วิเคราะห์วรรณกรรมเยาวชน เร่อื ง ครฑุ น้อย
วรรณกรรมเยาวชนเรื่อง ครุฑน้อย เป็นผลงานของศิริพรรณ เตชจินดาวงศ์ ที่ได้รับรางวลั
พเิ ศษจากงาน นายอนิ ทรอ์ ะวอรด์ เมือ่ ปี 2545 ครฑุ นอ้ ย ไดร้ ับการตีพิมพ์มาแลว้ 4 ครงั้ รวมมากกว่า
หนึ่งหมื่นเล่ม และป็นผลงานที่ คอยนุช ตั้งใจเขียนขึ้น เนื่องจากระลึกถึงวรรณกรรมในสมัยก่อน
เพราะเหตุนี้ตัวละครหลักของเรื่องจึงเป็นครุฑ ซึ่งเป็นสัตว์ในวรรณคดีไทย ซึ่งเนื้อเรื่องนั้นมีความ
หลากหลายทางอรรถรส ทง้ั ความสนกุ สนาน ความเศร้า และผแู้ ตง่ ยังสามารถผูกเรอ่ื งราวใหส้ อดคล้อง
กับวรรณกรรมไทยในเรื่องของความขัดแย้งระหว่างครุฑกับนาค วรรณกรรมเยาวชนเรื่องนี้สะท้อน
ภาพปัญหาสังคมในด้าน การไม่ได้รับการยอมรับความแตกต่างจากผูอ้ ื่น โดยถ่ายทอดผ่านตัวละครได้
อย่างน่าสนใจ
ครุฑกำพร้าตัวหนึ่ง ถูกทิ้งไว้ตั้งแต่แรกเกิดในหมู่บ้านครุฑ มันมีรูปร่างอัปลักษณ์แตกต่าง
ออกไปจากครุฑตัวอื่นๆ มันมีลำตัวที่เล็กและบอบบาง อีกทั้งปีกเล็กๆ ทั้งสองตรงกึ่งกลางหลัง
ก็ลีบผอมเสียจนมองดูคล้ายครีบปลา แถมมันยังมีรูจมูกที่หุบเข้าออกได้ นอกจากนั้นมันยังขนสีดำ
ขนของมันเล็กเกินกว่าจะใช้บินได้ จนเมื่อถึงวัยหัดบินทำให้มันไม่สามารถบินได้เหมือนเพื่อนครุฑ
ตัวอ่ืนๆ แมค้ รุฑน้อยจะพยายามหัดบินเท่าไร ก็ไม่สามารถบินได้ เนือ่ งจากลักษณะปีกท่ีไม่เอื้ออำนวย
ต่อการบิน ด้วยลักษณะร่างกายที่แปลกประหลาดน้ี เลยทำให้มันถูกล้อโดยเพ่ือนๆ วัยเดียวกัน
แถมครุฑตัวอ่ืนๆ ในหมู่บา้ นก็ยังมองมันอย่างประหลาดๆ มันเติบโตมากับการถูกสังคมกดี กนั แต่แลว้
ครุฑน้อยก็ได้หาค้นความสามารถของตนเองออกมาได้ ซึ่งก็คือการดำน้ำได้ ปีกที่ไม่เหมาะสมกับการ
บินกลับช่วยให้มันดำน้ำได้ดีมาก แต่ถึงอย่างนั้น การกีดกันของเพื่อนครุฑก็ไม่ได้ลดลงไปเลย
กลับย่งิ มีความรุนแรงเพม่ิ ข้นึ อีก แต่วันหนึ่งมนั ก็ได้ใช้การวา่ ยน้ำนช้ี ว่ ยเพ่ือนครุฑของมันจากพญานาค
ได้ แตค่ รฑุ นอ้ ยโดนครุฑเกเรใสร่ า้ ยว่าเป็นครุฑนอกคอก แปลกประหลาด และปล่อยใหช้ าวครุฑคิดว่า
เกเรเป็นผู้ที่ปราบพญานาคได้ และตัดสินใจไม่กลับไปที่หมู่บ้าน เพื่อทำในสิ่งที่ตนเองรักนั่นคือ
การดำน้ำ
วรรณกรรมเยาวชนเรอ่ื งน้ไี มเ่ พยี งให้ความบันเทิงด้วยเน้ือเร่ืองท่ีมีความสนุก ต่นื เต้น เร้าใจ
ในแต่ละตอนเท่านั้น แต่ยังพบว่าวรรณกรรมเยาวชนเรื่องนี้มีคุณค่าต่อผู้อ่านมากมายทั้งด้านองค์
ความรู้ และประโยชน์ที่ได้รับจากวรรณกรรมเยาวชน ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่าน้ีผู้อ่านจำเป็นต้องวิเคราะห์
วรรณกรรมเยาวชนจึงจะได้ประโยชน์สูงสุดที่ผู้แต่งแฝงไว้ในเนื้อเรื่อง โดยการวิเคราะห์วรรณกรรม
