The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บล็อกเชน Blockchain (เจษฎา มณีนัน)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เจษฎา มณีนัน, 2019-07-04 04:18:59

บล็อกเชน Blockchain (เจษฎา มณีนัน)

บล็อกเชน Blockchain (เจษฎา มณีนัน)

บล็อกเชน
(block chain)

เรียบเรียง
นายเจษฎา มณนี นั
นกั ศึกษาสาขาเทคโนโลยสี ารสนเทศ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ

1

บลอ็ กเชน (block chain) คืออะไร ?

บลอ็ กเชน (Block chain) คอื อะไร ?
เทคโนโลยซี อฟต์เป็นเทคโนโลยซี อฟแวร์แบบเพยี ร์ทูเพยี ร์ ( เชือ่ มตอ่ แบบโครงข่ายโดยตรง

ระหว่างเคร่อื งคอมพิวเตอร์ ไม่มคี นกลาง ) ทปี่ กปอ้ งขอ้ มูลโดยทไ่ี ม่อนุญาตให้ใครปลอมหรือเปล่ียนได้
หลายท่านคงเคยไดย้ ินวา่ Block Chain ถูกคิดคน้ ข้ึนเพื่อใช้สร้างสกลุ เงินดิจิทลั ตา่ งๆรวมถึงบทิ คอยน์
( BITCOIN) และไมใ่ ช่แค่สกุลเงินดจิ ิทัลเท่านน้ั ยงั มีบรกิ ารลายเซน็ ออนไลน์ หุ้น เพลงหรือศิลปะต่างๆ
ระบบลงคะแนน และแอปพลเิ คชนั อืน่ ๆอีกมาก เรยี กได้ว่า Block Chain

ภาพท1ี่ แสดง Block chain
ในปัจจุบันนั้นเทคโนโลยีของการเงินการธนาคาร (Fintech หรือ Financial technology) นั้นได้มี
การพัฒนาและมีการปรับตัวเข้าสู่ยุคดิจิตอลมากขึ้นเร่ือย ๆ ซึ่งเราจะเห็นได้จากปริมาณของการทา
ธรุ กรรมการเงนิ ออน์ไลน์ ท่ีมปี ริมาณมากแบบก้าวกระโดด จนธนาคารและสถาบันการเงนิ ต่าง ๆเร่มิ ท่ี
จะมีการปรับตัวในส่วนการทาธุรกรรมในรูปแบบใหม่ ๆ ท่ีให้บริการทางการเงินบนโลกออนไลน์
เพ่ือให้มีความรวดเร็ว และปลอดภัยมากย่ิงข้ึน ซ่ึงทาให้ในปัจจุบันน้ัน เราจะได้ยินคาว่าบล็อกเชน
(Block chain) กันมากขึ้นเร่ือย ๆ ตัวอย่างเช่น ธนาคารชั้นนาของประเทศสวิสเซอร์แลนด์อย่าง
UBS หรือแม้กระท่ังบริษัทเทคโนโลยีช้ันนาอย่าง IBM เอง ก็เริ่มออกผลิตภัณฑ์ด้านการให้บริการ
บล็อกเชนออกมาสาหรบั ในหลาย ๆ ภาคอตุ สาหกรรม

2

ชนิดของบลอ็ กเชน

บลอ็ กเชนสาธารณะ (Public Blockchain/Permissionless Ledger)

บล็อกเชนสาธารณะ คอื บลอ็ กเชนแบบที่อนญุ าตให้ใคร ๆ ก็ได้ สามารถท่ีจะร่วมบันทึกข้อมูลประวัติ
ของการทาธุรกรรมดิจิตอลลงไปได้ โดยผู้เข้าร่วมในบล็อกเชนแบบนี้จะทาการจัดเก็บสาเนาบัญชี
ประวัติของการทาธุรกรรม (Ledger) ทั้งหมดเอาไว้ด้วย โดยจะเห็นได้ว่าบล็อกเชนแบบน้ีน้ันจะไม่มี
ใครเพียงคนใดคนหนงึ่ เปน็ เจ้าของบัญชีประวัตขิ องการทาธรุ กรรมเลย ซงึ่ จะทาให้เหมาะกับการใช้งาน
แบบท่ีต้องการป้องกันการถูกเซ็นเซอร์ หรือ censorship resistance อย่างเช่น บิทคอยน์ (Bitcoin)
เปน็ ต้น

