เขียนแบบเทคนิ ค
เบอื้ งต้น
หน่วยท่ี6
การเขยี นภาพสามมติ ิ
ก่อนทจี่ ะมกี ารพฒั นาการเขยี นแบบน้ัน ในวงการอุตสาหกรรมได้ใช้แบบซ่ึงเป็ นชนิดหลายๆ ภาพ
โดยมองจากทศิ ทางต่างๆ กนั แต่แบบเก่าชนิดนีล้ กั ษณะค่อนข้างซับซ้อน ต้องอาศัยผ้ทู ม่ี ีความรู้
มปี ระสบการณ์สูงเป็ นผ้ตู คี วามและอ่านแบบ ซ่ึงในปัจจุบันนีเ้ พ่ือหลกี เลยี่ งปัญหาดงั กล่าว วงการอตุ สาหกรรม
จงึ นิยมใช้ภาพสามมติ ิมากขนึ้
ลกั ษณะของภาพสามมิติ
1. แสดงความร้เู ก่ียวกบั ภาพสามมิติในเรอ่ื งลกั ษณะและประเภทของภาพสามมิติ
2. เขียนภาพสามมิติจากรปู แบบที่กาหนด
1. อธิบายลกั ษณะของภาพสามมิติได้
2. บอกประเภทของภาพสามมิติได้
3. สามารถเขียนภาพสามมิติประเภทต่างๆ ได้
ภาพสามมิติ (Pictorial View) เป็นภาพทแ่ี สดงใหเ้ หน็ มติ ขิ องภาพไดถ้ งึ 3 ดา้ นดว้ ยกนั ในภาพเดยี ว คอื
ขนาดความกวา้ ง ความยาว และความลกึ ของช้นิ งาน มลี กั ษณะใกลเ้ คยี งกบั ช้นิ งานจรงิ ในทางปฏิบตั ไิ ม่
นิยมใชภ้ าพ 3 มติ ิเป็นแบบทางาน แต่จะใช้สาหรบั ดูรูปร่างของช้นิ งาน ส่วนแบบในการปฏิบตั งิ านจะใช้
ภาพฉาย โดยมภี าพ 3 มติ ดิ ปู ระกอบการทางานภาพสามมติ นิ นั้ แบง่ ออกเป็น 3 ประเภทดว้ ยกนั
ภาพออบลิก (Oblique)
เป็นภาพทน่ี ิยมเขยี นกนั มากเช่นเดยี วกนั ในปัจจุบนั ก็ยงั นิยมใชอ้ ยู่เน่ืองจากเป็นภาพทส่ี ามารถเขยี นไดง้ ่ายและ
รวดเรว็ เน่อื งจากภาพจะวางดา้ นหน่ึงอยใู่ นแนวระดบั สว่ นดา้ นขา้ งจะเอยี งทามมุ 45 เพยี งดา้ นเดยี ว โดยจะเอยี งไปทางซา้ ย
หรอื ทางขวากไ็ ด้ ดงั แสดงในรปู ท่ี 6.1
ข้อดี
1. เขยี นไดง้ า่ ยเพราะมมี ุมเอยี ง 45 และมขี า้ งเดยี ว
2. ประหยดั เวลาและเน้อื ท่ี
ข้อเสีย
รปู รา่ งไมเ่ หมอื นจรงิ ทาใหเ้ ขา้ ใจยาก
การสร้างวงรีจากภาพออบลิก
ขนั้ ตอนการสรา้ ง
1. สรา้ งสเ่ี หลย่ี มขนมเปียกปนู โดยใหด้ า้ นแตล่ ะดา้ นเอยี งทามมุ 45 กบั ระนาบและความยาวเทา่ กบั เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางของวงกลม
2. แบง่ ครง่ึ ดา้ นทงั้ สข่ี องสเ่ี หลย่ี มขนมเปียกปนู ไดจ้ ุด A, B, C และ D
3. ทจ่ี ดุ A, B, C และ D ลากเสน้ ตงั้ ฉากในแตล่ ะดา้ น ซง่ึ เสน้ ตงั้ ฉากในแตล่ ะดา้ นจะตดั กนั ทจ่ี ดุ H, G, E และ R ดงั แสดงในรปู 4. ใชจ้ ดุ E
และ R เป็นจดุ ศนู ยก์ ลางของสว่ นโคง้ เลก็ สว่ นจดุ G และ H เป็นจดุ ศนู ยก์ ลางของสว่ นโคง้ ใหญ่
5.เขยี นสว่ นโคง้ ใหส้ มั ผสั กนั จะไดว้ งรภี าพออบลกิ ตามตอ้ งการ
ภาพทศั นียภาพ (Perspective)
เป็นภาพของวตั ถทุ ี่เขียนขึน้ มาให้เหมือนกบั ภาพท่ีมองดดู ้วยสายตาของมนุษย์ หรอื เป็น
ภาพท่ีได้จากกล้องถา่ ยรปู
ภาพแอกโซโนเมตริก (Axonometric)
เป็นภาพสามมติ ทิ แ่ี สดงใหเ้ หน็ ดา้ นทงั้ สามดา้ นของชน้ิ งาน คอื ความกวา้ ง ความสงู และความลกึ ของชน้ิ งาน ทาให้
สามารถเขา้ ใจและอา่ นแบบไดช้ ดั เจนและงา่ ยขน้ึ ซง่ึ สามารถเขยี นได้ 3 แบบ คอื
1.ภาพไดเมตริก (Diametric) มขี อ้ ดเี หนือกวา่ ภาพไอ
โซเมตรกิ ตรงทไ่ี ดภ้ าพทล่ี กั ษณะบดิ เบย้ี วน้อยกวา่ แตก่ าร
