ าชีพ

๑๒. การวดั และประเมินผล

องคป์ ระกอบการวดั ผล สัดส่วนการวัดผล วิธกี ารวัดผล เกณฑผ์ ่าน
๑. ภาคทฤษฎี อิงกลุ่ม รอ้ ยละ ๗๕ สอบ MCQ > รอ้ ยละ ๖๐
๒. ภาคปฏิบตั ิ อิงเกณฑ์ ร้อยละ ๒๕ Case study > รอ้ ยละ ๖๐
๓. ภาคเจตคตแิ ละ - - ประเมิน CPA สว่ น > ร้อยละ ๖๐
จริยธรรม ผ่าน/ไม่ผา่ น Affective domain

การตัดสนิ ผล เปน็ ไปตามประกาศมหาวทิ ยาลยั บรู พา คณะและรายวชิ า และต้องผา่ นเกณฑ์ด้านเจคติ

คู่มือการเรียนการสอน ศนู ยแ์ พทยศาสตรศึกษา รพ.สมเด็จพระป่ินเกล้า พร. /๓

๒. อายุรศาสตร์ ๒ Medicine II
๑. ชื่อวิชา : ๕๘๐๔๐๒๖๓ อายุรศาสตร์ ๒ Medicine II
๒. จานวนหน่วยกิต : ๓(๑-๖-๒)
๓. ปกี ารศึกษา / ภาค : พ.ศ. ๒๕๖๕
๔. ผเู้ รยี น : นิสติ หลกั สูตรแพทยศาสตรบัณฑติ ชน้ั ปีท่ี ๔
๕. หลักสูตร : แพทยศาสตรบัณฑติ หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๕
๖. สถานภาพวิชา : หมวดวิชาเฉพาะ / วิชาบงั คบั / กลมุ่ วิชาชีพ
๗. รายวิชาทต่ี ้องเรยี นมาก่อน : ๕๗๐๔๐๑ บทนาทางคลินคิ
๘. รายวชิ าทตี่ ้องเรียนพร้อมกนั : ๕๘๐๔๐๑ อายุรศาสตร์ ๑ และ ๕๘๐๔๐๓ อายุรศาสตร์ ๓
๙. คาอธบิ ายรายวชิ า : การซกั ประวตั ิ การตรวจรา่ งกายผู้ปวุ ยทางอายรุ ศาสตร์ การเขียนรายงานผปู้ ุวย การ
วนิ จิ ฉยั ทางรงั สีวิทยา การประมวลข้อมลู เพ่ือการวินจิ ฉัย การวนิ ิจฉยั แยกโรค การวางแผนและการสัง่ การ
รกั ษา หลักเวชศาสตร์เชิงประจกั ษ์ การขอคายินยอมการรักษา การหาแนวทางรว่ มกับผปู้ ุวยและญาติในการ
ตัดสินใจการรักษา การดแู ลผู้ปุวยแบบองค์รวม ความปลอดภยั ของผู้ปุวย จรยิ ธรรมวชิ าชีพ เวชกรรม
๑๐. จดุ มุง่ หมายของรายวชิ า

๑. อธิบาย ขอ้ บ่งชี้ ข้อห้าม ภาวะแทรกซอ้ นในการตรวจ สภาพและเง่อื นไขทเ่ี หมาะสม การเตรียมผปู้ วุ ย
ข้นั ตอนการตรวจใชเ้ ครือ่ งมือต่างๆ การตรวจทางรังสีวิทยา และการตรวจอื่นๆตามเกณฑ์ความรู้ความสามารถ
ในการประเมินเพอื่ ขอรับอนญุ าตเป็นผปู้ ระกอบวิชาชพี เวชกรรม พ.ศ.๒๕๕๕ หมวดที่ ๓ ขอ้ ๓.๒

๒. สามารถซักประวตั ิ การตรวจรา่ งกายและประมวลขอ้ มูลเพื่อการวินิจฉยั วนิ จิ ฉยั แยกโรควางแผนและ
ส่งั การรกั ษา

๓. บันทึกเวชระเบียนผูป้ วุ ยได้ถูกตอ้ งและครบถว้ นตามประกาศของแพทยสภาภายในระยะเวลาท่ีกาหนด
และถกู ตอ้ งตามหลกั ภาษา ตดิ ตามผลการรักษาและบันทึกความก้าวหน้า การเปล่ียนแปลงของผู้ปุวยอย่างเป็น
องคร์ วม

๔. เขยี นและสรุปรายงานทางการแพทยไ์ ดถ้ ูกต้องตามหลกั ภาษาและภายในระยะเวลาท่ีกาหนด
๕. เขยี นรายงาน วจิ ารณ์ การวินิจฉยั การดแู ลรักษาได้เหมาะสม ถูกต้องตามหลักวิชา และถกู ตอ้ งตาม
หลกั ภาษาภายในเวลาท่ีกาหนด
๖. สอื่ สารกบั ผปู้ ุวยและญาติไดอ้ ย่างสภุ าพและเหมาะสม มมี ารยาท คานึงถึงความแตกตา่ งใน
ขนบธรรมเนียมประเพณีและวฒั นธรรม แสดงออกถึงบุคลิกภาพอนั เปน็ ท่นี ่าเชื่อถือ

๗. สอื่ สารกับผู้ปุวยทม่ี ปี ัญหาหรอื ไมใ่ หค้ วามรว่ มมือและผอู้ นุบาลได้อยา่ งเหมาะสม

๘. ตระหนักถงึ ความสาคญั ของคายินยอมของผู้ปุวยและผู้อนุบาลตามกฎหมาย ในการซักประวัติ
ตรวจรา่ งกาย การตรวจเพม่ิ เติม การรกั ษา การขอข้อมลู จากแหลง่ อ่ืน เคารพสิทธผิ ู้ปุวย

๙. มีมนุษยสัมพนั ธก์ ับผู้ปุวย ญาตผิ ู้ปวุ ย อาจารย์ แพทย์รนุ่ พ่ี พยาบาล ผรู้ ว่ มงาน ฯลฯ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ตามวฒั นธรรมไทย

๑๐. ปฏบิ ัตไิ ดถ้ ูกต้องตามจรยิ ธรรมวชิ าชพี เวชกรรม
๑๑. มนี ิสยั ใฝุรู้ และสามารถค้นควา้ หาข้อมลู ให้ทนั ความก้าวหน้าทางวิชาการจากแหล่งข้อมลู ตา่ ง ๆ โดย
สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

คู่มอื การเรยี นการสอน ศนู ย์แพทยศาสตรศึกษา รพ.สมเด็จพระปน่ิ เกลา้ พร. /๔

๑๒. ตรงตอ่ เวลา มคี วามซอ่ื สัตย์ มีความรบั ผิดชอบ

๑๑. กิจกรรมการเรยี นการสอน :

ภาคทฤษฎี - บรรยาย และอภปิ รายสลับการซักถาม

- การแสดงและอภิปรายโจทยป์ ัญหาผู้ปวุ ย

- การศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง

ภาคปฏบิ ตั ิ - สังเกตการสาธติ และปฏิบัตติ าม การซักประวัติ

การตรวจรา่ งกาย การตรวจทางห้องปฏิบตั กิ าร

และการปฏบิ ตั หิ ตั ถการ

- การฝึกปฏิบัตกิ บั ผูป้ ุวยในและผู้ปวุ ยนอก

- การปฏบิ ตั ิงานในหอผู้ปุวยตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย

ทั้งในและนอกเวลาราชการ

- การฝกึ ปฏิบตั กิ ับหนุ่ จาลองทางอายุรกรรม

ภาคเจตคตแิ ละจรยิ ธรรม - ตอ้ งนามารยาท พฤตกิ รรม เจตคติ จริยธรรม วชิ าชพี

มาปฏบิ ตั ิทุกข้ันตอนของการเรียนรู้

- ประพฤตติ ามอาจารยท์ ่ีเป็นแบบอยา่ ง (role model)

ที่ดใี นด้านเจตคติและจรยิ ธรรมวิชาชพี

๑๒. การวัดและประเมินผล:

องค์ประกอบการวดั ผล สัดสว่ นการวดั ผล วิธีการวัดผล เกณฑผ์ ่าน
๑. ภาคทฤษฎี องิ กลุ่ม รอ้ ยละ ๓๐ สอบ MCQ > รอ้ ยละ ๖๐
๒. ภาคปฏิบตั ิ องิ เกณฑ์ ร้อยละ ๗๐ - สอบ Long case > รอ้ ยละ ๖๐
- การเขยี นรายงาน
๓. ภาคเจตคติและ - - การเขียน Progress note > รอ้ ยละ ๖๐
จรยิ ธรรม ผา่ น/ไมผ่ า่ น - ประเมิน CPA สว่ น
Affective domain

การสอบ Long case มกี ารจัดสอบชว่ งสัปดาหท์ ่ี ๗ - ๑๐ ของแตล่ ะชุด (นิสิตนัดเวลากับอาจารย์
ผู้สอนโดยมีอาจารย์ควบคุมการสัมภาษณ์ประวัติและตรวจร่างกาย นิสิตรายงานและอาจารย์ถาม ๖๐ นาที
เม่อื เสรจ็ สิ้นการสอบถาม นิสิตจะต้องกาหนดสิ่งท่ีตนเองยังไม่ทราบเมื่ออาจารย์เห็นด้วยให้ไปศึกษาด้วยตนเอง
และกลับมารายงานภายใน ๒๔ ชั่วโมง จึงจะเสร็จสิ้นการประเมินผล (ข้อมูลต่างๆ และกาหนดการอาจมีการ
เปลี่ยนแปลง ตามความเหมาะสม)

การตัดสินผล เปน็ ไปตามประกาศมหาวิทยาลยั บูรพา คณะและรายวิชา และต้องผ่านเกณฑด์ ้านเจคติ

คูม่ อื การเรียนการสอน ศนู ยแ์ พทยศาสตรศึกษา รพ.สมเด็จพระปน่ิ เกล้า พร. /๕

๓. อายุรศาสตร์ ๓ Medicine III
๑. ชอ่ื วิชา : ๕๘๐๔๐๓๖๓ อายุรศาสตร์ ๓ Medicine III
๒. จานวนหน่วยกติ : ๓(๑-๖-๒)
๓. ปีการศึกษา : พ.ศ. ๒๕๖๕
๔. ผ้เู รยี น : นิสิตหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ชั้นปที ่ี ๔
๕. สถานภาพวิชา : หมวดวชิ าเฉพาะ / วิชาบงั คบั / กลมุ่ วิชาชีพ
๖. หลกั สตู ร : แพทยศาสตรบัณฑิต หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๕
๗. รายวชิ าทต่ี ้องเรียนมาก่อน : ๕๗๐๓๐๓๖๓ บทนาทางคลินิค
๘. รายวชิ าทตี่ ้องเรียนพร้อมกนั : ๕๘๐๔๐๑๖๓ อายุรศาสตร์ ๑ และ ๕๘๐๔๐๒๖๓ อายรุ ศาสตร์ ๒
๙. คาอธบิ ายรายวชิ า : หัตถการพ้นื ฐานที่จาเป็นในการปฏิบตั ิงานในหอผู้ปุวยอายุรศาสตร์ การฟื้นกู้ชีพ การ
ตรวจและแปลผลทางหอ้ งปฏิบตั ิการ การตรวจและแปลผลคล่นื ไฟฟูาหวั ใจ การตรวจพิเศษทางอายุรกรรมอื่น
ๆ ตามเกณฑ์แพทยสภา ความปลอดภยั ของผูป้ ุวย จรยิ ธรรมวชิ าชพี เวชกรรม
๑๐. จดุ มุ่งหมายของรายวิชา

๑. ดูแลผู้ปวุ ยอย่างเปน็ องค์รวม สามารถทางานเปน็ ทีม รขู้ ้อจากัดของตนเอง คานงึ ถึงความปลอดภยั ของ
ผูป้ วุ ย

๒. สามารถทาหัตถการทจี่ าเป็น การฟืน้ กู้ชพี การตรวจและแปลผลทางห้องปฏิบัติการการตรวจแปลผล
คล่นื ไฟฟูาหัวใจการตรวจพเิ ศษทางอายุรกรรมอื่นๆตามเกณฑ์ความรู้ความสามารถในการประเมนิ เพื่อขอรับ
อนุญาตเปน็ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. ๒๕๕๕ หมวดที่ ๓ ข้อ ๓.๑และ๓.๓

๓. สื่อสารกบั ผู้ปวุ ยและญาตไิ ด้อย่างสุภาพและเหมาะสม มมี ารยาท คานงึ ถึงความแตกตา่ งใน
ขนบธรรมเนียมประเพณีและวฒั นธรรม แสดงออกถึงบุคลิกภาพอันเป็นท่นี ่าเช่อื ถอื

๔. ส่อื สารกบั ผ้ปู ุวยท่ีมปี ญั หาหรือไม่ใหค้ วามร่วมมอื และผูอ้ นุบาลได้อย่างเหมาะสม
๕. มมี นษุ ยสมั พนั ธ์กับผปู้ วุ ย ญาติผู้ปวุ ย อาจารย์ แพทย์รนุ่ พ่ี พยาบาล ผรู้ ว่ มงาน ฯลฯ ได้อย่างเหมาะสม
ตามวฒั นธรรมไทย
๖. ปฏบิ ตั ิไดถ้ กู ต้องตามจรยิ ธรรมวิชาชพี เวชกรรม
๗. มนี สิ ยั ใฝุรู้ และสามารถคน้ คว้าหาข้อมลู ใหท้ ันความก้าวหน้าทางวชิ าการจากแหล่งข้อมูลตา่ งๆ โดย
สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
๘. ตรงตอ่ เวลา มีความซ่ือสัตย์ มคี วามรับผิดชอบ
๑๑. การเรียนการสอน

ภาคทฤษฎี - บรรยาย และอภปิ รายสลับการซักถาม
- การแสดงและอภปิ รายโจทย์ปญั หาผปู้ ุวย
- การศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง

ภาคปฏบิ ัติ - สงั เกตการสาธิต และปฏบิ ัติตาม การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การตรวจทาง
หอ้ งปฏิบัติการและการปฏิบัติหตั ถการ

- การฝึกปฏบิ ตั กิ บั ผู้ปวุ ยในและผ้ปู วุ ยนอก
- การปฏิบตั ิงานในหอผู้ปุวยตามทไี่ ดร้ บั มอบหมายทั้งในและนอกเวลาราชการ

คู่มอื การเรียนการสอน ศูนยแ์ พทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเดจ็ พระป่ินเกลา้ พร. /๖

- การฝึกปฏบิ ตั ิกบั หุน่ จาลองทางอายุรกรรม
ภาคเจตคตแิ ละจรยิ ธรรม - ต้องนามารยาท พฤตกิ รรม เจตคติ จรยิ ธรรมวชิ าชีพ มาปฏิบัติทกุ ข้ันตอนของการเรยี นรู้

- ประพฤติตามอาจารย์ท่ีเปน็ แบบอย่าง (role model) ท่ดี ีในดา้ นเจตคติและ
จรยิ ธรรมวชิ าชีพ
๑๒. การประเมินผล

องค์ประกอบการวดั ผล สดั ส่วนการวดั ผล วิธีการวัดผล เกณฑ์ผา่ น
๑. ภาคทฤษฎี องิ กลุ่ม ร้อยละ ๓๐ สอบ MCQ > ร้อยละ ๖๐
๒. ภาคปฏบิ ตั ิ อิงเกณฑ์ ร้อยละ ๗๐ - Teaching round > รอ้ ยละ ๖๐
- สอบ OSCE
๓. ภาคเจตคตแิ ละ - - Clinical Performance > ร้อยละ ๖๐
จริยธรรม ผา่ น/ไม่ผา่ น Assessment จากการ
ปฏิบัติงานและการเรียนรู้จาก
ผปู้ ุวย
- ประเมนิ CPA สว่ น
Affective domain

การตดั สินผล เปน็ ไปตามประกาศมหาวทิ ยาลยั บูรพา คณะและรายวชิ า และต้องผ่านเกณฑด์ า้ นเจตคติ

๔. หนังสอื อา่ นประกอบ

วทิ ยา ศรีดามา (บรรณาธกิ าร). (๒๕๔๕). การสัมภาษณป์ ระวัตแิ ละตรวจร่างกาย. โรงพิมพย์ นู ิต้ี พับลิเคชั่น.
วทิ ยา ศรดี ามา (บรรณาธกิ าร). (๒๕๔๕-๒๕๔๖). ตาราอายุรศาสตร์ เล่ม ๑-๔ โรงพมิ พแ์ ห่งจฬุ าลงกรณ์

มหาวทิ ยาลยั .
วทิ ยา ศรดี ามา (บรรณาธิการ). (๒๕๕๔). Clinical Practice Guideline ๒๐๑๑ เล่ม ๒. พมิ พ์ครั้งที่ ๑.

กรงุ เทพมหานคร :
โรงพมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย โครงการตาราอายุรศาสตร์ ภาควชิ าอายรุ ศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์

จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .
ชุษณา สวนกระต่าย, กมล แก้วกติ ิณรงค์ และกมลวรรณ จุตวิ รกลุ (บรรณาธกิ าร). (๒๕๕๓). Manual of

Medical Therapeutics. พิมพ์ครงั้ ที่ ๑. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย โครงการตาราอายรุ ศาสตร์ ภาควิชาอายรุ ศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั .
Kasper DL, Braunwald E, Fauci AS, Hauser SL, Longo DL, Jameson JL. (๒๐๑๑). Harrison’s
principles of internal medicine. Eds ๑๘th Ed. McGraw-Hill New York.