บล็อกเชนส่วนตวั (Private Blockchain/Permissioned Ledger)

บลอ็ กเชนส่วนตัว คือ บลอ็ กเชนแบบท่ีอนุญาตใหเ้ ฉพาะผู้ท่ไี ด้รบั อนุญาตหรือผทู้ ี่เชอ่ื ถือได้เท่าน้ันที่จะ
สามารถทาการจัดเก็บสาเนาบัญชีประวัติของการทาธุรกรรมได้ ซ่ึงเครือข่ายของบล็อกเชนแบบนี้
มักจะมีเจ้าของที่แท้จริงอยู่ ทาให้มันเหมาะท่ีจะใช้งานกับระบบท่ีต้องการความเรียบง่าย ไม่ซับซ้อน
ต้องการความรวดเร็วและความโปรงใส อย่างเช่น ธนาคาร เป็นต้นเน่ืองด้วยเหตุผลท่ีว่าเทคโนโลยี
บล็อกเชนน้ันสามารถใช้งานได้ในกบั เกือบทกุ ๆ การทาธุรกรรมที่มีความเก่ียวข้องกับจานวน ไม่วา่ จะ
เป็นการเงิน สินค้า หรือแม้กระท้ังทรัพย์สินต่าง ๆ ทาให้มันแทบจะไม่มีข้อจากัดในการนาไปใช้งาน
เลย อีกท้ังบล็อกเชนน้ันยังช่วยในการลดการเกิดการฉ้อโกง เน่ืองจากบันทึกประวัติของการทา
ธุรกรรมที่ถูกเก็บในบล็อกเชนนั้นได้ถูกทาการจัดเก็บในรูปแบบกระจาย(distributed)ออกไปยังผู้
ให้บรกิ ารบล็อกเชนสาธารณะ ซง่ึ สามารถใหใ้ คร ๆ ก็สามารถเข้าถึงและตรวจสอบดูได้ความปลอดภัย
และความแข็งแกรง่ ของเทคโนโลยบี ล็อกเชนมีผู้เชยี วชาญทางด้านเทคโนโลยหี ลาย ๆ ทา่ นไดเ้ คยกล่าว
ไว้ว่าเทคโนโลยีบล็อกเชนนั้นจะช่วยแก้ปัญหาด้านความปลอดภัยของข้อมูลสารสนเทศให้กับวงการ
การเงินการธนาคารได้ เหตุผลก็มาจากการที่บล็อกเชนนั้นเป็นระบบโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลแบบ
กระจาย(distributed)นั่นเองโดยท่ีผู้ท่ีเข้าร่วมบล็อกเชนนั้นจะเก็บและทาสาเนาของข้อมูลการทา
ธุรกรรมเอาไว้ดว้ ย และข้อมลู น้นั จะปรับเปล่ียนได้ก็ต่อเม่อื มีเสยี งเป็นเอกฉันทจ์ ากผูเ้ ข้าร่วมบล็อกเช่น
อนื่ ๆ

อย่างท่ีทราบกันดีว่าโครงสร้างของบล็อกเชนน้ันมีรูปแบบในการจัดเก็บอยู่ในรูปของบล็อก
ข้อมลู และในแตล่ ะบลอ็ กข้อมลู นน้ั ก็มจี ะลายเซน็ ดจิ ิตอลของบล็อกก่อนหนา้ เซ็นกากับเอาไวด้ ้วยทาให้
ข้อมูลท่ีถูกบันทึกไว้ในแต่ละบล็อกนั้นมีความถูกต้องสมบูรณ์ (integrity) และไม่สามารถถูกแก้ไข
เปล่ียนแปลงได้ ทาให้บล็อกเชนนั้นมีความปลอดภัยที่สูงมาก ซ่ึงในปัจจุบันบันน้ันยังไม่มีใครที่จะ