เขยี นยงุ่ ยากและเสยี เวลามากกวา่ เน่ืองจากตอ้ งใชม้ าตรา
สว่ นสองชุดในการเขยี น โดยปกตจิ ะใหแ้ กนหน่ึงทามุม 90
กบั แนวนอน สว่ นแกนทเ่ี หลอื อกี สองแกนจะทามมุ เท่าใด
กบั แกนนอนกไ็ ด้
2. ภาพไตรเมตริก (Trimetric) ภาพไตรเมตรกิ เป็นภาพหน่ึงในภาพแอกโซโนเมตรกิ
ซง่ึ แกนทงั้ สามทามมุ แตกต่างกนั กบั แนวระดบั ดงั นนั้ ความกวา้ ง ความสงู และความลกึ จะหดลงดว้ ยอตั ราสว่ นท่ี
แตกตา่ งกนั ออกไป จงึ ตอ้ งใชอ้ ตั ราสว่ นถงึ 3 คา่ ทาใหก้ ารเขยี นแบบภาพน้ียากลาบากกวา่ ภาพอ่นื และมกี ารใช้
คอ่ นขา้ งจากดั ดงั นนั้ ภาพไตรเมตรกิ จงึ เป็นภาพ 3 มติ ิ ทม่ี อี ตั ราสว่ นของ
ดา้ นกวา้ ง สงู และลกึ ไมเ่ ท่ากนั
ข้อดี
1. เป็นภาพทส่ี วยงามมากทส่ี ดุ
2. คลา้ ยคลงึ กบั ภาพจรงิ มากทส่ี ดุ ชว่ ยในการอ่านภาพไดง้ า่ ย
ข้อเสีย
เขยี นยากเพราะภาพมมี มุ ไมเ่ ทา่ กนั ทงั้ 3 มมุ และดา้ นไมเ่ ทา่ กบั งานจรงิ ทงั้ 3 ดา้ น
3.ภาพไอโซเมตริก (Isometric) การเขยี นภาพไอโซเมตรกิ ประกอบดว้ ยแกน 3 แกน ทามุมรวมกนั
120 แกนแรกเขยี นในแนวดง่ิ และแกนทเ่ี หลอื สองแกนทามุม 30 กบั แนวนอน สว่ นความกวา้ ง ความ
สงู และความลกึ วดั เทา่ ความยาวจรงิ ภาพไอโซเมตรกิ เป็นภาพ 3 มติ ิ ทน่ี ิยมนาไปใชใ้ นงานเขยี นแบบ
มากทส่ี ดุ
ข้อดี
1.เขยี นงา่ ยเพราะมมี มุ เอยี ง 30 ทงั้ สองขา้ งกบั แนวระดบั
2.อตั ราสว่ นของความกวา้ ง ความสงู และความลกึ เทา่ กบั ขนาดจรงิ ทงั้ 3 ดา้ น
ข้อเสีย
1.เมอ่ื เขยี นแลว้ มขี นาดใหญ่กนิ เน้ือทม่ี าก
• 2.มองดแู ลว้ มคี วามรสู้ กึ วา่ รปู รา่ งใหญ่กวา่ ของจรงิ
การเขียนวงรีจากส่ีเหล่ียมขนมเปี ยกปนู
วงกลมของภาพไอโซเมตรกิ จะเหน็ เป็นวงรี การสรา้ งวงรสี ามารถสรา้ งได้
จากสเ่ี หลย่ี มขนมเปียกปนู ทม่ี มี มุ 30 กบั แนวระดบั โดยมขี นั้ ตอนการสรา้ ง
ดงั น้ี
1.สรา้ งสเ่ี หลย่ี มขนมเปียกปนู ดว้ ยมมุ 30 ความยาวในแต่ละดา้ น
เทา่ กบั ขนาดเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางของวงกลม
2.แบง่ ครง่ึ ดา้ นทงั้ 4 ดา้ น ในขณะเดยี วกนั ทจ่ี ุด C ลากเสน้ ไปยงั จุดแบง่
ครง่ึ ของดา้ นประกอบมมุ D ทงั้ 2 ดา้ น และทจ่ี ุด D ลากเสน้ ไปยงั จดุ แบ่งครง่ึ
ของดา้ นประกอบมมุ C เชน่ กนั
3.เสน้ ทงั้ 4 จะตดั กนั ทจ่ี ุด 1 และ 2 ดงั แสดงในรปู ท่ี 6.7 (ข) ซง่ึ จดุ ตดั
ทงั้ 2 จดุ น้ใี หใ้ ชเ้ ป็นรศั มวี งเลก็ สว่ นจุด C และ D ใชเ้ ป็นรศั มวี งใหญ่เขยี น
สว่ นโคง้ ใหส้ มั ผสั กนั พอดี จะไดว้ งรไี อโซเมตรกิ ตาม
การสรา้ งวงรีแบบถ่ายจดุ ศนู ยก์ ลาง
ในงานเขียนแบบจริง ช้ินงานจะมีความหนา ดังนั้น จึง
จาเป็นตอ้ งสรา้ งวงรซี อ้ นกนั 2 วง แต่การสรา้ งสเ่ี หล่ยี มขนมเปียก
ปูน 2รูป จะทาให้ดูซับซ้อน และทาให้แบบสกปรก กรณีเช่นน้ี
ผู้เขียนสามารถใช้วิธีการถ่ายจุดศูนย์กลาง โดยให้ระยะห่าง
ระหว่างจุดศูนย์กลางเท่ากับความหนาของงาน ดังแสดง
ในรปู
การสรา้ งฐานของท่อทรงกระบอกโดยวิธีการถ่ายจดุ ศนู ยก์ ลางของวงรี
การถ่ายจดุ ศนู ยก์ ลางวงรีแบบ 2 ชนั้