คู่มอื การเรยี นการสอน ศนู ย์แพทยศาสตรศึกษา รพ.สมเด็จพระปน่ิ เกล้า พร. /๗

๕. รายนามอาจารย์แพทย์ สาขาวิชาอายรุ ศาสตร์

รายชือ่ โทรศพั ทท์ ่ีทางาน โทรศัพทม์ ือถอื

๑. แพทยป์ ระจากล่มุ งานอายุรเวชกรรม ๕๒๖๔๓ ๐๙-๑๘๕๓-๐๖๙๕
๑.๑ น.ต.หญิง บุญธดิ า จ้อยจารูญ ๕๒๖๙๒ ๐๘-๘๒๗๓-๗๙๐๗
๑.๒ ร.อ.หญิง อสิ รีย์ รตั รสาร ๐๘-๙๘๘๓-๒๐๖๕
๑.๓ ร.อ.หญงิ กรกมล ปรีดีคณิต ๕๒๘๘๘
๕๒๗๒๑ ๐๘-๑๘๓๘-๗๖๒๐
๒. แผนกโรคหวั ใจ ๕๒๕๘๙ ๐๘-๙๐๓๒-๑๑๘๘
๒.๑ นาวาเอก พฒั นชยั เฉลมิ วรรณ์ (ช่วยราชการ) ๐๘-๕๒๔๗-๗๖๙๙
๒.๒ นาวาเอก สหรฐั หวงั เจริญ (ช่วยราชการ) ๕๒๗๒๑ ๐๘-๑๙๓๔-๗๔๔๓
๒.๓ นาวาเอก สุเชษฐ ตรรกธาดา ๕๒๙๓๘ ๐๘-๑๘๐๙-๒๗๐๘
๒.๔ นาวาเอก พทิ ักษ์ พงศ์นนทชยั (ช่วยราชการ) ๕๒๙๓๘ ๐๘-๑๓๗๒-๓๓๖๖
๒.๕ นาวาเอก คชมาตจ์ บุณยรตั พันธุ์ ๕๒๖๗๒ ๐๘-๑๘๓๐-๖๐๙๙
๒.๖ นาวาโท ตริ วิทย์ หงสกุล
๒.๗ ร.อ.หญิง ศนศิ รา จันทร์จานงค์ ๐๙-๙๔๖๔-๕๙๙๘
๓. ห้องตรวจโรคผวิ หนังและกามโรค ๐๘-๖๕๙๙-๖๘๖๙
๓.๑ นาวาเอก หญงิ ชนกนาถ วชั รากร ๐๘-๒๐๐๙-๘๘๘๘
๓.๒ นาวาเอก หญิง ภัททชีว์ องค์มหัทมงคล
๓.๓ นาวาโท หญงิ รสิตา อัศดามงคล ๐๘-๖๗๘๙-๙๒๐๒

๔.ห้องตรวจโรคจติ และประสาท ๐๘-๑๖๕๙-๒๒๔๑
๐๘-๑๔๙๕-๕๖๖๑
๔.๑ นาวาเอก วสธุ า ข่ายแก้ว ๐๘-๖๓๙๒-๗๙๕๖
๐๘-๑๘๐๖-๖๐๕๙
๕. ห้องตรวจโรคโลหติ วิทยาและเคมบี าบัด ๐๘-๙๕๒๙-๔๗๔๗
๕.๑ พลเรือตรี หญงิ พมิ พา ศุนาลัย (ชว่ ยราชการ)
๕.๒ นาวาเอก จตรุ งค์ ตันตมิ งคลสุข ๐๙-๗๔๘๕-๑๑๕๕
๕.๓ นาวาเอก วราชยั เคร่งวริ ตั น์
๕.๔ นาวาเอก พงศ์อนิ ทร์ สารกิ ะภูติ ๐๘-๙๑๓๒-๘๑๒๔
๕.๕ นาวาโท หญิง ธนาวดี สิรธิ นดีพนั ธ์
๐๘-๑๘๔๖-๖๒๗๖
๖. หอ้ งตรวจโรคจติ เวช ๐๘-๙๔๕๖-๐๕๐๕
๖.๑ นาวาโท พลภทั ร สิโรดม
๐๙-๓๖๑๙-๒๖๒๕
๗. หอ้ งตรวจโรคข้อและรูมาติสซึม่
๗.๑ นาวาเอก หญงิ กุลศริ ิ ธรรมโชติ

๘. ห้องตรวจโรคตอ่ มไร้ท่อและเมตาบอลิสม
๘.๑ นาวาเอก ศกั ดชิ์ ัย ปาละวฒั น์
๘.๒ นาวาตรี หญิง สภุ สั สา เลิศลา้

๙. หอ้ งตรวจโรคระบบทางเดินหายใจ
๙.๑ พลเรอื ตรี สมชาย จันทรโ์ รธร

คมู่ อื การเรยี นการสอน ศนู ยแ์ พทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเดจ็ พระป่ินเกล้า พร. /๘

รายชือ่ โทรศัพทท์ ท่ี างาน โทรศัพทม์ ือถือ
๕๒๖๘๒ ๐๘-๙๘๙๕-๖๙๒๖
๙.๒ นาวาเอก หญงิ ติราภรณ์ บุณยรตั พนั ธุ์ ๕๒๗๑๖ ๐๘-๙๘๙๕-๘๕๙๑
๐๘-๑๖๘๙-๐๔๔๔
๙.๓ นาวาโท สรภพ ภกั ดวี งศ์ ๕๒๘๑๘
๐๘-๑๗๓๓-๔๔๕๓
๙.๔ นาวาตรี หญงิ วลิ าสนิ ี มรนิ ทรพ์ งษ์
๐๘-๑๘๔๐-๓๑๖๒
๑๐. ห้องตรวจโรคระบบทางเดินอาหาร ๐๘-๑๘๑๘-๕๐๖๖
๑๐.๑ นาวาเอก ธรี ธร วงศ์ชยั สุวรรณ ๐๘-๙๔๔๐-๒๑๒๔
๐๘-๕๒๔๔-๗๗๘๘
๑๑. แผนกโรคไตและไตเทียม
๐๘-๑๘๓๒-๘๖๒๓
๑๑.๑ นาวาเอก สชุ ยั โอฬารรตั นม์ ณี ๐๘-๑๙๑๙-๓๕๓๔
๐๘-๕๐๒๒-๙๗๙๙
๑๑.๒ นาวาเอก หญิง เบญจพร เรอื งพานิช
๑๑.๓ นาวาโท ธีรพล ปัญจชัยพรพล

๑๑.๔ นายแพทย์ พัทธดนย์ ศิรวิ งศ์รังสรร

๑๒. หอ้ งตรวจโรคตดิ เชอื้ /คลนิ ิกใหค้ าปรึกษาด้านสขุ ภาพ

๑๒.๑ พลเรอื ตรี หญิง พาช่ืน วงศาโรจน์
๑๒.๒ นาวาเอก หญิง ภาศรี มหารมณ์

๑๒.๓ นาวาตรี กมลาสน์ อานวย

๑๓. รายชื่ออาจารย์พเิ ศษ
๑๓.๑ พลเรอื ตรี นธิ ิ พงศอ์ นนั ต์
๑๓.๒ พลเรอื ตรี ทศพร วเิ ศษรจนา
๑๓.๓ นายแพทย์ โชติ วีระวงษ์
๑๓.๔ นาวาเอก ปริญญา ลือชูวงศ์
๑๓.๕ นาวาเอก คมสัน วุฒปิ ระเสริฐ
๑๓.๖ นาวาเอก เอกรัชช์ นเรศเสนีย์
๑๓.๗ นาวาเอก อดุ ม สุทธิพลไพศาล
๑๓.๘ นาวาเอก พรสิระ หงสกุล
๑๓.๙ นายแพทย์ ศภุ วฒั น์ จริ ไพโรจน์
๑๓.๑๐ นายแพทย์ อภนิ นั ท์ อภวิ ฒั นนั ท์
๑๓.๑๑ นาวาโท ธราธปิ ประคองวงศ์
๑๓.๑๒ นายแพทย์ เชิดพงศ์ กีส่ ุขพนั ธ์
๑๓.๑๓ นายแพทย์ ประพนั ธ์ บูรณบรุ เี ดช
๑๓.๑๔ แพทย์หญงิ ดาริกา ทรงวฒุ ิ
๑๓.๑๕ นายแพทย์ ณรงคเ์ ดช พูนสมบัติ

คูม่ ือการเรียนการสอน ศูนย์แพทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเด็จพระป่ินเกล้า พร. /๙

ตอนที่ ๒ รายละเอียดกิจกรรมการเรียนการสอนและการปฏิบตั ิงาน

๑. ตารางหมนุ เวยี นนสิ ติ แพทย์ ชน้ั ปีที่ ๔ (หลักสตู ร ๕๖) ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕
ชุดท่ี ๑

๒๓-๒๗ พ.ค.๖๕
๓๐ พ.ค.-๓ ิม.ย.๖๕

๖-๑๐ มิ.ย.๖๕
๑๓-๑๗ มิ.ย.๖๕
๒๐-๒๔ ิม.ย.๖๕
๒๗ ิม.ย.-๑ ก.ค.๖๕
๔-๘ ก.ค.๖๕
๑๑-๑๕ ก.ค.๖๕
๑๘-๒๒ ก.ค.๖๕
๒๕-๒๙ ก.ค.๖๕

อช.สาย A ๑.๑ ปาณิสรา, ภูเบศ, EVARITH, กฤตนยั ๑.๔ ธนภทั ร, ธนัญภรณ์, ธญั วรตั ม,์ นครินทร์, นนลนี
อช.สาย B
อญ.สาย A ๑.๒ กัญญารตั น์, ขจรศกั ดิ์, คชตณิ ห์, จติ รกัญญา ๑.๓ ชญากานต์, ชยณัฐ, ชยานนั ต์, ทาคมุ ิ
อญ.สาย B
๑.๓ ชญากานต์, ชยณฐั , ชยานันต์, ทาคุมิ ๑.๒ กญั ญารตั น์, ขจรศักด์ิ, คชติณห์, จติ รกญั ญา

๑.๔ ธนภทั ร, ธนญั ภรณ,์ ธัญวรตั ม,์ นครนิ ทร์, นนลนี ๑.๑ ปาณสิ รา, ภเู บศ, EVARITH, กฤตนยั

ชุดที่ ๒

๑-๕ ส.ค.๖๕
๘-๑๒ ส.ค.๖๕
๑๕-๑๙ ส.ค.๖๕
๒๒-๒๖ ส.ค.๖๕
๒๙ ส.ค.-๒ ก.ย.๖๕
๕-๙ ก.ย.๖๕
๑๒-๑๖ ก.ย.๖๕
๑๙-๒๓ ก.ย.๖๕
๒๖-๓๐ ก.ย.๖๕
๓-๗ ต.ค.๖๕

อช.สาย A ๒.๑ นวรตั น,์ นิธนิ ันท์, ประจักษ์, พรนภัส ๒.๔ สุรวิ สั สา, สุวด,ี อรณชิ า, อภิชญา, ปราณยตุ
อช.สาย B ๒.๒ เพียรวทิ ย์, มขุ สดุ า, ยศวรศิ , ลลิตสรา ๒.๓ วรวิช, ศภุ วฒุ ิ, สริ วชิ ญ,์ สุภนยั
อญ.สาย A ๒.๓ วรวชิ , ศุภวุฒิ, สิรวิชญ,์ สภุ นัย ๒.๒ เพยี รวิทย,์ มขุ สดุ า, ยศวรศิ , ลลิตสรา
อญ.สาย B ๒.๔ สุรวิ สั สา, สวุ ด,ี อรณชิ า, อภิชญา, ปราณยุต ๒.๑ นวรัตน,์ นธิ นิ ันท์, ประจักษ์, พรนภสั

๒. โครงสร้างตารางเรยี น ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

เวลา ๐๗.๐๐-๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ ๑๓.๐๐-๑๕.๐๐ ๑๕.๐๐-๑๖.๐๐
วัน Ward round Ward round
จันทร์ OPD/ Lecture ศัลยกรรม
Bedside teaching/ Lecture อายุรกรรม/SDL
องั คาร พัก Lecture ศลั ยกรรม
ward work Lecture อายรุ กรรม/SDL
พุธ Lecture อายรุ กรรม/SDL

พฤหสั บดี

ศกุ ร์

คู่มือการเรียนการสอน ศูนยแ์ พทยศาสตรศึกษา รพ.สมเดจ็ พระปิ่นเกล้า พร. /๑๐

๓. กิจกรรมการเรยี นการสอนนิสติ แพทย์

๓.๑ ตารางการออกตรวจผู้ป่วยนอก

กลุ่มนิสติ ครั้งที่ วันที่ อาจารยผ์ ู้ควบคุม
นาวาเอก วราชัย เครง่ วิรัตน์
กลมุ่ ที่ ๑ : ปาณิสรา, ภเู บศ, กัญญารัตน์, ๑ อังคาร ๒๔ พ.ค.๖๕ พลเรือตรี สมชาย จนั ทรโ์ รธร
วา่ ท่ีเรือตรี พัทธดนย์ ศิริวงศร์ ังสรร
ขจรศักดิ์ ๒ จนั ทร์ ๓๐ พ.ค.๖๕ นาวาโท ตริ วทิ ย์ หงสกุล
นาวาเอก พงศ์อินทร์ สารกิ ะภตู ิ
๓ จนั ทร์ ๖ มิ.ย.๖๕ พลเรือตรี สมชาย จนั ทร์โรธร
ว่าท่ีเรอื ตรี พัทธดนย์ ศิรวิ งศร์ ังสรร
๔ จนั ทร์ ๑๓ ม.ิ ย.๖๕ นาวาตรหี ญิง สุภัสสา เลศิ ล้า
นาวาตรีหญงิ บุญธดิ า จอ้ ยจารญู
๕ จันทร์ ๒๐ ม.ิ ย.๖๕ นาวาเอก พิทกั ษ์ พงศ์นนทชัย
นาวาเอก วราชัย เครง่ วิรตั น์
๖ จนั ทร์ ๒๗ ม.ิ ย.๖๕
พลเรือตรี นธิ ิ พงศอ์ นนั ต์
๗ จันทร์ ๔ ก.ค.๖๕ เรอื เอกหญิง กรกมล ปรีดีคณติ
นาวาเอก พิทักษ์ พงศน์ นทชัย
๘ พธุ ๖ ก.ค.๖๕
พลเรือตรี นธิ ิ พงศอ์ นนั ต์
กลุ่มที่ ๒ : EVARITH, กฤตนัย, คชติณห์, ๑ พุธ ๒๕ พ.ค.๖๕ นาวาโท ตริ วทิ ย์ หงสกลุ
นาวาเอกหญิง เบญจพร เรอื งพานชิ
จิตรกัญญา ๒ อังคาร ๓๑ พ.ค.๖๕ นาวาโทหญิง รสติ า อศั ดามงคล
นาวาโทหญงิ ธนาวดี สิริธนดพี นั ธ์
๓ อังคาร ๗ มิ.ย.๖๕ เรอื เอกหญิง กรกมล ปรีดคี ณิต
นาวาโทหญงิ ธนาวดี สริ ิธนดพี นั ธ์
๔ องั คาร ๑๔ มิ.ย.๖๕ เรอื เอกหญงิ กรกมล ปรดี ีคณิต
นาวาโทหญงิ ธนาวดี สิรธิ นดพี ันธ์
๕ องั คาร ๒๑ ม.ิ ย.๖๕ นาวาตรี กมลาสน์ อานวย
นาวาเอกหญิง กุลศริ ิ ธรรมโชติ
๖ องั คาร ๒๘ ม.ิ ย.๖๕ เรือเอกหญิง กรกมล ปรีดคี ณิต
นาวาโท ธีรพล ปัญจชยั พรพล
๗ อังคาร ๕ ก.ค.๖๕ อ.นพ.ณรงคเ์ ดช พนู สมบตั ิเลิศ
อ.นพ.ณรงค์เดช พนู สมบตั ิเลิศ
๘ จันทร์ ๑๑ ก.ค.๖๕ อ.นพ.ณรงคเ์ ดช พูนสมบตั เิ ลิศ
นาวาโท ธรี พล ปัญจชยั พรพล
กลุ่มที่ ๓ : ชญากานต์, ชยณัฐ, ธนภัทร, ๑ พฤหสั บดี ๒๖ พ.ค.๖๕ เรือเอกหญิง อสิ รยี ์ รัตรสาร

ธนญั ภรณ์, ธัญวรัตม์ ๒ พุธ ๑ มิ.ย.๖๕

๓ พฤหสั บดี ๙ ม.ิ ย.๖๕

๔ พฤหัสบดี ๑๖ มิ.ย.๖๕

๕ พฤหัสบดี ๒๓ ม.ิ ย.๖๕

๖ พฤหัสบดี ๓๐ มิ.ย.๖๕

๗ พฤหสั บดี ๗ ก.ค.๖๕

๘ อังคาร ๑๒ ก.ค.๖๕

กลมุ่ ที่ ๔ : ชยานันต์, ทาคมุ ิ, นครินทร์, ๑ ศุกร์ ๒๗ พ.ค.๖๕

นนลนี ๒ พฤหสั บดี ๒ มิ.ย.๖๕

๓ ศุกร์ ๑๐ มิ.ย.๖๕

๔ ศกุ ร์ ๑๗ ม.ิ ย.๖๕

๕ ศุกร์ ๒๔ มิ.ย.๖๕

๖ ศุกร์ ๑ ก.ค.๖๕

๗ ศกุ ร์ ๘ ก.ค.๖๕

๘ ศุกร์ ๒๙ ก.ค.๖๕

ค่มู ือการเรียนการสอน ศูนย์แพทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเด็จพระป่ินเกลา้ พร. /๑๑

กลมุ่ นสิ ิต ครั้งท่ี วนั ท่ี อาจารย์ผคู้ วบคุม

กลมุ่ ที่ ๕ : นวรตั น์, นิธินันท์, เพยี รวิทย์, ๑ องั คาร ๒ ส.ค.๖๕ นาวาตรี กมลาสน์ อานวย