3

สามารถขโมยหรือทาสาเนาทรัพย์สินดิจิตอลที่ใช้ระบบบล็อกเชนอย่างเช่น บิทคอยน์ หากไม่มีรหัส
ส่วนตวั หรอื กญุ แจส่วนตวั ที่ใช้ในการถอดรหัสสาหรบั การป้องกันทรัพยส์ ินดิจิตอลเหล่านน้ั ได้อย่างไรก็
ตามในช่วงแรกๆท่ีมีการใช้งานบิทคอยน์นั้น บิทคอยน์เองไม่ได้ทางานอยู่บนบล็อกเชนทาให้เกิดการ
ฉ้อโกงและขโมยทรัพย์สินดิจิตอลกันได้ ซ่ึงก็ส่งผลให้เกิดการพัฒนาความปลอดภัยของการใช้งาน
บิทคอยน์ขึ้นจนกระทั่งมีการนาบิทคอยน์ไปใช้งานอยู่บนบล็อกเชนเพื่อเพ่ิมความปลอดภัยจากที่เห็น
ว่าบล็อกเชนมีความปลอดภัยขนาดน้ีแล้ว แต่ทุกสิ่งทุกอย่างสามารถถูกโจมตีได้ หากผู้ใช้งาน
ไม่ระมัดระวังในการใช้งานและจัดเก็บกุญแจส่วนตัวที่ใช้ในการถอดรหัสสาหรับการป้องกันทรัพย์สิน
ดิจติ อล หรอื แม้กระท้ังการจดรหัสผา่ นในการเข้าถึงกุญแจส่วนตัวไวบ้ นกระดาษโนต๊ กุญแจสว่ นตวั นั้น
ก็อาจจะถูกขโมยไปได้โดยง่าย และเม่ือกุญแจส่วนตัวถูกขโมยไปแล้วนั้น ไม่ว่าบล็อกเชนจะมีความ
ปลอดภัยมากเพียงใด มันก็จะไม่มีความหมายอีกต่อไป เพราะผู้โจมตีจะสามารถเข้าถึงทรัพย์สิน
ดจิ ติ อลโดยการใช้กญุ แจสว่ นตวั ท่ีขโมยมาไดอ้ ย่างง่ายดาย

ภาพพี่ 2 ประโยชน์ Blockchain

4

ประโยชน์ 6 ขอ้ สาหรับธุรกจิ ที่จะไดร้ ับจากบล็อกเชน
ขอ้ ดที างธรุ กจิ
การใชร้ ะบบค้าขายแลกเปล่ยี นแบบใหม่น้ีสามารถสรา้ งประโยชน์ให้กับธรุ กจิ ได้อย่างมากมาย แต่ส่วน
ใหญ่แลว้ จะมุง่ เน้นไปท่ีความสามารถอยา่ งน้อย 1 ใน 6 อยา่ งดงั น้ี
ขอ้ ดีท่ี 1: ประสิทธิภาพ
การทาธุรกรรมระหว่างบุคคลหรือกลุ่มที่เก่ียวข้องสามารถเสร็จสมบูรณ์ได้โดยตรงและไม่ต้องมีคน
กลาง ทั้งยังสามารถใช้ข้อมูลในรูปแบบดิจิทัล จึงทาให้การดาเนินธุรกรรมเป็นไปอย่างรวดเร็ว
นอกจากน้ียังสามารถใช้ ‘สัญญาอัจฉริยะ’ (Smart Contract) เพื่อผลักดันให้การดาเนินการด้าน
การค้าเป็นไปตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ในสัญญาดังกล่าว แนวทางนี้ช่วยเสริมสร้างประสิทธิภาพให้กับ
กระบวนการทางานได้อย่างมาก อีกท้ังยังช่วยกาจัดเวลาและต้นทุนในการทาธุรกรรมด้วย บทความ
เ รื่ อ ง “How Utilities Are Using Blockchain to Modernize the Grid” โ ด ย Oliver Wyman
Consulting มรี ายละเอยี ดเก่ยี วกบั การใชป้ ระโยชนแ์ นวทางน้ใี นอตุ สาหกรรมพลงั งาน
ขอ้ ดที ี่ 2: ความพร้อมทจี่ ะใหต้ รวจสอบบญั ชี
เนื่องจากธุรกรรมแต่ละรายการได้รับการเก็บบันทึกอย่างต่อเน่ืองและไม่มีกาหนด ดังน้ันจึงสามารถ
ดาเนินการตรวจสอบได้ตลอดท้ังวงจรชีวิตของสินทรัพย์ สิ่งนี้จะย่ิงมีความสาคัญอย่างมากหากข้อมูล
ต้นฉบับเป็นสิ่งจาเป็นท่ีต้องใช้ในการตรวจสอบความถูกต้องของสินทรัพย์ และข้อดีดังกล่าวน้ีได้รับ
การยืนยันแล้วจากบริษัท Everledger ในการติดตามตรวจสอบเพชรตามที่มีข้อมูลสรุปไว้ในบทความ
เรื่อง “How the blockchain is helping stop the spread of conflict diamonds” ในนิตยสาร
Wired
ข้อดที ี่ 3: ความสามารถดา้ นการตดิ ตาม
การติดตามสินค้าในซัพพลายเชนจะได้รับประโยชน์หากต้องการติดตามตรวจสอบว่าตอนน้ีชิ้นส่วน
ต่างๆ อยู่ที่ใดบ้าง โดยข้อมูลที่เก่ียวข้องกับชิ้นส่วนดังกล่าวจะถูกส่งไปยังหรือได้รับจากเจ้าของใหม่
เพ่ือดาเนินการในด้านอื่นๆ ต่อไป ข้อดีน้ีมีรายละเอียดในบทความของ Harvard Business Review
เรอ่ื ง “Global Supply Chains Are About to Get Better, Thanks to Blockchain”
ข้อดีท่ี 4: ความโปรง่ ใส
ในบางครั้งการขาดความโปร่งใสทางการค้าอาจนาไปสู่ความล่าช้าในการดาเนินธุรกิจและสามารถ
ทาลายความสัมพันธ์ระหว่างกันได้ ซึ่งการให้รายละเอียดของการทาธุรกรรมอย่างชัดเจนจะช่วยเพิ่ม
ความน่าเชื่อถือให้กับกระบวนการค้าขาย ท้ังยังช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ให้ม่ันคงย่ิงขึ้นตามระดับ
ความโปร่งใสทีม่ ีอยดู่ ว้ ย
ข้อดที ่ี 5: ความปลอดภยั