มุขสุดา ๒ จนั ทร์ ๘ ส.ค.๖๕ นาวาเอก พงศ์อินทร์ สาริกะภตู ิ

๓ จนั ทร์ ๑๕ ส.ค.๖๕ วา่ ทีเ่ รือตรี พัทธดนย์ ศริ ิวงศ์รังสรร

๔ จนั ทร์ ๒๒ ส.ค.๖๕ ว่าทเี่ รอื ตรี พัทธดนย์ ศิรวิ งศ์รังสรร

๕ จันทร์ ๒๙ ส.ค.๖๕ นาวาโท ติรวิทย์ หงสกลุ

๖ จนั ทร์ ๕ ก.ย.๖๕ นาวาเอก พงศ์อนิ ทร์ สารกิ ะภูติ

๗ จันทร์ ๑๒ ก.ย.๖๕ พลเรอื ตรี สมชาย จนั ทรโ์ รธร

๘ จนั ทร์ ๑๙ ก.ย.๖๕ ว่าทเ่ี รอื ตรี พัทธดนย์ ศิรวิ งศ์รังสรร

กลุม่ ที่ ๖ : ประจักษ์, พรนภสั , ยศวรศิ , ๑ พุธ ๓ ส.ค.๖๕ นาวาตรหี ญิง สภุ ัสสา เลิศล้า

ลลิตสรา ๒ อังคาร ๙ ส.ค.๖๕ เรือเอกหญิง กรกมล ปรีดคี ณติ

๓ องั คาร ๑๖ ส.ค.๖๕ นาวาตรี กมลาสน์ อานวย

๔ อังคาร ๒๓ ส.ค.๖๕ นาวาตรี กมลาสน์ อานวย

๕ อังคาร ๓๐ ส.ค.๖๕ นาวาเอก วราชัย เครง่ วริ ัตน์

๖ องั คาร ๖ ก.ย.๖๕ นาวาตรี กมลาสน์ อานวย

๗ องั คาร ๑๓ ก.ย.๖๕ เรอื เอกหญิง กรกมล ปรีดคี ณิต

๘ อังคาร ๒๐ ก.ย.๖๕ นาวาตรี กมลาสน์ อานวย

กลุ่มที่ ๗ : วรวชิ , ศภุ วฒุ ิ, สุรวิ ัสสา, สวุ ด,ี ๑ พฤหัสบดี ๔ ส.ค.๖๕ นาวาตรหี ญงิ วลิ าสนิ ี มรนิ ทรพ์ งษ์

อรณิชา ๒ พุธ ๑๐ ส.ค.๖๕ นาวาตรหี ญงิ สภุ ัสสา เลิศลา้

๓ พฤหัสบดี ๑๘ ส.ค.๖๕ นาวาตรีหญิง วิลาสนิ ี มรินทรพ์ งษ์

๔ พฤหสั บดี ๒๕ ส.ค.๖๕ นาวาโทหญงิ ธนาวดี สริ ธิ นดพี นั ธ์

๕ พฤหัสบดี ๑ ก.ย.๖๕ นาวาเอก หญิง เบญจพร เรืองพานชิ

๖ พฤหสั บดี ๘ ก.ย.๖๕ เรือเอก หญงิ กรกมล ปรีดคี ณิต

๗ พฤหัสบดี ๑๕ ก.ย.๖๕ นาวาตรีหญิง วลิ าสนิ ี มรินทรพ์ งษ์

๘ พฤหสั บดี ๒๒ ก.ย.๖๕ นาวาตรีหญงิ วิลาสินี มรนิ ทร์พงษ์

กลุ่มที่ ๘ : สริ วชิ ญ,์ สุภนยั , อภิชญา, ๑ ศกุ ร์ ๕ ส.ค.๖๕ อ.นพ.ณรงค์เดช พูนสมบตั ิเลิศ

ปราณยตุ ๒ พฤหัสบดี ๑๑ ส.ค.๖๕ นาวาตรีหญงิ วลิ าสินี มรินทรพ์ งษ์

๓ ศุกร์ ๑๙ ส.ค.๖๕ นาวาเอกหญงิ กลุ ศริ ิ ธรรมโชติ

๔ ศุกร์ ๒๖ ส.ค.๖๕ เรือเอกหญิง อิสรยี ์ รัตรสาร

๕ ศกุ ร์ ๒ ก.ย.๖๕ นาวาโท ธรี พล ปญั จชัยพรพล

๖ ศกุ ร์ ๙ ก.ย.๖๕ เรือเอกหญิง อสิ รีย์ รัตรสาร

๗ ศกุ ร์ ๑๖ ก.ย.๖๕ เรอื เอกหญิง อสิ รยี ์ รัตรสาร

๘ ศกุ ร์ ๒๓ ก.ย.๖๕ เรอื เอกหญงิ อสิ รยี ์ รตั รสาร

คูม่ ือการเรียนการสอน ศูนยแ์ พทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเด็จพระป่นิ เกล้า พร. /๑๒

๓.๒ ตารางสอน Bedside teaching round

ใหน้ ิสิตนัดอาจารยผ์ ู้รับผิดชอบในวันจนั ทร์-ศกุ ร์ ท่ีไม่ติดการเรยี นการสอนอนื่ ๆ เวลา ๑๐:๐๐-๑๒:๐๐

รวม ๓ คร้งั

กลุ่มที่ ๑ – ๒ นดั อาจารย์ วนั ท่ี ๒๓ พ.ค.– ๒๙ ก.ค.๖๕

กล่มุ ท่ี ๓ – ๔ นดั อาจารย์ วนั ท่ี ๑ ส.ค.– ๗ ต.ค.๖๕

กลมุ่ นิสติ ครง้ั ท่ี อาจารย์

กลุ่มที่ ๑ : ปาณิสรา, ภเู บศ, EVARITH, ๑ นาวาเอก สรภพ ภักดวี งศ์

กฤตนัย, กัญญารัตน์, ขจรศกั ดิ์, คชติณห์, ๒ นาวาเอก พงศ์อนิ ทร์ สาริกะภูติ

จิตรกญั ญา ๓ ว่าทีเ่ รอื ตรี พัทธดนย์ ศริ วิ งศ์รงั สรร

กลุ่มที่ ๒ : ชญากานต์, ชยณฐั , ชยานนั ต์, ๑ นาวาโทหญิง ธนาวดี สริ ิธนดพี ันธ์
ทาคุมิ, ธนภทั ร, ธนญั ภรณ์, ธัญวรัตม์, ๒ นาวาโทหญิง รสิตา อศั ดามงคล
นครนิ ทร์, นนลนี ๓ อ.นพ.ณรงค์เดช พนู สมบตั เิ ลิศ

กลุม่ ที่ ๓ : นวรตั น์, นิธินันท์, ประจกั ษ์, ๑ นาวาเอก วราชัย เคร่งวิรตั น์

พรนภัส, เพยี รวิทย์, มุขสดุ า, ยศวริศ, ๒ นาวาโท ธรี พล ปญั จชัยพรพล

ลลิตสรา ๓ นาวาตรี กมลาสน์ อานวย

กลมุ่ ที่ ๔ : วรวชิ , ศภุ วุฒิ, สิรวชิ ญ์, สุภนยั , ๑ นาวาโท ตริ วทิ ย์ หงสกลุ

สรุ วิ ัสสา, สวุ ด,ี อรณิชา, อภชิ ญา, ๒ นาวาโทหญิง สภุ สั สา เลศิ ลา้

ปราณยตุ ๓ นาวาตรหี ญิง วลิ าสนิ ี มรนิ ทร์พงษ์

๓.๓ ตารางการนาเสนอ Case study

กล่มุ นสิ ติ ครัง้ ที่ อาจารย์

กล่มุ ท่ี ๑ : ๑ นาวาเอกหญงิ ตริ าภรณ์ บุณยรตั พันธุ์

ปาณิสรา, ภเู บศ, กญั ญารัตน์, ขจรศักด์ิ ๒ นาวาเอก พงศ์อนิ ทร์ สาริกะภูติ

๓ เรอื เอกหญิง กรกมล ปรีดีคณิต

กลมุ่ ท่ี ๒ : ๑ นาวาโท ธรี พล ปญั จชัยพรพล

EVARITH, กฤตนัย, คชตณิ ห์, จิตรกญั ญา ๒ นาวาตรี หญิง สภุ ัสสา เลศิ ลา้

๓ อ.นพ.ณรงค์เดช พูนสมบัตเิ ลิศ

กลมุ่ ท่ี ๓ : ชญากานต์, ชยณฐั , ธนภทั ร, ๑ นาวาเอก สรภพ ภกั ดีวงศ์

ธนัญภรณ์, ธัญวรตั ม์ ๒ นาวาโท ตริ วิทย์ หงสกุล

๓ อ.นพ.ณรงคเ์ ดช พนู สมบัตเิ ลิศ

กลมุ่ ที่ ๔ : ๑ นาวาเอก ศักด์ิชยั ปาละวฒั น์

ชยานันต์, ทาคุมิ, นครนิ ทร์, นนลนี ๒ วา่ ทีเ่ รือตรี พัทธดนย์ ศิริวงศ์รงั สรร

๓ เรอื เอกหญิง กรกมล ปรีดีคณิต

คมู่ ือการเรียนการสอน ศนู ยแ์ พทยศาสตรศึกษา รพ.สมเดจ็ พระป่ินเกล้า พร. /๑๓

กลมุ่ นสิ ติ คร้งั ที่ อาจารย์
กลุ่มท่ี ๕ : ๑ นาวาเอก พิทกั ษ์ พงศน์ นทชัย
นวรัตน์, นธิ นิ ันท์, เพียรวทิ ย์, มุขสดุ า ๒ นาวาตรี กมลาสน์ อานวย
๓ นาวาตรีหญงิ วลิ าสนิ ี มรนิ ทร์พงษ์
กลุ่มที่ ๖ : ๑ นาวาโทหญิง ธนาวดี สิริธนดพี ันธ์
ประจกั ษ์, พรนภัส, ยศวริศ, ลลติ สรา ๒ นาวาโท ตริ วิทย์ หงสกุล
๓ วา่ ท่เี รอื ตรี พัทธดนย์ ศิริวงศ์รังสรร
กลมุ่ ท่ี ๗ : ๑ นาวาเอก ธรี ธร วงศ์ชัยสวุ รรณ
วรวชิ , ศุภวฒุ ิ, สุริวัสสา, สุวดี, อรณชิ า ๒ นาวาเอก วราชยั เครง่ วริ ัตน์
๓ เรือเอกหญงิ อสิ รยี ์ รตั รสาร
กลุ่มที่ ๘ : ๑ นาวาเอกหญงิ ภาศรี มหารมณ์
สริ วชิ ญ,์ สภุ นยั , อภิชญา, ปราณยตุ ๒ นาวาโทหญงิ รสิตา อศั ดามงคล
๓ เรือเอกหญิง อสิ รยี ์ รตั รสาร

ตารางอาจารย์ทป่ี รกึ ษา Preceptor เพื่อตรวจรายงานนิสิตแพทย์

วันที่ ๒๓ พ.ค. – ๒๙ ก.ค.๖๕ วนั ที่ ๑ ส.ค. – ๗ ต.ค.๖๕

อาจารยท์ ีป่ รึกษา นิสติ อาจารยท์ ป่ี รึกษา นิสติ

นาวาเอก สรภพ ภกั ดีวงศ์ ปาณสิ รา นาวาโท ธรี พล ปญั จชยั พรพล นวรตั น์

นาวาโทหญิง รสิตา อัศดามงคล ภเู บศ นาวาเอก พงศ์อนิ ทร์ สารกิ ะภูติ นธิ ินันท์

วา่ ทีเ่ รือตรี พัทธดนย์ ศริ ิวงศร์ ังสรร EVARITH นาวาตรี กมลาสน์ อานวย ประจักษ์

นาวาเอกหญิง ติราภรณ์ บุณยรัตพนั ธ์ุ กฤตนยั นาวาตรีหญิง วลิ าสนิ ี มรนิ ทรพ์ งษ์ พรนภสั

นาวาเอกหญิง เบญจพร เรอื งพานชิ กญั ญารัตน์ เรือเอกหญงิ อสิ รยี ์ รตั รสาร เพยี รวิทย์

นาวาเอกหญิง กุลศริ ิ ธรรมโชติ ขจรศกั ด์ิ เรอื เอกหญิง กรกมล ปรดี คี ณิต มขุ สดุ า

นาวาเอก ศักดช์ิ ัย ปาละวฒั น์ คชติณห์ นาวาโทหญิง รสติ า อศั ดามงคล ยศวรศิ

อ.นพ.ณรงค์เดช พูนสมบัตเิ ลิศ จิตรกัญญา อ.นพ.ณรงค์เดช พนู สมบัติเลิศ ลลติ สรา

นาวาเอก พงศ์อินทร์ สารกิ ะภตู ิ ชญากานต์ ว่าท่ีเรือตรี พัทธดนย์ ศิรวิ งศ์รังสรร วรวิช

นาวาเอก วราชยั เคร่งวิรตั น์ ชยณฐั นาวาเอก สรภพ ภกั ดีวงศ์ ศภุ วฒุ ิ

นาวาเอก พิทกั ษ์ พงศน์ นทชัย ชยานันต์ นาวาเอก ธรี ธร วงศช์ ยั สวุ รรณ สิรวิชญ์

นาวาเอกหญิง ภาศรี มหารมณ์ ทาคุมิ นาวาโท ตริ วทิ ย์ หงสกุล สุภนัย

เรือเอกหญงิ กรกมล ปรีดีคณิต ธนภทั ร นาวาตรีหญิง สภุ สั สา เลิศล้า สุริวัสสา

นาวาโท ธีรพล ปญั จชัยพรพล ธนัญภรณ์ นาวาตรี กมลาสน์ อานวย สวุ ดี

นาวาโท ติรวทิ ย์ หงสกุล ธญั วรตั ม์ นาวาตรีหญิง วิลาสนิ ี มรินทร์พงษ์ อรณิชา

นาวาโทหญงิ สภุ ัสสา เลิศลา้ นครินทร์ เรือเอกหญงิ อสิ รยี ์ รตั รสาร อภิชญา

นาวาโทหญงิ ธนาวดี สิริธนดพี นั ธ์ นนลนี นาวาโทหญงิ ธนาวดี สิริธนดพี ันธ์ ปราณยุต

คู่มือการเรยี นการสอน ศูนย์แพทยศาสตรศึกษา รพ.สมเด็จพระปิน่ เกล้า พร. /๑๔

๓.๔ ตารางบรรยายทฤษฎี (Lecture)

๒ ช่วั โมงต่อ ๑ หวั ขอ้ บา่ ยวันอังคาร, พฤหสั และ ศุกร์ เวลา ๑๓:๐๐ - ๑๕:๐๐ น

หมายเหตุ : นสิ ิตทว่ี นหน่วยศลั ยกรรมรว่ มเรยี นด้วย

ลาดบั หวั ข้อ วันท่ี อาจารย์ผู้สอน
อ.ธีรพล
๑ Acute kidney injury and chronic kidney อังคาร ๒๔ พ.ค.๖๕
อ.ปรญิ ญา
disease
อ.ธีรธร
๒ Dysnatremia and dyskalemia ศุกร์ ๒๗ พ.ค.๖๕
อ.ธราธปิ
๓ Intestinal disease อังคาร ๓๑ พ.ค.๖๕ อ.ศภุ วัฒน์
อ.ธราธิป
๔ Hepatitis and alcoholic liver disease พฤหัสบดี ๒ ม.ิ ย.๖๕ อ.ภาศรี
๕ Pancreatic disease อังคาร ๗ มิ.ย.๖๕ อ.ธีรธร
๖ Esophageal disease and stomach พฤหัส ๙ ม.ิ ย.๖๕ อ.ณรงคเ์ ดช
๗ Nocosomial infection ศุกร์ ๑๐ ม.ิ ย.๖๕ อ.ภาศรี
๘ Cirrhosis อังคาร ๑๔ มิ.ย.๖๕ อ.สุชัย
๙ Myeloid neoplasm พฤหสั ๑๖ ม.ิ ย.๖๕
๑๐ Principle of antimicrobial therapy ศุกร์ ๑๗ ม.ิ ย.๖๕ อ.พทั ธดนย์
๑๑ Acid base disorder and disorder of divalent องั คาร ๒๑ ม.ิ ย.๖๕ อ.ประพันธ์
อ.ประพนั ธ์
cation องั คาร ๒๓ มิ.ย.๖๕ อ.ดารกิ า
๑๒ Glomerular disease ศุกร์ ๒๔ ม.ิ ย.๖๕
๑๓ Acute arthritis syndrome อังคาร ๒๘ ม.ิ ย.๖๕ อ.ประพนั ธ์
๑๔ Chronic arthritis syndrome พฤหสั บดี ๓๐ ม.ิ ย.๖๕ อ.ติรวิทย์
๑๕ Degenerative arthritis and soft tissue อ.ศักด์ชิ ัย
ศุกร์ ๑ ก.ค.๖๕ อ.พทิ ักษ์
rheumatism องั คาร ๕ ก.ค.๖๕ อ.ศกั ดิ์ชยั
๑๖ Connective tissue disease พฤหสั บดี ๗ ก.ค.๖๕ อ.ติรวทิ ย์
๑๗ Valvular heart disease ศุกร์ ๘ ก.ค.๖๕ อ.สรภพ
๑๘ Thyroid disease อังคาร ๑๒ ก.ค.๖๕ อ.สมชาย
๑๙ Hypertension with hypertensive emergency อังคาร ๒ ส.ค.๖๕ อ.พงศ์อนิ ทร์
๒๐ DM พฤหัสบดี ๔ ส.ค.๖๕
๒๑ Ischemic heart disease ๑ ศุกร์ ๕ ส.ค.๖๕ อ.นิธิ
๒๒ Pleural and pulmonary vascular disease องั คาร ๙ ส.ค.๖๕ อ.ตริ าภรณ์
๒๓ Airway disease พฤหัสบดี ๑๑ ส.ค.๖๕ อ.วราชัย
๒๔ Lymphoperiferative disease องั คาร ๑๖ ส.ค.๖๕
๒๕ Red blood cell disorder พฤหัสบดี ๑๘ ส.ค.๖๕
๒๖ TB
๒๗ Hemostatic disorder

คู่มือการเรยี นการสอน ศูนยแ์ พทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเด็จพระป่ินเกลา้ พร. /๑๕

ลาดบั หัวข้อ วนั ที่ อาจารย์ผู้สอน
๒๘ Common tropical infection ศกุ ร์ ๑๙ ส.ค.๖๕ อ.กมลาสน์
๒๙ Sexually transmitted disease องั คาร ๒๓ ส.ค.๖๕ อ.ชนกนาถ
๓๐ Heart failure พฤหสั บดี ๒๕ ส.ค.๖๕ อ.พิทักษ์
๓๑ Basic electrography ศุกร์ ๒๖ ส.ค.๖๕ อ.พทิ ักษ์
๓๒ Ischemic heart disease ๒ องั คาร ๓๐ ส.ค.๖๕ อ.ติรวทิ ย์
๓๓ Dyslipidemia and obesity พฤหัสบดี ๑ ก.ย.๖๕ อ.สุภัสสา
๓๔ Epilepsy ศกุ ร์ ๒ ก.ย.๖๕ อ.วสธุ า
๓๕ Basic neurologic history taking and physical อังคาร ๖ ก.ย.๖๕ อ.เอกรชั ช์

examination ศกุ ร์ ๙ ก.ย.๖๕ อ.วสธุ า
๓๖ CNS infection อังคาร ๑๓ ก.ย.๖๕ อ.เอกรัชช์
๓๗ Cerebrovascular disease พฤหสั บดี ๑๕ ก.ย.๖๕ อ.สภุ ัสสา
๓๘ Obesity ศกุ ร์ ๑๖ ก.ย.๖๕ อ.รสติ า
๓๙ Skin infection and Allergic skin disease องั คาร ๒๐ ก.ย.๖๕ อ.คมสนั ต์
๔๐ Introduction to hyperbaric oxygen therapy พฤหสั บดี ๒๒ ก.ย.๖๕ อ.กมลาสน์
๔๑ Sepsis and septic shock

๓.๕ การเรยี นในหอผปู้ ว่ ย
๓.๕.๑ นิสติ จะตอ้ งข้นึ ปฏบิ ตั ิงานและดูแลผปู้ วุ ยในหอผปู้ ุวยรว่ มกบั แพทย์ประจาบ้าน/แพทย์ใช้ทนุ และ

อาจารยป์ ระจาหอผปู้ วุ ย
๓.๕.๒ รับและดูแลผ้ปู ่วยท่ีได้รับมอบหมาย โดยการซกั ประวตั ิ ตรวจรา่ งกายในวนั แรกทีไ่ ด้รบั ผูป้ ุวย

ดแู ลรับผดิ ชอบการเปล่ยี นแปลงของผ้ปู ุวยตลอดจนกว่าผู้ปวุ ยจะกลบั บา้ น เสียชวี ิต ผู้ปุวยย้ายหอ หรือนิสิตย้าย
หอผู้ปุวย

๓.๕.๓ เขยี นรายงานผูป้ ว่ ยท่ีรบั ไวใ้ นความดูแลติดแฟม้ ผ้ปู ่วยทกุ ราย ตอ้ งมีข้อมูลพ้ืนฐาน ประวัตกิ าร
ตรวจรา่ งกาย ผลการตรวจทางหอ้ งปฏิบัติการเบือ้ งตน้ และสรปุ ปัญหาผปู้ วุ ย (problem list)

๓.๕.๔ การอยูเ่ วร ในหอผ้ปู วุ ยนอกเวลาราชการ ต้งั แต่เวลา ๑๖.๐๐ - ๒๒.๐๐ น. นสิ ติ ตอ้ งประจาท่ีหอ
ผปู้ วุ ยและไมค่ วรออกจากหอผ้ปู วุ ยหากไม่จาเป็น ให้นสิ ติ อยเู่ วรร่วมกบั Extern และ แพทย์ประจาบ้าน/แพทย์
ใช้ทนุ นสิ ติ ทอี่ ย่เู วรต้องรายงานตัว กบั พยาบาล Extern แพทย์ใชท้ นุ /แพทย์ประจาบา้ นท่ีอยูเ่ วรดว้ ยทกุ คร้งั

๓.๕.๕ ฝกึ เจาะเลือดผ้ปู ว่ ย ในหอผู้ปวุ ย ให้นสิ ิตจดั เวรขน้ึ เจาะเลือดบนหอผ้ปู ุวย นสิ ิตจะตอ้ งมาเจาะ
เลือดตามเวรที่กาหนดไว้

- นิสิตตอ้ งรับผดิ ชอบการตรวจ DTX, HCT ทกุ ราย แจ้งพยาบาลให้ทราบกรณีติดเรยี น
- นสิ ติ ตอ้ งรับผดิ ชอบการใส่ NG tube, Foley cath, เจาะ Blood gas, แปลผล Lab ผู้ปวุ ยในสาย
ของตนเอง
๓.๕.๖ หา้ มนิสิตทาหตั ถการโดยทไ่ี มม่ ีแพทย์ประจาบา้ น/แพทย์ใชท้ นุ ควบคมุ
๓.๕.๗ ให้นสิ ิตเซ็นช่อื ลงเวลาปฏิบัติงานในสมดุ เช็คเวลา ทุกวนั ไมเ่ ว้นวันหยุดราชการ

ค่มู ือการเรียนการสอน ศนู ย์แพทยศาสตรศึกษา รพ.สมเดจ็ พระป่ินเกล้า พร. /๑๖

๓.๖ แนวทางการจา่ ยผู้ป่วยให้นิสติ แพทย์
๑. แพทย์ประจาบา้ น/ แพทย์ใช้ทุนทอ่ี ยู่ประจาแต่ละสาย เปน็ ผูร้ บั ผิดชอบในการจ่ายผ้ปู ุวยใหแ้ กน่ สิ ติ

ภายใตก้ ารดแู ลของอาจารย์ประจาหอผปู้ ุวย
๒. การเลือกจา่ ยผ้ปู ุวยใหแ้ กน่ ิสิต
ผ้ปู ่วยใหม่
- ผปู้ วุ ยสามัญท่ีมาในเวลาราชการ (ผา่ นคลนิ กิ อายุรกรรมท่วั ไป, คลนิ ิกอายุรกรรมเฉพาะโรค
และห้องฉุกเฉิน)
- ผู้ปวุ ยสามัญท่ีมานอกเวลาราชการและถูกรบั ไวใ้ นโรงพยาบาล พจิ ารณาเหมือนผู้ปุวยมาใน
เวลาราชการ
- ผูป้ ุวยทมี่ อี าการค่อนขา้ งหนัก ให้จา่ ยนิสติ ปที ี่ ๕
- การพจิ ารณาว่าผู้ปุวยที่มีอาการหนกั , ค่อนขา้ งหนัก, หรือไมห่ นัก เพื่อใชเ้ ป็นแนวทางในการเลือก
จ่ายใหแ้ ก่นสิ ิตน้ัน ใหอ้ ยูใ่ นดุลยพินิจแพทยป์ ระจาบ้าน/แพทยใ์ ชท้ นุ ทป่ี ระจาแต่ละสาย
- ผ้ปู ุวยทเ่ี หลือนอกเหนือจากข้างต้น ใหจ้ ่ายให้นิสิตแพทย์ปีท่ี ๔
ผู้ป่วยเก่า
๑. ให้จา่ ยผ้ปู วุ ยใหมท่ กุ รายแก่นสิ ิตโดยจา่ ยตามลาดบั ชอ่ื ของนสิ ติ ในแต่ละสาย
๒. ใหเ้ ลือกจ่ายท่ีเห็นว่าจะมีประโยชนต์ อ่ การศึกษาของนสิ ิตและ/หรือมปี ระโยชนต์ ่อผปู้ ุวยมากที่สุด

๓.๗ แนวทางการเขยี นและส่งรายงานผ้ปู ่วย

๓.๗.๑ ผู้ปว่ ยใหม่

- เลอื กผ้ปู วุ ยท่รี บั ไวใ้ นความดูแลเขียนรายงานส่งอาจารย์ประจาสายในหอผปู้ วุ ย สปั ดาหล์ ะ

๑ ราย ตอ้ งสง่ รายงานอยา่ งสม่าเสมอโดยเฉลีย่ สปั ดาหล์ ะ ๑ ฉบบั รวมเปน็ ๑๐ ฉบบั ระหวา่ งท่ีปฏิบัติงาน

รายงานประกอบดว้ ย ๓ ส่วนคอื ตัวรายงาน, progress note และ discharge summary

- ควรเขยี นรายงานทนั ทีหลังจากท่ีไดร้ ับผปู้ ุวยแล้ว ถา้ หากรายงานฉบับสมบูรณย์ ังไม่เสรจ็

ให้เขียนรายงานผู้ปุวยเบื้องต้นอย่างส้ันอีกฉบับหน่ึงลงในแผ่น Progress note แล้วเก็บไว้ในฟอร์มปรอทของผู้ปุวย

เพื่อผู้ทีเ่ ก่ยี วข้องทุกท่านจะสามารถใชป้ ระโยชน์ไดท้ ันทกี ่อนท่ีจะมีรายงานฉบับสมบูรณ์อยู่ในฟอรม์ ปรอทของผูป้ ุวย

กาหนดสง่ ภายใน ๗๒ ช่วั โมง หลังจากท่ีได้รับผปู้ ุวย ส่วน progress note และ discharge summary

ใหน้ ิสิตเกบ็ ไว้ในแฟูมผู้ปุวย

วันทร่ี บั Case กาหนดสง่ ก่อนเวลา

วันจันทร์ วนั พฤหสั บดี ๑๖.๐๐ น.

วันอังคาร วันศุกร์ ๑๖.๐๐ น.

วันพุธ วันจนั ทร์ ๑๖.๐๐ น.

วันพฤหัสบดี วนั จนั ทร์ ๑๖.๐๐ น.

วันศุกร์ วนั จนั ทร์ ๑๖.๐๐ น.

วนั เสาร์ วันอังคาร ๑๖.๐๐ น.

วันอาทิตย์ วันพุธ ๑๖.๐๐ น.

คมู่ ือการเรยี นการสอน ศนู ย์แพทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเดจ็ พระปนิ่ เกลา้ พร. /๑๗

หมายเหตุ ๑. ถา้ วนั ที่กาหนดใหส้ ง่ ตรงกับวันหยุดราชการใหเ้ ลอื่ นวันกาหนดส่งเปน็ วันท่ีทาการถดั ไป

๒. หากสง่ ชา้ เกนิ ๕ วันจะไม่ถูกส่งให้อาจารย์ตรวจและคดิ คะแนนรายงานฉบบั นั้นเปน็ ”๐”
- ติดต่ออาจารยป์ ระจาสายเพ่ือ Feed back รายงานท่ีตรวจ

๓.๗.๒ ผปู้ ว่ ยเกา่
- ผปู้ ุวยเกา่ ท่ไี ด้รบั ให้เขยี น On service note แล้วเกบ็ ไวใ้ นฟอร์มปรอทของผูป้ วุ ย
๓.๗.๓ การเขียน Progress note
- ตอ้ งเขียนทุกราย ทกุ วัน
๓.๗.๔ การเขียน Off service note

- ก่อนย้ายสายควรเขยี น Off service note สรุปประวตั ิ, การวินจิ ฉัยโรค, การตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัติการ,
การรักษาและปญั หาต่างๆ ท่ผี ้ปู วุ ยมอี ยู่ขณะน้นั เปน็ การส่งเวรให้ผู้ท่ีมารับต่อไดท้ ราบ

๓.๗.๕ การเขยี น Discharge note
- เมื่อผู้ปุวยถูกจาหนา่ ยออกโรงพยาบาลหรือถงึ แก่กรรม ควรจะเขียนสรปุ การวนิ จิ ฉัยโรค ขั้นสดุ ทา้ ย
การรักษา ตลอดจนผลการรักษา

 รายงานผู้ปุวยท่ีได้รบั การตรวจท่ีอาจารยส์ ง่ คนื มาแล้ว ขอให้นสิ ติ ส่งกลบั คืนทศี่ นู ย์แพทย์ฯ เพ่ือเกบ็ ให้

คะแนน หากไมส่ ่งรายงานคนื นสิ ติ จะไม่ได้คะแนน

๓.๗.๖ แนวทางการเขียนบันทกึ รายงานผปู้ ่วยเม่ือแรกรบั
 ข้อมูลพืน้ ฐานของผู้ปว่ ย
 ประวัติ
๑. อาการสาคญั (Chief compliant)
๒. ประวตั ิปจั จุบนั (Present illness)
๓. ประวตั อิ ดีต (Past history)
๔. ประวตั คิ รอบครัว (Family history)
๕. ประวัตสิ ว่ นตวั และสงั คม (Personal and Social history)
๖. ประวัติยาและภมู ิแพ้ (Drugs and allergies)
๗. ประวตั อิ าการตามระบบ (Review of systems)
 การตรวจร่างกาย
๑. Vital signs
๒. General appearance
๓. Skin
๔. Head-Eye-Ear-Nose-Throat (HEENT)
๕. Neck
๖. Breast (โดยเฉพาะผู้หญิง)
๗. Cardiovascular system
๘. Respiratory system
๙. Alimentary system
๑๐. Genitourinary system
๑๑. Nervous system
๑๒. Musculoskeletal system
๑๓. Lymphatic system

คู่มอื การเรียนการสอน ศูนย์แพทยศาสตรศึกษา รพ.สมเด็จพระปนิ่ เกลา้ พร. /๑๘

 ผลการตรวจทางห้องปฏิบตั ิการเบอื้ งต้นทส่ี าคญั
 การเขยี นสรปุ ประเด็นปัญหาของผู้ปว่ ย (Problem lists)
 การวินิจฉยั โรคหรอื ภาวะที่เป็นไปไดม้ ากท่ีสดุ (Provisional diagnosis) และการ
วินิจฉัยแยกโรค (Differential diagnosis)
 การเขียนอภปิ ราย (Discussion) โดยมีการประยกุ ตร์ ะหวา่ งความร้กู ับขอ้ มูลทไี่ ดจ้ ากผ้ปู วุ ย
การวางแผนการรักษา (Plan of management) หมายถงึ การส่งตรวจเพ่มิ , การรกั ษา และการแนะนา ฯลฯ
๓.๘ Teaching round
สาขาวิชาฯ จัดให้มีการสอนข้างเตียงผู้ปุวยตามตารางราวด์ที่กาหนด โดยให้นิสิตเลือกผู้ปุวยตาม
หัวข้อการสอนข้างเตียง ตามปัญหาและตามอาการ และแจ้งหัวข้อท่ีจะทาการสอนข้างเตียงกับอาจารย์ผู้สอน
และนิสิตในกลุ่ม ให้ทราบก่อนล่วงหน้า ไม่น้อยกว่า ๒๔ ชั่วโมง ในกรณีท่ีอาจารย์ไม่สามารถทาการสอนข้าง
เตยี งในวนั -เวลาทีก่ าหนดไดข้ อให้นิสิตทาการเล่อื นนดั กับอาจารย์เป็นวนั -เวลาอ่นื แทนโดยไม่ใหม้ กี ารยกเลิก
๓.๙ การเรียนทห่ี ้องตรวจโรคผูป้ ว่ ยนอก (OPD)
สาขาวชิ าฯ จดั ให้มีการสอนท่ีหอ้ งตรวจผปู้ วุ ยนอกอายรุ เวชกรรมเฉพาะโรคกับอาจารย์ที่รบั ผิดชอบ
เพ่อื ให้นิสติ ไดซ้ ักประวตั ติ รวจรา่ งกาย และวางแผนการรกั ษาเบ้ืองต้น ตามตารางราวนท์ ี่กาหนด โดยนสิ ิต ๑
คน ต้องมปี ระสบการณ์ตรวจผปู้ ่วยนอกอายุรเวชกรรมไม่นอ้ ยกวา่ ๒๘ รายตอ่ ปี

หัวข้อการสอนข้างเตยี งนิสิตแพทย์ช้ันปีท่ี ๔
ตามเกณฑ์มาตรฐานผ้ปู ระกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา พ.ศ.๒๕๕๕
อาการ / ปัญหาสาคญั
๑. ไข้
๒. ออ่ นเพลยี ไมม่ ีแรง
๓. ปวดศีรษะ มึนศรี ษะ เวยี นศรี ษะ หน้ามดื เปน็ ลม
๔. ภาวะผดิ รูป
๕. การเจรญิ เติบโตไม่สมวัย
๖. การเดนิ ผดิ ปรกติ
๗. นา้ หนักเพิ่มขึน้ น้าหนกั ตัวลดลง
๘. อุบัตเิ หตุ สตั ว์กดั ต่อย
๙. ปวดฟัน เลอื ดออกตามไรฟนั
๑๐. ปวดท้อง แนน่ ทอ้ ง ทอ้ งอดื
๑๑. ตาเหลอื ง ตวั เหลือง
๑๒. เบ่ืออาหาร คลนื่ ไส้ อาเจียน อาเจียนเป็นเลือด
๑๓. สะอึก สาลกั กลนื ลาบาก
๑๔. ท้องเดนิ ท้องผูก อจุ จาระเปน็ เลือด อจุ จาระดา
๑๕. ก้อนในทอ้ ง
๑๖. กล้ามเน้ืออ่อนแรง ชกั สนั่ กระตกุ ชา ซมึ ไม่รสู้ ติ
๑๗. ปวดหลงั ปวดคอ ปวดเม่ือยตามกล้ามเนื้อ ปวดกระดูก ปวดข้อ ปวดแขน ปวดขา
๑๘. ขอ้ ฝืดตึง ข้อติด
๑๙. เจ็บคอ คดั จมูก นา้ มูกไหล จาม เลอื ดกาเดาออก เสียงแหบ
๒๐. ไอ ไอเป็นเลือด หอบเหนอื่ ย หายใจขัด หายใจไม่อิ่ม เจบ็ หน้าอก ใจสนั่ เขียวคล้า
๒๑. นอนกรน
๒๒. บวม ปัสสาวะลาบาก ปสั สาวะแสบขดั ปสั สาวะบอ่ ย ปสั สาวะสีผดิ ปกติ กลน้ั ปสั สาวะไม่ได้
๒๓. ปสั สาวะออกน้อย ปัสสาวะไม่ออก