5

ธรุ กรรมแต่ละรายการจะไดร้ บั การตรวจสอบภายในเครือขา่ ยโดยใช้การเข้ารหัสลบั ทซ่ี ับซอ้ นและได้รับ
การตรวจสอบอย่างอิสระ ดังนั้นจึงสามารถม่ันใจในความถูกต้องของข้อมูลได้ และข้อมูลท่ีน่าเชื่อถือ
ดงั กลา่ วเปน็ หนึ่งในพื้นฐานสาคญั ของการใช้ประโยชน์จากแนวทางอินเทอร์เน็ต ออฟ ธงิ ค์ (Internet
of Things: IoT) ซึ่งเป็นกระบวนการทางานเช่ือมโยงสินทรัพย์ท่ีใช้งานอยู่ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตที่มี
การควบคุมในระบบปิด แนวทางน้ีกาลังได้รับการนาไปใช้ในอุตสาหกรรมด้านกลาโหมสาหรับการ
ตรวจสอบความถูกต้องของคาสั่งและการป้องกันทรัพย์สินทางปัญญา ซึ่งสามารถดูรายละเอียดได้ใน
บทความของ Ascent เร่ือง “Securing 3D-Printing: Could Blockchain be the Answer?”
ขอ้ ดีท่ี 6: ความเหน็
ด้วยความสามารถในการติดตามสินทรัพย์ครอบคลุมท้ังวงจรชีวิต ผู้ออกแบบและผู้ผลิตสินทรัพย์จึง
สามารถปรับรูปแบบการบริหารจัดการสินทรัพย์ตลอดวงจรชีวิตได้อย่างเหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ
มากยิ่งข้ึน โดยอาศัยข้อมูลในด้านต่างๆ ไมว่าจะเป็นการจัดส่ง การติดต้ัง การบารุงรักษา และการรื้อ
ถอน

ภาพท่ี 3 รปู Bitcoin

Bitcoin (บทิ คอยน์) กบั Blockchain (บลอ็ กเชน) มีความสัมพนั ธก์ ันอยา่ งไร
สาหรับผู้ท่ีเพิ่งเร่ิมทาธุรกรรมการเงินออนไลน์ หรือผู้ที่เร่ิมสนใจศึกษาเกี่ยวกับการเงินสกุลเงินบนโลก
ดจิ ิตอล อย่างสกุลเงนิ Bitcoin (บิทคอยน)์ อาจจะกาลงั สับสนกบั คาสองคาท่ีเรามักจะได้ยิน หรืออ่าน