คมู่ ือการเรยี นการสอน ศนู ยแ์ พทยศาสตรศึกษา รพ.สมเดจ็ พระป่นิ เกล้า พร. /๑๙

๒๔. ปสั สาวะมเี ลือดปน ปสั สาวะเป็นกรวดทราย ปสั สาวะเปน็ ฟอง
๒๕. หนองจากท่อปัสสาวะ
๒๖. แผลบริเวณอวยั วะเพศ
๒๗. ผน่ื คัน แผล ฝี สวิ ผิวหนังเปล่ยี นสี ผมรว่ ง
๒๘. กอ้ นทค่ี อ ก้อนใตผ้ ิวหนัง กอ้ นทเี่ ต้านม
๒๙. ซดี ตอ่ มน้าเหลอื งโต
๓๐. จ้าเลอื ด จุดเลือดออก เลอื ดออกง่าย

หมายเหตุ:
๑. ใหน้ ิสติ เลอื กผูป้ วุ ยทจ่ี ะทาการสอนข้างเตียง โดยใหม้ อี าการหรือปัญหาสาคัญตามทร่ี ะบุไว้
๒. ใหน้ สิ ติ ผเู้ ตรียมผปู้ ุวย ทาการแจง้ หวั ข้อทจี่ ะทาการสอนข้างเตียงแกอ่ าจารยผ์ ู้สอนและนสิ ิตในกลมุ่ ทเี่ หลือ
ล่วงหนา้ อย่างนอ้ ย ๒๔ ชวั่ โมง
๓.๑๐ กิจกรรมในหอ้ งเรยี น

๓.๑๐.๑ การบรรยาย เน้นความร้พู นื้ ฐาน นยิ ามระบาดวทิ ยา สาเหตุ และกลไกการเกิดโรค การวินิจฉัย
การรักษา และการปูองกันทางอายุรกรรมท่ีพบได้บ่อย ในวันอังคาร , พฤหัสบดี และศุกร์ เวลา
๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. ในวันแรกของการปฏิบัติงาน จะมีการปฐมนิเทศแนะนาเก่ียวกับการเรียนวิชา
อายรุ ศาสตร์ การปฏิบัติงานในหอผูป้ ุวยและการทาหตั ถการและการแปลผลการตรวจทางห้องปฏบิ ัติการ

๓.๑๐.๒ กรณีศกึ ษา Case study นสิ ติ ทีไ่ ด้รับมอบหมายจะเป็นผนู้ าเสนอกรณีศกึ ษาของผ้ปู ุวยตาม
หัวข้อท่ีสาขาวิชาฯ กาหนดและจะต้องติดต่อกับอาจารย์ที่รับผิดชอบ ก่อนล่วงหน้าอย่างน้อย ๑ สัปดาห์ เพื่อ
รับโจทยป์ ญั หาและประเดน็ ทตี่ ้องอภิปราย โดยอาจารย์เป็นผชู้ แี้ นะและสรุปประเดน็ รวมทง้ั ประเมนิ นิสติ

๓.๑๐.๓ Problem – base learning นิสิตท่ีได้รับมอบหมายจะเป็นผู้นาเสนอประเด็นตามหัวข้อท่ี
อาจารย์กาหนดโดยจะต้องรับโจทย์ปัญหา/ประเด็นที่จะต้องอภิปรายโดยอาจารย์จะเป็นผู้ชี้แนะและสรุป
ประเดน็ ท่ีสาคญั รวมทั้งประเมนิ นสิ ติ

๓.๑๐.๔ Noon Report ในวันจันทร์ และพฤหัสบดี เวลา ๑๒.๓๐ – ๑๓.๐๐ น. เพื่อรับทราบปัญหา
และเหตกุ ารณเ์ กย่ี วกบั ผ้ปู วุ ยท่เี กดิ ข้ึนใน ๑ สปั ดาหท์ ่ีผ่านมา สาหรับการวางแผนการดูแลรักษาที่เหมาะสมและ
ถูกต้องในชว่ งเวลาราชการ โดยผู้ปุวยที่นามาอภิปรายประกอบด้วยผู้ปุวยเดิมในหอผู้ปุวยท่ีมีปัญหา หรือผู้ปุวย
รับใหม่ที่มีปัญหา และเพ่ือให้แพทย์ประจาบ้านสามารถเสนอประวัติ, ผลการตรวจร่างกาย,การบาบัดรักษา
และอภปิ ราย โดยแพทยป์ ระจาบา้ นเปน็ ผู้นาเสนอผปู้ วุ ยทมี่ ีปญั หาหรอื นา่ สนใจ ๑๕–๓๐ นาที นิสิตท่ีมีเวลาว่าง
จากการปฏบิ ัตงิ านควรจะเขา้ ฟงั เพอ่ื ทจี่ ะได้สังเกตวิธีการนาเสนอและอภิปราย

๓.๑๐.๕ Interesting case / Topic Review / Journal club ทุกวันพฤหัสบดี เวลา ๑๒.๐๐ –
๑๓.๐๐ น. เป็นกิจกรรมท่ีมอบหมายให้ Extern / แพทย์ใช้ทุน / แพทย์ประจาบ้าน นาเสนอปัญหาหรือ
กรณีศึกษาท่ีน่าสนใจโดยจะเป็นการอภิปรายหรือบรรยายทั้งด้านทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ นิสิตจะได้รับ
ความรู้และประสบการณ์เพมิ่ เติมนอกเหนือจากทไ่ี ด้รับจากการบรรยายและการปฏิบัติงาน

๔. การลากจิ หรือลาปวย

๔.๑ นิสิตที่มีเหตุจาเปนตองลากิจหรือลาปวย จะตองยื่นใบลาอยางเปนทางการ โดยใหแพทยประจาบาน/แพทย์ใช
ทนุ ประจาหอผปู วย และอาจารยที่ทาหนาท่ีสอนขางเตียงในวันน้นั รับทราบและลงนามรับรองในใบลาแลวสงท่ี
เจาหนาทส่ี าขาวชิ าฯ ทกุ คร้ัง
๔.๒ หากนิสติ ตองลาในกรณฉี ุกเฉิน จะตองแจงหรอื ใหผู้ปกครองแจงกบั อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาทราบกอน
แลวสงใบลาเม่ือกลบั มาเรยี น
๔.๓ การสงใบลา

คู่มอื การเรียนการสอน ศนู ยแ์ พทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเดจ็ พระป่ินเกลา้ พร. /๒๐

กรณีลากิจ อนุญาตใหลาไดเฉพาะเหตุจาเปนเทาน้ัน โดยใหสงใบลาท่ีสาขาวิชาฯ ลวงหน้ากอนวันลา
อยางนอย ๕ วัน โดยจะตองไดรับอนุญาตและมีลายมือช่ือแพทยประจาบานผูรับผิดชอบประจาหอผูปวยใน
ชวงนน้ั ๆ จงึ จะสามารถลาได

กรณลี าปวย หรือลากจิ ฉุกเฉิน ใหสงใบลาภายในวนั แรกท่ีกลบั เข้าชั้นเรยี น ในกรณีท่เี ปน็ โรคทางอายุรกรรม
ใหขอใบรับรองแพทยจากอาจารยหรอื แพทยประจาบานอายรุ ศาสตรเทาน้ัน สวนการลาปุวยดวยโรคท่ีไมใชโรค
ทางอายุรกรรม ตองเปนใบรับรองแพทยอาจารยแพทยจากสาขาวิชาน้ันๆ เทานั้น (ไมรับใบรับรองแพทยจาก
แพทยประจาบานสาขาวิชาอ่นื ๆ หากใบรบั รองแพทยเปนเทจ็ สาขาวิชาอายุรศาสตรจะทาการลงโทษข้ันรุนแรง
โดยตดั สนิ ผลการประเมนิ ใหเปนลาดบั ขั้น F เทานั้น
๓.๕ นสิ ติ ตองมีเวลาเรยี นและเวลาในการปฏบิ ตั งิ านในรายวชิ าไมนอยกวารอยละ ๘๐ ของเวลาทั้งหมดจึงจะมี
สทิ ธิไดรับการวัดและประเมนิ ผล

๕. การวัดและประเมินผล

๕.๑ อายุรศาสตร์ ๑ การวัดผล เกณฑก์ ารประเมนิ ผล

๑. สอบขอ้ เขยี น MCQ ๑๐๐ ขอ้ (๗๕%) >ร้อยละ ๖๐ (อิงกลุม่ )
๒. การนาเสนอ case study ๑ case* (๒๕%) >รอ้ ยละ ๖๐ (อิงเกณฑ์)
*นิสิตจะต้องนาแบบประเมินการทา case study ใหก้ บั อาจารย์ผสู้ อนเพอื่ ให้คะแนนหลังจากสิ้นสดุ การ
สอนในแตล่ ะครัง้
๕.๒ อายุรศาสตร์ ๒
การวดั ผล เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
๑. การสอบ MEQ ๓ ข้อ (๓๐%) >รอ้ ยละ ๖๐
๒. การสอบ Long case ๑ case* (๓๐%) >ร้อยละ ๖๐ (องิ เกณฑ์)
๓. การเขยี นรายงานผู้ปุวย ๑๐ ฉบบั (๓๐%) >ร้อยละ ๖๐

ประกอบด้วย การส่งรายงานตรงเวลา เน้ือหาของรายงาน

๔. การเขยี น Progress note, การเขียนผู้ปุวยใหม่และ >รอ้ ยละ ๖๐
การเขยี นสรปุ รายงานเมอื่ พ้นจากความรบั ผิดชอบ(๑๐%)

*การสอบ Long case มีการจัดสอบช่วงสัปดาห์ที่ ๗-๑๐ ของแต่ละชุด ให้นิสิตนัดเวลากับอาจารย์ผู้สอน
โดยมีอาจารย์ควบคมุ การสมั ภาษณ์ประวตั แิ ละตรวจร่างกาย นิสิตรายงานและอาจารย์ถาม ๖๐ นาที เมื่อเสร็จ
สิ้นการสอบถาม นิสิตจะต้องกาหนดส่ิงท่ีตนเองยังไม่ทราบเมื่ออาจารย์เห็นด้วยให้ไปศึกษาด้วยตนเองและ
กลับมารายงานภายใน ๒๔ ชั่วโมง จึงจะเสร็จสิ้นการประเมินผล (ข้อมูลต่างๆ และกาหนดการอาจมีการ
เปลีย่ นแปลง ตามความเหมาะสม)

๕.๓ อายุรศาสตร์ ๓

การวดั ผล เกณฑ์การประเมินผล

๑. การสอบ MEQ ๓ ข้อ (๓๐%) >ร้อยละ ๖๐

๒. การสอนขา้ งเตยี ง (๓๐%) >รอ้ ยละ ๖๐ (อิงเกณฑ์)
นิสิตจะตอ้ งนาแบบประเมินการสอนขา้ งเตยี ง >รอ้ ยละ ๖๐

ใหก้ ับอาจารยส์ อน หลังจากที่สน้ิ สดุ การสอนขา้ งเตียง ประกอบด้วย การส่งรายงานตรงเวลา เนอ้ื หาของรายงาน
ในแตล่ ะครั้ง
๓. การสอบ OSCE (๓๐%)
การแปลผลทางห้องปฏบิ ัตกิ ารและ Clinical sign
ตา่ งๆ ๑๕ ข้อ

คมู่ อื การเรียนการสอน ศนู ย์แพทยศาสตรศึกษา รพ.สมเดจ็ พระปิ่นเกลา้ พร. /๒๑

การวัดผล เกณฑ์การประเมินผล

๔. การปฏบิ ตั ิงานในหอผปู้ วุ ย (๙%) >รอ้ ยละ ๖๐
นิสติ จะตอ้ งนาแบบประเมินการปฏิบตั ิงานท่ีไดจ้ าก
ภาควิชาฯไปให้แก่แพทยป์ ระจาบ้าน หรอื แพทย์ใช้ทนุ
ประจาสาย เมื่อสน้ิ สดุ การปฏบิ ตั ิงานในสายนัน้ ๆเพอ่ื ท่ี
แพทยฯ์ จะไดป้ ระเมินและสง่ ต่อใหก้ บั อาจารย์ประจา
หอผู้ปวุ ยตอ่ ไป
๕. สมดุ ฝกึ ปฏิบัติงานของนักศึกษา (๑%) - ไม่ส่งสมุดปฏบิ ัตงิ าน ๐%
นสิ ิตจะตอ้ งส่งสมดุ ปฏบิ ัติงานในวนั จนั ทรแ์ รก - ส่งช้ากว่าเวลาที่กาหนด หรือบนั ทึกข้อมลู ไม่
หลังจากการปฏบิ ัตงิ านในวชิ าอายรุ ศาสตร์ ครบถ้วน ๐.๕%

สมดุ ประจาตัวนิสิตแพทย์ (Log book)

สมุดประจาตัวนิสิตแพทย์ให้บันทึกการปฏิบัติงานในหอผู้ปุวยเกี่ยวกับการทากิจกรรมต่างๆ ที่กาหนด

หัตถการ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การปฏิบัติงาน การอยู่เวร โดยให้มีอาจารย์เป็นผู้ลงช่ือกากับ โดยนิสิต

แต่ละคนจะมีสมุดประจาตัวนิสิตคนละ ๑ เล่ม สมุดประจาตัวนิสิตน้ีจะทาให้นิสิตแพทย์และอาจารย์ได้

ตรวจสอบการเรียนรู้ของนิสิตว่าได้มีประสบการณ์การเรียนรู้ในหัวข้อต่างๆ ท่ีกาหนดไว้หรือไม่ ถ้าไม่ครบหรือ

ยงั พร่องเรอ่ื งใดอยกู่ ็ควรหาโอกาสเรยี นร้เู รือ่ งนน้ั ๆ ให้ครบถ้วน นิสิตจะต้องหมั่นกรอกข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ

และจะตอ้ งเก็บรักษาสมดุ น้ีไว้ใหด้ ี นสิ ิตจะตอ้ งสง่ สมุดนี้ทศ่ี ูนยแ์ พทยศาสตรศึกษาฯ เมือ่ ลงกอง

เกณฑก์ ารหักคะแนนภาคปฏบิ ตั ิ

๑. ขาดเรยี นโดยไมม่ เี หตผุ ล หกั คะแนนรอ้ ยละ ๑๐ ของคะแนนภาคปฏิบตั ใิ นแต่ละครง้ั

๒. ขาดความรับผิดชอบต่องานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย ใหต้ กภาคปฏบิ ตั เิ น่อื งจากไมผ่ า่ นเรอ่ื งเจตคติ

** กรณีตกเจตคติ ตอ้ งข้นึ เรยี นใหมท่ ง้ั Block

- ขาดเวรโดยไม่มเี หตผุ ลอนั สมควร

- ไมร่ บั คนไข้ โดยไม่มเี หตผุ ลสมควร

- ไมท่ างานทไี่ ด้รบั มอบหมายใหเ้ ปน็ ผู้รบั ผิดชอบนั้น

- สง่ รายงานไม่ครบถ้วน หรอื ไม่สง่ รายงานเป็นระยะตามทก่ี าหนด

๓. ประพฤติตนไม่เหมาะสมด้านจรยิ ธรรม เช่น

- แตง่ กายไม่สุภาพ ไม่เหมาะสม

- มกี ิริยาวาจาไมส่ ภุ าพกับผู้ปุวย ญาติผปู้ ุวย หรือผู้รว่ มงาน

- กอ่ เหตุทะเลาะวิวาท

- กอ่ เหตุไมเ่ หมาะสมด้านชูส้ าว

- ความประพฤติอันสอ่ เจตนาทจุ รติ เช่น ลอกรายงาน แก้ไข้วนั ทรี่ ับคนไข้ ให้เพือ่ นเขยี นรายงานให้

** กรณีประพฤติตนไม่เหมาะสมด้านจริยธรรม ฝุายอายรุ กรรมจะดาเนินการสอบสวน โดยกรรมการของ

ฝาุ ยอายุรกรรม การกาหนดโทษข้ึนกับดลุ ยพินิจของคณะกรรมการ

คมู่ ือการเรียนการสอน ศูนยแ์ พทยศาสตรศึกษา รพ.สมเดจ็ พระปนิ่ เกล้า พร. /๒๒

การสอบแก้ตัว
การสอบซ่อม จะซ่อมเฉพาะส่วนท่ีไมผ่ า่ น ถา้ สอบไมผ่ า่ นสว่ นใดให้ซอ่ มเฉพาะสว่ นนั้น โดยให้อยใู่ น

ดุลยพนิ ิจของอาจารย์

๖. ข้อปฏิบัติอน่ื ๆ ของนสิ ิตแพทย์ รายวิชาอายุรศาสตร์
๖.๑ การแต่งกาย

ให้นิสิตแต่งกายด้วยเคร่ืองแบบนิสิต ชุดเวลาเรียนปกติ ตามประกาศของคณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา โดยต้องเก็บชายเสื้อไว้ในกางเกงหรือกระโปรงให้เรียบร้อยและสวมเส้ือคลุมยาวสีขาว
(gown) ทับ รวมทั้งติดบัตรประจาตัวนิสิตในขณะท่ีปฏิบัติงาน ท้ังในและนอกเวลาราชการ
พร้อมทัง้ ติดบตั รประจาตวั นสิ ิต และไม่อนุญาตใหส้ วมรองเทา้ แตะข้ึนปฏิบัติงาน
๖.๒ การรับประทานอาหารในช่วงข้ึนเวร

นสิ ิตแพทยส์ ามารถรบั ประทานอาหารได้ทห่ี ้องพักแพทย์ หอผู้ปวุ ยอายรุ กรรมสามญั ตกึ ๘๐ ปี ช้ัน ๖
และชนั้ ๗

ค่มู อื การเรยี นการสอน ศูนยแ์ พทยศาสตรศึกษา รพ.สมเด็จพระปน่ิ เกลา้ พร. /๒๓

ภาคผนวก

Clinical Performance As

แบบประเมิน C (ฉบับปรบั ปรุง) ศนู ย์แพทยศาสตรศึกษา รพสมเด็จพระปน่ิ เกล้า กรมแพทย์ทหารเรอื
Clinical Performance in......................................................
Clinical Performance Assessment Form: Longit

ชอ่ื -นามสกลุ (นาย/นางสาว)..........................................................................................................รหัสนิสิต..

Ward/sub rotationอาจารยผ์ ู้ประเมิน........................................................................................................

( ) ประเมินได้ ๑ .Psychomotor Domain..……..คะแนนหัวขอ้ ยอ่ ยทคี่ ิดเฉพาะ(คะแนน......................

๒ . Affective Domain ……..…….คะแนน หัวขอ้ ย่อยทคี่ ิดเฉพาะ(คะแนน.....................

ปฏิบตั งิ านต้ังแตว่ ันที่......................................จนถงึ วนั ท่ี....................................รวม........วัน / ลากิจ............

Psychomotor Domain Outstanding (10คะแนน) Very Satisfac

๑ .Clinical Skill )Hx.Taking. PE ( ) ทาไดถ้ กู ต้องครบถ้วน ( ) ทาไดถ้ กู ต้องครบ

& Procedures) คลอ่ งแคล่ว ดูนา่ เชอ่ื ถอื แต่ยังไม่คลอ่ งแคล่ว

๒ Clinical Knowledge ( ) ความรูถ้ ูกต้องทันสมยั สามารถ ( ) ความร้ถู กู ต้องทัน
ประยกุ ตค์ วามรใู้ นการดแู ลผู้ปุวยแต่ละ ประยุกตค์ วามรใู้ นกา
๓ .Clinical Diagnosis รายได้ดเี ลิศ แต่มขี ้อปรบั ปรุงอยู่บ
( ) สรุปปัญหาผู้ปวุ ยได้ครบถ้วน และ Dx ( ) สรปุ ปัญหาผู้ปุวย
๔. Rational Patient & DDx.ได้ถูกตอ้ ง เหมาะสม ไดถ้ กู ต้องแต่ DDx ย
investigation & ( ) ตดั สินใจได้ถกู ต้องเหมาะสมไม่มากเกิน ( ) ตัดสินใจไดถ้ กู ต้อ
Management ความจาเป็นสามารถอธิบายเหตุผลได้น่า อธบิ ายเหตุผลในการ
๕ .Patient Education เชื่อถอื และแสดงถงึ holistic care ปรับปรุงอยบู่ า้ ง
( ) อธิบายขอ้ มลู สาคัญครบถ้วน เขา้ ใจง่าย ( ) ขาดข้อมลู สาคัญ
เหมาะกบั พ้ืนฐานผปู้ ุวยเป็นการสอ่ื สาร ๒ ส่วนร่วมของผปู้ ุวยใน
ทาง

คู่มอื การเรียนการสอน ศนู ย์แพทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเด็จพระป่นิ เกลา้ พร. /๒๔

ssessment Form: Longitudinal Observation

อ. Code หรอื
...................................... ภาพนิสิต
tudinal Observation

..........................................เลขที่.........................ชน้ั ปี...................................ปีการศึกษา......................

...............…….……....……กลมุ่ รายวชิ า…………………………………………………..………….............………………

..................คะแนนที่ได้)...........................................

....................คะแนนท่ีได้)..........................................

...วนั / ลาปวุ ย……........วัน / ขาด……........วัน

ctory (8คะแนน) Satisfactory (6คะแนน) Unsatisfactory (4คะแนน)

บถ้วน ( ) มขี ้อผดิ พลาด ( ) มขี ้อผิดพลาดใน

ในการทาอยูบ่ ้าง การทาหลายประการ

นสมยั สามารถ ( ) ขาดความรู้ทจี่ าเป็นในดแู ลผู้ปุวยบ้าง ( ) ขาดความรู้ท่ีจาเป็นในดแู ลผปู้ ุวย
ารดแู ลผู้ปวุ ยแต่ละราย ประการ หลายประการ
บ้าง
ยได้ครบถ้วนและ Dx ( ) สรุปปัญหาผู้ปวุ ยได้ไม่ครบถ้วนหรือ Dx ( ) ไม่สรุปปญั หาผู้ปุวย หรือไม่
ยงั ไมเ่ หมาะสม กลมุ่ โรคได้แต่ไม่สามารถDx โรคได้ สามารถ Dx กล่มุ โรค
องเหมาะสมแตก่ าร ( ) การตัดสินใจยงั มีขอ้ ผิดพลาดอยู่บา้ ง ( ) การตัดสินใจยงั มีข้อผิดพลาดอยู่
รตดั สินใจยงั มขี ้อ หรือไม่สามารถระบุเหตุผลท่ีน่า เช่ือถอื ใน หลายประการ
การตดั สินใจได้
ญเล็กนอ้ ยหรอื ขาดการมี ( ) ขาดข้อมลู สาคัญหลายประเด็นหรือ ( ) การส่ือสารไมเ่ หมาะสมกับพ้ืนฐาน
นการสือ่ สารเลก็ น้อย เป็นการสอื่ สารทางเดียวเปน็ ส่วนใหญ่ ผู้ปวุ ยหรือฟงั เข้า ใจยากหรอื ใหข้ ้อมูล
สาคัญผิด

หน้าท่ี ๑ ใน ๓ หนา้

๖ .Medical Record ( ) บนั ทกึ ข้อมลู ครบถ้วน ( ) บนั ทึกข้อมลู ครบ
๗ .Medical Ethics & เป็นระเบียบ กระชบั สมา่ เสมอ แต่ขาดประเด็นอน่ื ๑
Professional Laws ( ) แสดงให้เห็นพฤตกิ รรมตามจริยธรรม ( )ไมแ่ สดงพฤติกรร
วิชาชพี ทัง้ กับผู้ปุวย ญาติ ผูร้ ่วมงานทุก หรอื ผดิ กฎหมาย แล
Affective Domain ระดับ และมีวินัย มจี ิตอาสา และยดึ หลกั
๘ .Presentation กฎหมาย จารตี ประเพณี Very Sati
๙. Manner ( ) นาเสนอข้อมูลได
Outstanding(10) แตต่ อ้ งถามเพ่ิมเตมิ เ
๑๐. Punctuality ( ) นาเสนอข้อมูลไดเ้ ป็นลาดับ เข้าใจง่าย ( ) แตง่ กายสะอาด
๑๑ .Responsibility โดยไมต่ อ้ งถามเพมิ่ เติม กับความเป็นแพทย์
( ) แต่งกายสะอาด ถูกระเบียบ เหมาะสม กริ ยิ าท่แี สดงถงึ การใ
๑๒. Honesty กบั ความเปน็ แพทย์ อ่อนนอ้ มสภุ าพ ใช้ สิทธิผู้ปวุ ย
๑๓ .Information Searching วาจาและแสดงกริ ยิ าท่แี สดงถงึ การให้ ( ) สง่ งานตรงตามก
๑๔. Active Participation เกียรติ และเคารพสิทธผิ ู้ปวุ ย แทบไมเ่ คยมาสายเล
( ) สง่ งานตรงตามกาหนดทกุ คร้งั และไม่ ( ) มขี ้อบกพรอ่ งเลก็
๑๕. Teamwork เคยมาสายเลย / ทางานท่ีได้รับมอบ
( ) รับผดิ ชอบดีเลิศ ติดตามความ
เปลีย่ นแปลงของผู้ปุวย ในความดูแลอย่าง ( ) ได้แสดงถงึ พฤตกิ
สมา่ เสมอ ซอ่ื สัตย์
( ) ได้แสดงถึงพฤติกรรมทแ่ี สดงถงึ ความ ( ) อา้ งอิงจาก stan
ซ่อื สตั ย์ มธี รรมาภิบาล
( ) อ้างองิ จาก journal/database ที่ ( ) มีสว่ นรว่ มในการ
เชอ่ื ถือได้ ร่วมอภปิ รายโดยใช้ห
( ) มสี ว่ นรว่ มในการเรียนการสอน และ ทฤษฎไี ดถ้ ูกต้องบาง
ร่วมอภปิ รายโดยใช้หลกั และเหตุผลเชิง ( ) มนี า้ ใจดี ชว่ ยเหล
ทฤษฎอี ย่างถูกตอ้ งทุกประเด็น มอบหมายด้วยความ
( ) มนี ้าใจดีเลิศช่วยเหลอื ทีมเกินกว่าที่
ได้รบั มอบหมายด้วยความเต็มใจเปน็ ประจา

คู่มอื การเรยี นการสอน ศูนย์แพทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเด็จพระปน่ิ เกลา้ พร. /๒๕

บถ้วน ( ) บนั ทึกขอ้ มลู ผิดพลาด ( ) บันทึกขอ้ มูลผิดพลาด
๑ ประเดน็ เล็กน้อยหรือขาดข้อมูลบางประการ หรอื ขาดขอ้ มูลสาคญั หลายประการ
มท่ีผิดจริยธรรมวิชาชีพ ( )ไมแ่ สดงพฤติกรรมท่ีผิดจริยธรรมวิชาชีพ ( ) มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ตามที่)
ละมจี ติ อาสา แต่มพี ฤติกรรมตอ่ ตา้ นกฎหมายหรอื (รายวชิ าหรือศูนย์แพทย์ฯ กาหนด
ระเบียบทางสังคม ระบรุ ายละเอียดพฤติกรรมไม่พึง)
isfactory (8) (ประสงค์
ด้เป็นลาดบั เข้าใจงา่ ย Satisfactory (6)
เลก็ นอ้ ย ( ) นาเสนอข้อมลู ไม่คอ่ ยเปน็ ลาดบั เข้าใจ Unsatisfactory(4)
ถกู ระเบียบ เหมาะสม ค่อนขา้ งยาก ( ) ข้อมลู สับสน ฟังแล้วไม่เข้าใจ นสิ ติ
วาจาสภุ าพ และแสดง ( ) วาจาสภุ าพ และแสดงกิรยิ าที่แสดงถงึ ไม่พร้อมในการนาเสนอ
ให้เกียรติ และเคารพ การให้เกียรติ และเคารพสิทธผิ ้ปู ุวย ( ) เป็นผทู้ ี่ ขาด สัมภาคารวะ หรือ
แสดงกิริยาท่ีไม่เหมาะสมไมใ่ ห้เกียรติ
และเคารพสิทธิผู้ปุวย

กาหนดเกือบทุกครัง้ และ ( ) สง่ งานชา้ กว่ากาหนดเป็นบางคร้ังหรอื ( ) ส่งงานช้ากว่ากาหนดบอ่ ยครง้ั หรือ
มาสายบ่อยครัง้ (> ๒ คร้งั )
ลย (< ๑ครัง้ ) มาสายเป็นบางคร้ัง (> ๒ครงั้ ) ( ) มขี ้อบกพรอ่ งในการดูแลผู้ปวุ ย /
ทางานท่ีได้รับมอบ หมายอยา่ งมาก
กน้อยในการดแู ลผู้ปุวย ( ) มีข้อบกพร่องในการดแู ลผู้ปวุ ย / หรอื ถูกร้อง เรียน
( ) มพี ฤตกิ รรมท่ีแสดงถึงความไม่
บหมาย ทางานที่ไดร้ ับมอบหมาย ซ่ือสัตย์(ตามทร่ี ะบุ)
( ) อ้างอิงจากตัวบุคคลหรือสบื ค้นแลว้
กรรมทีแ่ สดงถงึ ความ ( ) ไมม่ ีพฤติกรรมท่ีแสดงให้เหน็ ถงึ ความ ได้รบั ขอ้ มูลไม่ถูกตอ้ ง
ไมซ่ อ่ื สัตย์ ( ) มสี ่วนรว่ มในการเรียนการสอนและ
ndard textbook ( ) อา้ งอิงจากเอกสารคาสอน/ตารา การอภปิ รายนอ้ ย
ภาษาไทย
รเรียนการสอน และ ( ) มสี ว่ นรว่ มในการเรยี นการสอน แต่ไม่ ( ) แสดงกริ ิยาไม่เหมาะสม เอาเปรียบ
หลักและเหตุผลเชิง ใช้หลกั และเหตผุ ลเชงิ ทฤษฎใี นการ หรอื ปฏเิ สธเมอ่ื ถกู รอ้ งขอใหช้ ่วยงานทีม
งประเดน็ อภปิ ราย
ลือทีมเกนิ กวา่ ท่ไี ด้รับ ( ) ทางานเท่าที่ได้รับมอบหมายเท่านน้ั
มเต็มใจ

หน้าท่ี ๒ ใน ๓ หน้า

๑๖. Human Relationship ( ) มีมนุษยสัมพันธ์ดีเลิศ ชว่ ยสร้าง ( ) มีมนษุ ยสัมพันธ
๑๗. Overall Performance บรรยากาศที่ดีใหก้ บั ผ้รู ว่ มงาน ปญั หาใหผ้ รู้ ่วมงาน
( ) Outstanding ( ) Very Satisfact

รวม (คะแนน ๑๗๐) คะแนนท่ีได้คะแนน.........................

หมายเหตุ…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ ........................................................
วนั ที่.........................................................

คมู่ อื การเรยี นการสอน ศนู ย์แพทยศาสตรศึกษา รพ.สมเด็จพระป่นิ เกล้า พร. /๒๖

ธด์ ีมาก ไม่เคยสร้าง ( ) มีมนษุ ยสมั พันธ์ดพี อใช้ ทาให้ผู้รว่ มงาน ( ) มปี ัญหาด้านมนษุ ยสัมพนั ธ์ สร้าง
tory อึดอดั ใจเป็นบางคร้งั ปญั หาใหผ้ รู้ ว่ มงาน
( ) Satisfactory ( ) Unsatisfactory
( ) Borderline

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

..............อาจารย์ผูป้ ระเมิน (ผู้ประเมินคนท่ี.....)
................

หน้าที่ ๓ ใน ๓ หน้า

แบบประเมิน Multisource Ass

กล่มุ นสิ ิตแพทย์ช้ันปี.........................................................................หัวข้อการเรยี

วนั ที่ประเมิน¤ ....สถานะอาชีพ ..........................................................ผู้ประเมนิ ................

การแปลผลระดับคะแนน : คะแนน ๕ ดีมาก ต้องปรบั ปรุง ๑พอใช้ และ คะแนน ๒คะแนน , ปานเกลาง

หัวข้อการประเมนิ เพิ่มเตมิ ได้ตามท่รี ายวชิ ากาหนด เกณฑ์ผา่ นผลการประเมิน Peer Assessments ของนิสติ

เลขที่ รหัส ชอ่ื – สกุล คณุ ธรรม มสี มั พันธภาพท่ีดี
นิสติ จรยิ ธรรมวิชาชพี กบั ผู้ปวุ ย ญาติ

¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

คุณธรรมจริยธรรมวชิ าชีพ เน้นประเดน็ ความรู้ในหน้าที่ มีวินัย และมีจิตอาสา

คูม่ อื การเรยี นการสอน ศนู ยแ์ พทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเดจ็ พระปนิ่ เกลา้ พร. /๒๗

sessments การประเมินนิสิตแพทยเ์ ป็นกลุ่มปฏบิ ัติงาน

ยนรู้....................................................................................................รายวชิ า...................

............................ แพทย์ ¤ พยาบาล ¤สหสาขาวิชาชพี ¤ อื่นๆ ระบุ................................

๓คะแนน , ดี ๔ คะแนน ,

ตแตล่ ะคนคือตอ้ งมากกว่าเทา่ กับ ร้อยละ ๖๐ )ทาเคร่ืองหมายในช่องคะแนนที √ ่เลอื กประเมนิ (

ทางานเปน็ ทมี ปรบั ตัวและ มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ ผู้ปุวย คะแนน ขอ้ เสนอแนะ
ปฏบิ ัตงิ านรว่ มกบั ผ้อู ่ืนไดด้ ี และงานท่ไี ดร้ บั หมาย (เต็ม (๒๐

๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑ ¤๕ ¤๔ ¤๓ ¤๒ ¤๑

คู่มอื การเรียนการสอน ศูนย์แพทยศาสตรศึกษา รพ.สมเด็จพระป่นิ เกล้า พร. /28
แบบประเมนิ Multisource Assessments การประเมินนสิ ิตแพทยเ์ ป็นรายบคุ คล

ชอ่ื นสิ ติ แพทย์………………………………….………..ชนั้ ปี .............รหสั นสิ ติ .......................................................รายวิชา...............................

หอผูป้ ุวยหน่วย/ที่ปฏบิ ัตงิ าน .................................................................ผปู้ ระเมนิ ................................................................................

สถานะอาชพี ¤ แพทย์ ¤ พยาบาล ¤ สหสาขาวชิ าชีพ¤ อนื่ ๆ ระบุ.......................................................................................