6

ผ่านได้บ่อยๆ สองคานั้นก็คือ Bitcoin (บิทคอยน์) กับ Blockchain (บล็อกเชน) ซ่ึงในบทความนี้เรา
ก็จะมานาเสนอถึงความสัมพันธ์ของระหว่าง Bitcoin (บิทคอยน์) กับ Blockchain (บล็อกเชน) กัน
ครบั อย่างทเ่ี พ่อื นๆทราบกันดอี ยู่แล้ววา่ สกลุ เงิน Bitcoin (บทิ คอยน)์ คือสกลุ เงนิ ดิจิตอลทไี่ ด้รบั ความ
นิยมสูงสุดในปัจจุบัน แต่เพื่อนๆหลายคนอาจจะยังไม่แน่ใจว่า Blockchain (บล็อกเชน) นั้นคืออะไร
ซง่ึ Blockchain (บล็อกเชน) น้ันก็คือ เทคโนโลยที ี่ใช้ในการทาธรุ กรรมโดยไม่ตอ้ งผ่านบุคคลทีส่ ามซึ่ง
มุ่งหวังเพื่อจะเพ่ิมความปลอดภัยในการทาธุรกรรมบนโลกออนไลน์ซึ่งก็จะเห็นได้ว่า Bitcoin (บิท
คอยน์) กับ Blockchain (บล็อกเชน)น้ันไม่ใช่สิ่งเดียวกันแต่ก็มีความสัมพันธ์กันเป็นอย่างย่ิง เพราะ
เทคโนยีBlockchain (บล็อกเชน)น้ันถูกนามาใช้เพื่อเพ่ิมความปลอดภัยกับการจัดการสกุลเงิน
Bitcoin (บิทคอยน์)โดยการจัดการสกุลเงิน Bitcoin (บิทคอยน์) เพ่ือความปลอดภัยน้ันจะช่วยเพ่ิม
ความม่ันใจให้กับผู้ใช้ โดยการใช้การโอนรับด้วยเทคโนโลยี Blockchain (บล็อกเชน) และอาจใช้
กระเป๋าสตางค์เก็บสกุลเงิน bitcoin อย่าง Ledger Nano S Ledger Blue, Trezor หรือ KeepKey
Hardware Wallet เพ่ือช่วยในการเพ่ิมความปลอดภัยในการเก็บรักษาสกุลเงินดิจิตอลนไี้ ด้อีกด้วยค่ะ
ซึ่งการที่เลือกใช้หลายๆเทคโนโลยีร่วมกันก็จะช่วยเก้ือหนุนซ่ึงกันและกัน และช่วยเพ่ิมความ
สะดวกสบายในการจดั การมากขน้ึ ได้อีกดว้ ย

แหลง่ ข้อมูลอ้างอิง

ปานระพี รพิพันธ์ุ. บลอ็ กเชน (Block chain) คอื อะไร ?.[ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :
http://gg.gg/eg0wi
(วนั ทค่ี น้ ข้อมลู : 4 กรกฎาคม 2562)

จรญิ ญา จนั ทร์ปาน. ชนิดของบลอ็ กเชน.[ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก :
http://gg.gg/eg0wp
(วันที่คน้ ข้อมลู : 4 กรกฎาคม 2562)

7

นายสตีฟ ทรีกัสต์ ผ้อู านวยการด้านอตุ สาหกรรมการเงิน การบริหารทรัพยากรมนษุ ยแ์ ละการวางกล
ยทุ ธ์ บริษทั ไอเอฟเอส. ประโยชน์ 6 ขอ้ สาหรบั ธุรกจิ ท่ีจะไดร้ บั จากบลอ็ กเชน [ออนไลน์].
เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://gg.gg/eg0ws

(วันท่คี น้ ขอ้ มลู : 4 กรกฎาคม 2562)
Byrd. Bitcoin(บทิ คอยน)์ กบั Blockchain (บลอ็ กเชน) มีความสมั พนั ธ์กันอยา่ งไร [ออนไลน์].
เขา้ ถึงได้จาก : http://gg.gg/eg0wv

(วันทีค่ ้นขอ้ มูล: 4 กรกฎาคม 2562)


Click to View FlipBook Version