วนั ทีป่ ระเมนิ …………………………………………….. (ในช่องคะแนนท่เี ลือกประเมนิ √ ทาเครื่องหมาย )

หัวข้อทีป่ ระเมนิ ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ตอ้ ง
(๕) (๔) (๓) (๒) ปรับปรุง

(๑)

๑. คณุ ธรรม จริยธรรม วิชาชพี ท่เี หมาะสม
(รูห้ นา้ ท่ี มวี นิ ัย มจี ิตอาสา ตรงเวลา)

๒. มีสมั พันธภาพท่ดี กี บั ผูป้ วุ ย ญาติ
(สภุ าพ อ่อนนอ้ ม ให้เกียรติ จรงิ ใจ)

๓. งานเป็นทีมสามารถปรบั ตวั และปฏิบัตงิ านร่วมกับผู้อ่ืนไดด้ ี
(ชว่ ยเหลือ เอื้ออาทร เคารพเสียงส่วนใหญ่ ใส่ใจเสียงสว่ นน้อย)

๔. มีความรับผดิ ชอบตอ่ ผูป้ วุ ยและงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
(เอาใจใส่ ดูแล ตัง้ ใจใหข้ ้อมลู ซอื่ สตั ย์ เคารพสิทธผิ ู้ปุวย)

๕. สามารถให้ข้อมูลด้านสุขภาพ และคาปรึกษาแก่ผู้ปุวย ญาติ หรือ
ประชาชน (มีความรู้ วาจาสภุ าพ เขา้ ใจง่าย ให้ความเสมอภาค)

๖. หวั ขอ้ ประเมินเพม่ิ เติม ตามทีร่ ายวิชากาหนด (ถ้ามี)

๗. หวั ข้อประเมินเพ่มิ เตมิ ตามทีร่ ายวิชากาหนด (ถ้ามี)

รวม (คะแนน...................เตม็ ) คะแนน.................................

ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม (โดยเฉพาะหัวข้อท่ตี ้องปรบั ปรุง)

.................................................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ผู้ประเมิน....................................................................

แบบประเมิน Cas

ช่ือนสิ ติ แพทย์……………………………….………………………………………….…….…ชั้นปที ี่…….……เลขท
หอผู้ปว่ ย......................................................................................................................อาสารยผ์
ผูป้ ่วยวนิ ิสฉยั เปน็ ......................................................................................................................

หวั ขอ้ การประเมิน

1.เจตคติดี นดั หมายลว่ งหน้า มาตรงเวลา (5 คะแนน) 5 4321
2.การนาเสนอเคสผปู้ ว่ ย (60 คะแนน)
2.1 นาเสนอประวัตถิ ูกตอ้ ง ครบถว้ น 10 8 6 4 2
2.2 นาเสนอตรวจรา่ งกายถูกต้องครบถว้ น 10 8 6 4 2
2.3 การต้ัง problem list และ differential diagnosis 10 8 6 4 2
2.4 การสรปุ วนิ ิจฉัยและอภิปรายเหตผุ ลประกอบ 10 8 6 4 2
2.5 การส่งตรวจและวเิ คราะหท์ างหอ้ งปฏบิ ัติการ 10 8 6 4 2
2.6 การใหก้ ารรักษาเบื้องต้น 10 8 6 4 2
.3การนาเสนอ (35 คะแนน)
3.1 สือ่ ทีน่ าเสนอมคี วามชัดเจน สวยงาม 5 4321
3.2 นาเสนอตรงประเดน็ เขา้ ใจง่าย 10 8 6 4 2
3.3 ทบทวนเนอ้ื หาวิชาการครบถว้ น มแี หล่งอา้ งอิงเช่ือถือได้ 10 8 6 4 2
3.3 การตอบคาถาม ชดั เจน 5 4321
3.4 ควบคุมเวลาไดต้ ามทกี่ าหนด 5 4321

ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม

รวม (เต็ม 100 คะแนน)

คมู่ อื การเรียนการสอน ศนู ย์แพทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเด็จพระป่ินเกลา้ พร. /29

se study (นิสติ แพทย์ชน้ั ปที ี่ 4)

ท่ี............รายวิชา........................................................................................
ผสู้ อน...........................................................วนั ท.ี่ .......................................
...................................................................................................................

ช่ือนิสิต

5 4321 5 4321 5 4321 5 4321

10 8 6 4 2 10 8 6 4 2 10 8 6 4 2 10 8 6 4 2
10 8 6 4 2 10 8 6 4 2 10 8 6 4 2 10 8 6 4 2
10 8 6 4 2 10 8 6 4 2 10 8 6 4 2 10 8 6 4 2
10 8 6 4 2 10 8 6 4 2 10 8 6 4 2 10 8 6 4 2
10 8 6 4 2 10 8 6 4 2 10 8 6 4 2 10 8 6 4 2
10 8 6 4 2 10 8 6 4 2 10 8 6 4 2 10 8 6 4 2

5 4321 5 4321 5 4321 5 4321
10 8 6 4 2 10 8 6 4 2 10 8 6 4 2 10 8 6 4 2
10 8 6 4 2 10 8 6 4 2 10 8 6 4 2 10 8 6 4 2
5 4321 5 4321 5 4321 5 4321
5 4321 5 4321 5 4321 5 4321

แบบประเมนิ การสอ

แบบประเมนิ การสอบรายยาว (Long Case examination) ของรายวิชา............................................

ชอ่ื -สกุลนิสิต.....................................................................................รหัสประจาตัว..............................

อาจารย์ผูส้ อบ/ประเมิน...........................................................................................................วัน/เดอื น

ปัญหาของผูป้ ุวย........................................................................................................................การวินจิ

คาช้แี จง ๑ สมเด็จพระปิน่ เกล้า.ตามแบบฟอร์มนเี้ ปน็ ข้อกาหนดกลางของศนู ยแ์ พทยศาสตรศึกษา รพ

รายวิชาสามารถเพ่มิ เติมรายละเอียดได้ แต่ขอใหค้ รอบคลมุ ประเดน็ และน้าหนกั คะแนนตา

๒ เกณฑ์ผา่ นให้ .>ร้อยละ ๖๐ เปน็ คะแนนรวมท้ังหมด รายวชิ าสามารถเพม่ิ เตมิ กตกิ าได้ เช่น
ดีมาก

หัวขอ้ การประเมิน (Very good)

ความถูกตอ้ งครบครบถ้วน > รอ้ ยละ๘๐

๑ การรวบรวมขอ้ มูล .(Data gating)

๑ การซกั ประวัติ ๑.(CC. /PI/Past Hx. /Drug  ได้ข้อมูลท่ีสาคัญ สอด คล้องกับปัญหาและ
allergy / Family Hx.) ๑๕ จับประเด็นปัญหาของผู้ปุวยไดเ้ ปน็ สว่ นใหญ่

๑ การตรวจร่างกาย ๒.(Physical  ข้ันตอนและเทคนิคการตรวจถูกต้อง เป็น
examination) ๑๕ ระบบคล่องแคล่ว ใช้เวลาเหมาะสม สอด

๒การประมวลขอ้ มูลและการนาเสนอ . (Data คล้องกับปัญหาของผู้ปุวยและผลการตรวจ
organization and presentation)
ถูกตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่
๓ การใช้เหตุผล .(Reasoning and Analysis)
 ประมวลข้อมูลท่ีเป็นประเด็นสาคัญได้
๑๐ ครบถ้วนสอดคล้องกับปัญหาผู้ปุวย การ

นาเสนอข้อมูลเป็นระบบ เป็นข้ันตอน

ตามลาดับเหตุการณ์ กระชับ ชัดเจน เป็น

สว่ นใหญ่

 ระบุปัญหาของผู้ปุวยได้ถูกต้อง ครบถ้วน
๑๕ วิเคราะห์ ปัญหา ตั้งสมมติฐาน วินิจฉัยแยก

โรค หรือ วินิจฉยั โรคไดอ้ ย่างเหมาะสมและมี

เหตุผล ใช้ข้อมูลท่ีได้และแปลผลได้อย่าง

เหมาะสมเป็นสว่ นใหญ่

คู่มอื การเรยี นการสอน ศูนย์แพทยศาสตรศึกษา รพ.สมเด็จพระป่นิ เกล้า พร. /30

อบรายยาว (Long Case examination)

.................................................................................. .................. ผลการประเมิน
.......................................................ชนั้ ปี..................................... สอบได้ คะแนน..............
น/ปีท่ีสอบ...................................................................................
จฉยั โรค...................................................................................... จากคะแนน..............
(ดีมาก ดี และตอ้ งปรับปรุง) ประเดน็ ที่ประเมนิ นา้ หนกั คะแนนและเกณฑ์.  ผา่ น  ไม่ผ่าน
ามทศี่ ูนยแ์ พทยศาสตรศกึ ษากาหนด เกณฑ์ผ่าน > ร้อยละ ๖๐

น หากมขี ้อผดิ พลาดร้ายแรง )Critical error) ถึงจะได้คะแนนรวมเกนิ ๖๐ คะแนนก็ถือว่าไม่ผา่ น เปน็ ตน้

ดี ตอ้ งปรบั ปรุง

(Good) (improvement required)

ความถกู ตอ้ งครบถ้วน >รอ้ ยละ๖๐-๘๐ ความถูกต้องครบครบถ้วน < ร้อยละ ๖๐

 ได้ข้อมูลที่สาคัญ สอด คล้องกับปัญหา  ไมไ่ ดข้ ้อมลู ท่ีสาคญั ไม่สอด คล้องกบั ปญั หา
๑๐ และจับประเด็นปัญหาของผู้ปุวยได้ ๕ และจบั ประเด็นปญั หาของผปู้ วุ ยได้น้อย

พอสมควร ข้ันตอนและเทคนิคการตรวจส่วนใหญ่ไม่
ถูกต้อง ไม่เป็นระบบไม่คล่องแคล่ว ใช้เวลาไม่
 ข้ันตอนและเทคนิคการตรวจถูกต้อง เป็น  เหมาะสม ไม่สอด คล้องกับปัญหาของผู้ปุวย
๑๐ ระบบคล่องแคล่ว ใช้เวลาเหมาะสม สอด ๕ และผลการตรวจถูกต้องเป็นส่วนนอ้ ย
ประมวลขอ้ มลู ที่เปน็ ประเดน็ สาคัญไม่ครบถว้ น
คล้องกับปัญหาของผู้ปุวยและผลการ ไมส่ อดคล้องกบั ปญั หาผู้ปวุ ย การนาเสนอ
ข้อมูลไม่เปน็ ระบบ ไมเ่ ปน็ ขั้นตอนตามลาดับ
ตรวจถกู ตอ้ งพอสมควร เหคกุ ารณ์ไม่กระชับไมช่ ดั เจน

 ประมวลข้อมูลทีเ่ ป็นประเด็นสาคัญได้ครบ  ระบุปัญหาของผู้ปุวยไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน
วิเคราะห์ ปัญหา ตั้งสมมติฐาน วินิจฉัยแยก
๖ ถ้วนสอดคล้องกบั ปัญหาผปู้ ุวยการ ๔ โรค หรือ วินิจฉัยโรคไม่เหมาะสมและไม่มี
เหตผุ ล ใชข้ อ้ มูลท่ีได้และแปลผลได้ น้อย
นาเสนอขอ้ มูลเป็นระบบ เป็นข้นั ตอน

ตามลาดบั เหคุการณ์กระชบั ชดั เจน

พอควร

 ระบุปัญหาของผู้ปุวยได้ถูกต้อง ครบถ้วน 
๑๐ วิเคราะห์ ปัญหา ตั้งสมมติฐาน วินิจฉัย ๕

แยก โรค ห รือ วินิจ ฉัย โรค ได้อ ย่า ง

เหมาะสมและมีเหตุผล ใช้ข้อมูลที่ได้และ

แปลผลไดอ้ ย่างเหมาะสม พอสมควร

หวั ขอ้ การประเมิน ดีมาก
๔ การใชเ้ หตุผล .(Reasoning and Analysis) (Very good)
ความถกู ตอ้ งครบครบถ้วน > รอ้ ยละ๘๐
๕.การตัดสินใจและการแก้ปญั หา (Decision
making and Problem solving)  ระบุปัญหาของผู้ปุวยได้ถูกต้อง ครบถ้วน
๑๕ วิเคราะห์ ปัญหา ต้ังสมมติฐาน วินิจฉัยแยก
๖ การสื่อสาร.(Communication)สงั เกต)
ระหว่างการซกั ประวัติ การตรวจรา่ งกายและการ โรค หรือ วนิ จิ ฉัยโรคได้อยา่ งเหมาะสมและมี
(แนะนาแก่ผปู้ ว่ ย/ให้คาปรึกษา เหตุผล ใช้ข้อมูลท่ีได้และแปลผลได้อย่าง
เหมาะสมเปน็ สว่ นใหญ่
๗ เจตคติ .(Professional attitude and
etiquette)  วางแผน Investigation& treatment ได้
๑๕ ตามขั้นตอนครบถ้วน เหมาะสม มีเหตุผล

สอดคล้องกับปัญหาของผู้ปุวย แปลผลการ
ตรวจได้ถูกต้อง ตัดสินใจแก้ปัญหาได้
เ ห ม า ะ ส ม บ น พ้ื น ฐ า น ข้ อ มู ล ท่ี มี อ ยู่ โ ด ย
คานงึ ถึงผู้ปวุ ยเป็นหลัก

 แนะนาตัว ขออนุญาต อธิบายเหตุผล ของ
๑๕ การซักประวัติ ตรวจร่างกาย ใช้คาถาม

เหมาะสม สอ่ื สารได้ชัดเจน สภุ าพ เข้าใจง่าย
เป็นการส่ือสาร ๒ ทาง ตอบคาถาม
เหมาะสม รับฟังผู้ปุวยส่ือสารทั้งได้ท้ังภาษา
พดู และกาย …(ทาไดด้ ี)

 เคารพสิทธิและคานึงถึงความรู้สึกของ
๑๕ ผู้ปุวยญาติ มองปัญหาผู้ปุวยแบบองค์รวม /

กิริยามารยาท คาพูด การแต่งกายสุภาพ
เรียบร้อย สามารถควบคุมอารมณ์ได้
เหมาะสมเป็นสว่ นใหญ่

คู่มอื การเรียนการสอน ศูนยแ์ พทยศาสตรศึกษา รพ.สมเด็จพระปน่ิ เกลา้ พร. /31

ดี ต้องปรบั ปรุง

(Good) (improvement required)

ความถกู ต้องครบถ้วน >ร้อยละ๖๐-๘๐ ความถกู ตอ้ งครบครบถ้วน < ร้อยละ ๖๐

 ระบุปัญหาของผู้ปุวยได้ถูกต้อง ครบถ้วน  ระบุปัญหาของผู้ปุวยไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน
๑๐ วิเคราะห์ ปัญหา ต้ังสมมติฐาน วินิจฉัย ๕ วิเคราะห์ ปัญหา ต้ังสมมติฐาน วินิจฉัยแยก

แยก โรค ห รือ วินิจ ฉัย โรค ได้อ ย่า ง โรค หรือ วินิจฉัยโรคไม่เหมาะสมและไม่มี

เหมาะสมและมีเหตุผล ใช้ข้อมูลท่ีได้และ เหตุผล ใชข้ อ้ มูลทไี่ ดแ้ ละแปลผลได้ นอ้ ย

แปลผลไดอ้ ย่างเหมาะสม พอสมควร

 วางแผน Investigation& treatment ได้  วางแผน Investigation& treatment ไม่เป็น
๑๐ ตามขั้นตอนครบถ้วน เหมาะสมมีเหตุผล ๕ ข้ันตอนไม่ ครบถ้วน ไม่เหมาะสม ไม่มีเหตุผล

สอดคล้องกับปัญหาของผู้ปุวย แปลผล ไม่สอดคล้องกับปัญหาของผู้ปุวย แปลผลการ

การตรวจได้ถูกต้อง ตัดสินใจแก้ปัญหาได้ ตรวจได้ถูกต้อง ตัดสินใจแก้ปัญหาได้ไม่

เ ห ม า ะ ส ม บ น พ้ื น ฐ า น ข้ อ มู ล ท่ี มี อ ยู่ โ ด ย เหมาะสมบนพื้นฐานข้อมูลที่มีอยู่ โดย

คานึงถงึ ผู้ปวุ ย ได้พอสมควร คานงึ ถงึ ผปู้ วุ ยเป็นส่วนน้อย

 แนะนาตัว ขออนุญาต อธิบายเหตุผล  แนะนาตัว ขออนุญาต อธิบายเหตุผล ของ
๑๐ ของการซักประวัติ ตรวจร่างกาย ใช้ ๕ การซักประวัติ ตรวจร่างกาย ใช้คาถาม

คาถามเหมาะสม สื่อสารได้ชัดเจน สุภาพ เหมาะสม สื่อสารได้ชัดเจน สุภาพ เข้าใจง่าย

เข้าใจง่าย เป็นการส่ือสาร ๒ ทาง ตอบ เป็นการสื่อสาร ๒ ทาง ตอบคาถามเหมาะสม

คาถามเหมาะสม สอ่ื สารท้ังได้ทั้งภาษาพูด ส่ือสารท้ังได้ทั้งภาษาพูดและกาย ทาได้ดี)...

และกาย (ทาไดด้ พี อควร)... (เป็นส่วนนอ้ ย

 เคารพสิทธิและคานึงถึงความรู้สึกของ  เคารพสิทธิและคานึงถึงความรู้สึกของผู้ปุวย/
๑๐ ผู้ปุวยญาติ มองปัญหาผู้ปุวยแบบองค์/ ๕ ญ า ติ ม อ ง ปั ญ ห า ผู้ ปุ ว ย แ บ บ อ ง ค์ ร ว ม

รวม กิริยามารยาท คาพูด การแต่งกาย กิริยามารยาท คาพูด การแต่งกายสุภาพ

สามารถควบคุมอารมณ์ สุภาพเรียบร้อย เรยี บรอ้ ย สามารถควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสม

ไดเ้ หมาะสมพอควร เป็นสว่ นน้อย

คู่มอื การเรียนการสอน ศูนย์แพทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเดจ็ พระปิน่ เกลา้ พร. /๓๒

eva.REP

แบบประเมนิ การเขียนรายงาน Report Assessment Form

ช่ือ-สกลุ นสิ ิต……………………………………….....…………………………............................................. ชน้ั ปที ่ี …………............................
รายงานฉบบั ที่ ......................................................................อาจารย์................................................. วนั ท่สี ง่ รายงาน .............
ช่อื ผู้ปุวย.......................................................………………………………………………HN………………....……..AN………………....…………..
วนิ จิ ฉยั โรค.....................................................................................................................................................................................

หัวขอ้ ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ตอ้ ง
ปรับปรงุ
๑. การสง่ รายงานตรงเวลา ส่งตรงเวลา เกนิ ๒๔ ชม . เกนิ ๔๘ ชม . เกิน ๗๒ ชม .
(คะแนน ๕) (เจ้าหน้าทีเ่ ปน็ ผูก้ รอก) ไม่ส่ง
๒ ๒๕) ประวัตมิ ีความละเอียดสมบรู ณ์ . ๕ ๔๓๒
(คะแนน ๐
๓ .ตรวจร่างกายมคี วามถกู ต้องครบถว้ น ๒๕)
(คะแนน ๒๕ ๒๐ ๑๕ ๑๐ ๕
๔ การตัง้ .Problem List และใหก้ ารวินจิ ฉัย
เบือ้ งตน้ (คะแนน ๑๐) ๒๕ ๒๐ ๑๕ ๑๐ ๕
๕การสง่ ตรวจและการวิเคราะห์ทาง .
หอ้ งปฏิบัตกิ าร(๑๐ คะแนน( ๑๐ ๘ ๖ ๔ ๒
๖การให้การรักษา . (๑๐ คะแนน(
๑๐ ๘ ๖ ๔ ๒
๑๐ ๘ ๖ ๔ ๒

๗ .การใชภ้ าษาและลายมอื ในการเขยี นรายงาน ๑๐ ๘ ๖ ๔ ๒
(๑๐ คะแนน(

รวม (คะแนน...............เตม็ ) คะแนนทไ่ี ด้.........................

ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ (โดยเฉพาะหวั ขอ้ ท่ีต้องปรบั ปรุง)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ………………………………..............................................................……..อาจารย์ผปู้ ระเมิน

กรณุ าส่งแบบประเมินคืนที่ธุรการกลมุ่ งานอายรุ เวชกรรม

คู่มือการเรียนการสอน ศูนยแ์ พทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเดจ็ พระปิ่นเกล้า พร. /๓๓

eva.REC

แบบประเมินเวชระเบียน Record Assessment Form

ช่อื -สกุลนสิ ติ ......................................................................................รหสั ...................................................
ช่อื ผู้ป่วย............................................................................................HN.....................................................
อาจารยผ์ ้ปู ระเมนิ .........................................................................................................................................

หมายเหตุ ข้อใดท่ปี ระเมนิ ไม่ได้ กรณุ าระบุเหตผุ ล เพ่ือประโยชนใ์ นการปรบั ปรุงแบบประเมิน

หัวขอ้ ทป่ี ระเมิน ดีมาก ดี ปาน พอใช้ ตอ้ ง หมาย
๑. การบนั ทกึ ข้อมูลผปู้ วุ ย กลาง ปรับปรุง เหตุ

๑.๑ ประวัติ (๑๐ คะแนน) ๑๐ ๘ ๖ ๔ ๒

๑.๒ การตรวจรา่ งกาย (๑๐ คะแนน) ๑๐ ๘ ๖ ๔ ๒

๑.๓ การสรุปปัญหาผูป้ วุ ย (๕ คะแนน) ๕๔๓๒๑

๑.๔ การเขยี น initial plan (๕ คะแนน) ๕๔๓๒๑

๒. การเขียน Progress Note

๒.๑ บนั ทกึ ทุกวันใน ๓ วนั แรก (๕ คะแนน) ๕๔๓๒๑

๒.๒ บันทกึ เพิม่ เติมเมอื่ มกี ารเปล่ียนแปลงของอาการหรอื การรักษา (๕ คะแนน) ๕ ๔ ๓ ๒ ๑

๓. การบนั ทกึ ผลตรวจทางห้องปฏบิ ัติการและแปลผล (๕ คะแนน) ๕๔๓๒๑
๔. การเขียน on/off service note หรือ transfer note เมื่อผูป้ ุวย ๕๔๓๒๑

เปล่ียน ward (๕ คะแนน) …………………………………คะแนน  ผ่าน  ไมผ่ า่ น
รวมคะแนน (คะแนน ๕๐เต็ม )

เกณฑผ์ ่าน > รอ้ ยละ ๖๐ (คะแนน ๓๐)

ลงช่ือ ...............................................………….อาจารย์ผ้ปู ระเมนิ
(.........................................................)

วนั ทปี่ ระเมิน....................................................

หมายเหตุข้อเสนอแนะของอาจารยผ์ ูป้ ระเมนิ /
..................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................

กรณุ าส่งแบบประเมนิ คนื ท่ธี ุรการกลุ่มงานอายรุ เวชกรรม

คมู่ อื การเรียนการสอน ศูนยแ์ พทยศาสตรศึกษา รพ.สมเดจ็ พระปิ่นเกลา้ พร. /34

แบบประเมิน Teaching round นสิ ิตแพทย์ชน้ั ปีท่ี 4

ชื่อสกลุ -นิสติ แพทย์ 1………………………………………………………………………………………………………รหสั ประจาตัว........................................
2………………………………………………………………………………………………………รหสั ประจาตวั ........................................
3………………………………………………………………………………………………………รหัสประจาตวั ........................................
4………………………………………………………………………………………………………รหัสประจาตวั ........................................
5………………………………………………………………………………………………………รหสั ประจาตวั ........................................
6………………………………………………………………………………………………………รหสั ประจาตวั ........................................

หัวข้อการนาเสนอ ………………………………………………….……………..………………...................วันที่...............................................................

หัวขอ้ ประเมนิ ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรบั ปรงุ
5 1
1ซกั ประวตั ิไดค้ รบถ้วน .และถกู ตอ้ ง 432
1.1 ข้อมลู ทไ่ี ดม้ คี วามครบถว้ น
1.2 ขอ้ มลู ท่ไี ดม้ ีความถกู ตอ้ ง
2ตรวจรา่ งกายได้ครบถ้วนและถกู ตอ้ ง .
2.1 ข้อมลู ตรวสรา่ งกายทไ่ี ดม้ คี วามครบถว้ น
2.2 ข้อมูลตรวจร่างกายท่ไี ดม้ คี วามถูกต้อง
3สรุปและรวบรวมปญั หาผูป้ ว่ ยครบถ้วน .
4วางแผนการดูแลรักษาได้เหมาะสม .
5 .เตรยี มขอ้ มูลในการนาเสนอได้ดีและมีความรู้ตอ่ โรคที่อภิปราย
6บคุ ลกิ .มัน่ ใจและใชภ้ าษาได้เหมาะสม

รวมคะแนน เต็ม)40 คะแนน( รวมได้คะแนน…………………………………คะแนน

ข้อเสนอแนะเพิม่ เตมิ
.....................................................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ อาจารย์ผู้ประเมนิ .....................................................................................................................

คมู่ อื การเรยี นการสอน ศนู ย์แพทยศาสตรศึกษา รพ.สมเดจ็ พระป่ินเกล้า พร. /๓๕

eva.STU

แบบประเมินการปฏบิ ตั งิ านของนสิ ติ แพทย์ รายวิชาอายุรศาสตร์ ปี4

ชอ่ื -สกุลนิสติ …………………………………….......…………..................รหัสนสิ ิต............................….…..ปีการศกึ ษา………..…. คะแนนท่ไี ด้
วนั ท่ีสถานที่...............................ปฏิบัติงาน…………………………………………….อาสารย์ผปู้ ระเมิน.....................................
........../................

1. Clinical Performance Assessment (Overall performance) ( 4 คะแนน ) เกณฑ์ผ่านรอ้ ยละ60
Outstanding ผา่ น ไม่ผ่าน

Very Satisfactory ( 3 คะแนน )

Satisfactory ( 2 คะแนน )

Unsatisfactory ( 0 คะแนน )

2. การตรงต่อเวลาและรบั ผดิ ชอบต่อการนดั หมาย

ไม่สาย ( 4 คะแนน )

สาย< 5 นาที แตม่ เี หตุผลอนั ควร ( 3 คะแนน )

สาย < 5 นาที โดยไม่มีเหตุผลอนั ควร ( 2 คะแนน )

สาย 5-15 นาที โดยไม่มีเหตผุ ลอันควร ( 1 คะแนน )

สาย > 15 นาที โดยไม่มีเหตผุ ลอนั ควร ( 0 คะแนน )

3. ความรับผิดชอบตอ่ ผู้ปว่ ยและงานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย

ทางานท่ีไดร้ ับมอบหมายอย่างรวดเร็ว ( 4 คะแนน )

รับผิดชอบดี แต่มีขอ้ บกพร่องในงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายเลก็ น้อย ( 3 คะแนน )

รับผิดชอบพอใช้ มีข้อบกพรอ่ งในงานทไ่ี ด้รับมอบหมายพอสมควร ( 2 คะแนน )

อ้งู านหรืองานมขี ้อบกพรอ่ งมากหรอื ลงเวลากอ่ นกาหนดโดยไม่ไดร้ บั อนุญาต ( 1 คะแนน )

ปฏิเสธทีส่ ะให้ความช่วยเหลอื เม่ือไดร้ ับร้องขอ ( 0 คะแนน )

4. ใฝ่รู้กระตือรอื ร้นในการเรียน

สนใสดแู ลผปู้ ่วยร่วมกับทีมแพทย์เป็นอยา่ งย่งิ และถามคาถามที่นา่ สนใส ( 4 คะแนน )

แสดงความกระตือรือรน้ ในการดแู ลผู้ป่วยรว่ มกบั ทีมแพทย์ ( 3 คะแนน )

เฉยๆ ไม่แสดงความกระตือรอื รน้ ในการดูแลผู้ป่วยร่วมกับทมี แพทย์ ( 2 คะแนน )

ไม่ดูแลสนใสรว่ มกบั ทมี แพทย์ แสดงกริยาเบ่อื หนา่ ย ( 1 คะแนน )

ไม่ดูแลสนใสร่วมกับทีมแพทย์ แสดงกรยิ าเบอ่ื หน่าย โดยแสดงพฤตกิ รรมซา้ ๆ ( 0 คะแนน )

5. มมี นุษยสัมพันธท์ ่ีดีต่อผู้ร่วมงาน

มมี นุษยสัมพนั ธ์ดเี ลิศ ช่วยสรา้ งบรรยากาศที่ดใี หก้ ับผู้ร่วมงาน ( 4 คะแนน )

มมี นุษยสัมพันธ์ดี ไม่สร้างปญั หาใหก้ ับผรู้ ่วมงาน ( 3 คะแนน )

มมี นษุ ยสัมพนั ธด์ พี อใช้ ทาให้ผ้รู ว่ มงานอดึ อัดใสเปน็ บางครัง้ ( 2 คะแนน )

มนุษยสมั พันธ์ควรปรับปรุง สร้างปัญหาให้กบั ผรู้ ่วมงาน ( 1 คะแนน )

มนุษยสัมพันธ์ควรปรับปรงุ อย่างยิง่ มีปญั หารุนแรงกับผู้ร่วมงาน ( 0 คะแนน )
ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………................

……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………..........

อาสารยผ์ ปู้ ระเมิน………………………………………………..………………….

สมุดบนั ทึกประสบกา
และการทาหตั ถการท

ช่ือ.........................รหัส.................................

ช้ันปี ว-ด-ป ขน้ึ ปฏบิ ัต
ปี 4
ปี 5
ปี 6

คู่มอื การเรยี นการสอน ศนู ย์แพทยศาสตรศึกษา รพ.สมเด็จพระปนิ่ เกล้า พร. /๓๖

ารณก์ ารดแู ลผ้ปู ว่ ย
ทางอายุรเวชกรรม

.................นามสกลุ ...................................

งิ าน ว-ด-ป จบการปฏิบัตงิ าน

สมุดบันทึกฉบับน้ีมีจุดประสงค์เพ่ือช่วยให้นิสิตแพทย์ที่ข้ึนปฏิบัติงานภาควิชาอา
กรรมรวมท้ังประสบการณ์การทาหัตถการและการแปลผลทางห้องปฏิบตั กิ ารต่างๆ ซงึ่ จาเ
สว่ นที่ 1 ประสบการณ์ด้านต่างๆ แบ่งเปน็ 3 หมวดหมู่

1. บนั ทกึ ประสบการณก์ ารดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรคกลุ่มอาการทางอายรุ เวชกรรมตามเกณฑแ์ พทยสภา/
1.1 กลมุ่ โรคกลุม่ อาการท่ตี อ้ งรู้/ : นิสิตตอ้ งผ่านการดูแลผปู้ ว่ ยกลมุ่ น้ีดว้ ยตนเองระหวา่ งปฏบิ ตั ิงาน เชน่ น
1.2 กลุ่มโรค กลมุ่ อาการที่ควรรู้/: นสิ ิตเคยผ่านการดแู ลรว่ มดแู ลระหว่างปฏิบตั ิงาน เชน่ เคยมปี ระสบกา

2. บันทึกประสบการณ์ทาหัตถการทางอายุรเวชกรรมตามเกณฑแ์ พทยสภา
2.1 หตั ถการระดบั ท่ี 1 : หตั ถการพืน้ ฐานทางคลินิก นิสติ ตอ้ งสามารถ”ทาได้ดว้ ยตนเอง”
2.2 หัตถการระดบั ท่ี 2 : หตั ถการทม่ี ีความซับซ้อนกว่าหัตถการพนื้ ฐาน มีความสาคญั ตอ่ การรักษาผปู้ ่วย
2.3 หัตถการระดบั ที่ 3 : หัตถการทีม่ คี วามซบั ซอ้ น และอาจทาในกรณีท่ีจาเปน็ นิสติ ตอ้ ง”เคยชว่ ยทา”
2.4 หตั ถการระดับท่ี 4 : หตั ถการที่มีความซบั ซ้อน และ จเกดิ อนั ตรายหรืออา/จาเป็นต้องอาศัยการฝกึ ฝ

3. บันทกึ ประสบการณก์ ารตรวจทางห้องปฏิบัตกิ าร

ส่วนที่ 2 บนั ทกึ ชว่ งเวลาการปฏิบัติงานและรายชื่อผู้ปว่ ยทีด่ แู ลขณะฝกึ ปฏบิ ตั ิงานบนห

นสิ ิตจะตอ้ งบันทึกรายช่อื ผปู้ ว่ ยทีร่ บั ใหมบ่ นหอผปู้ ว่ ยและทีห่ ้องตรวจผูป้ ว่ ยนอกใหไ้ ดต้ ามจานวนท่ีกาหนดใน

สมดุ ฉบับนใี้ ช้บนั ทึกต่อเนื่องตงั้ แต่ช้นั ปีท่ี 4-6 นิสติ จะได้รบั แจกในวนั ท่ขี ้ึนปฏบิ ัติงานภาควชิ าอายุรศาสตร์แ
คาแนะนา; นสิ ติ ควรบนั ทึกทันทีเมื่อได้ดูแลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ไม่ควรบันทึกย้อนหลั/ร่วมดูแลผู้ป่วย
สานักงานกลุม่ งานอายุรเวชกรรม)

คมู่ อื การเรียนการสอน ศูนยแ์ พทยศาสตรศกึ ษา รพ.สมเด็จพระป่นิ เกลา้ พร. /๓๗

ายุรเวชกรรมได้บันทึกประสบการณ์ในการดูแลผู้ป่วยโรค หรือกลุ่มโรคต่างๆทางอายุร
เป็นตอ่ การประเมินความรคู้ วามสามารถตามเกณฑ์แพทยสภา แบง่ เปน็ 2 ส่วน ได้แก่

นสิ ติ ตอ้ งเป็นเจา้ ของผู้ป่วยในการรับเปน็ ผู้ปว่ ยใน เขยี นรายงานหรือเคยตรวจผู้ป่วยแบบผู้ปว่ ยนอก
ารณ์/เรยี นรเู้ คสกลุ่มดังกล่าวจากการสอนขา้ งเตยี ง สังเกตการณก์ ารตรวจผปู้ ่วยจากอาจารย์แพทย์

ย นิสิตสามารถ”ทาภายใตก้ ารแนะนาได้ ถกู ตอ้ ง”
ฝน นิสติ สามารถ”ให้คาแนะนาปรึกษาแกผ่ ปู้ ่วยได้ถกู ต้อง”

หอผู้ป่วยและการตรวจผู้ป่วยนอก

นแต่ละชน้ั ปี รวมถงึ การบนั ทึกขอ้ มลู การอยเู่ วรนอกเวลาราชการ
และต้องสง่ คนื ธรุ การภาควิชาอายุรศาสตรใ์ นวนั ทีจ่ บการปฏิบตั งิ านในแตล่ ะชนั้ ปี

ยโรคต่างๆ หรือเม่ือทาหัตถการ/งในวันก่อนจบการปฏิบัติงาน (หากแบบบันทึกไม่พอ สามารถขอรับเพ่ิมเติมได้ท่ี

1.บนั ทึกประสบการณก์ ารดแู ลผ้ปู ว่ ยกล่มุ โรค/กลุ่มอาการ


Click to View FlipBook Version