เยาวชนนั้นสามารถแบง่ หัวข้อในการวเิ คราะห์ได้ ดังนี้
1. พจิ ารณาตัวเนือ้ หา
1.1 วเิ คราะห์โครงเรอ่ื ง
1.1.1 วเิ คราะหก์ ลวิธีการเปิดเร่อื ง
1.1.2 วเิ คราะห์ความขัดแยง้
1.1.3 วิเคราะห์จดุ แห่งการรอคอย
1.1.4 วเิ คราะหจ์ ุดสุดยอด
1.1.5 วเิ คราะห์กลวิธกี ารปดิ เร่อื ง
1.1.6 วิเคราะหก์ ลวธิ ีการดำเนินเรอ่ื ง
1.2 วเิ คราะห์แก่นเรื่อง
1.3 วเิ คราะห์ตัวละคร
1.3.1 วเิ คราะหก์ ลวิธีการสรา้ งนิสัยตวั ละคร
1.3.2 วเิ คราะห์กลวธิ ีการนำเสนอตวั ละคร
1.4 วเิ คราะห์บทสนทนา
1.5 วิเคราะหฉ์ ากและบรรยากาศ
1.6 วิเคราะห์ทรรศนะของผูแ้ ตง่
1.7 วิเคราะห์กลวธิ ีการเล่าเรือ่ ง
2. พจิ ารณาประโยชนท์ ่ีได้รบั จากการอ่าน
2.1 ความเพลดิ เพลินทางด้านอารมณ์
2.2 ความประเทอื งปัญญา
1. พิจารณาตัวเนื้อหา เป็นการวิเคราะห์องค์ประกอบหลักของวรรณกรรมเยาวชนว่าผู้
แต่งสามารถสร้างได้สมจริงและสอดคล้องสัมพันธ์กันทั้งเรือ่ งหรือไม่ โดยแบ่งเป็นหัวข้อการวิเคราะห์
ดังน้ี
1.1 วิเคราะห์โครงเร่ือง
โครงเรื่อง คือ การจัดลำดับเหตุการณ์ในการดำเนินเรื่องด้วยความระมัดระวัง
นั่นคือเหตุการณ์หนึ่งจะต้องส่งผลกระทบให้อีกเหตุการณ์หนึ่งตามมา และต่อเนื่องกันไปเป็นลูกโซ่
จนกวา่ เร่อื งน้ันจะจบลง เพอ่ื ใหบ้ รรลผุ ลสำเรจ็ ตามความต้องการของผู้แต่ง การผกู เค้าโครงพฤติกรรม
ของตวั ละครแต่ละตวั ในนวนยิ าย หรือการสร้างเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนง่ึ ขน้ึ มา เพอื่ เป็นแนวในเนื้อ
เรื่องเปน็ การสร้างเรือ่ งอยา่ งครา่ ว ๆ
ลักษณะของโครงเรื่องจะประกอบดว้ ยโครงเรือ่ งใหญ่ หมายถึง แนวเรื่องที่ผู้แตง่
ต้องการให้เรื่องดำเนินไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง อาจเป็นการผูกปมเรื่องที่ซับซ้อนมากข้ึน
แลว้ มกี ารคลี่คลายปมเหล่าน้ใี นตอนจบ และโครงเร่ืองย่อย หมายถึง เร่ืองท่ีแทรกอยู่ในโครงเร่ืองใหญ่
แมจ้ ะมคี วามสำคญั นอ้ ยกว่าโครงเร่ืองใหญ่ แต่ในนวนยิ ายจำนวนมากมสี ีสัน นา่ สนใจไดก้ ็เพราะมีโครง
เรื่องย่อยที่น่าสนใจสอดแทรกในโครงเรื่องใหญ่ โครงเรื่องย่อยจึงเป็นส่วนเพิ่มความ สนุกสนานให้แก่
เรื่องของนวนยิ าย
วรรณกรรมเยาวชนเร่ือง ครุฑน้อย มีโครงเรื่องใหญ่ เปน็ เหตกุ ารณ์สำคัญท่ีทำให้
เรื่องดำเนินไป คือ ครุฑกำพร้าตัวหนึ่งมีรูปร่างผิดแปลกกับครุฑตัวอื่น และได้เติบโตมากับการถูก
สงั คมกีดกนั เนื่องจากไมส่ ามารถบินได้ ครุฑน้อยได้หาค้นพบความสามารถของตน นนั่ ก็คือการดำน้ำ
และวันหนึ่งมันก็ได้ใช้การว่ายน้ำ ช่วยเพื่อนครุฑของมันจากพญานาคได้ แต่ครุฑน้อยกลับถูกใส่ร้าย
จากครุฑเกเร และปล่อยให้ชาวครุฑคิดว่า ครุฑเกเรเป็นผู้ที่ปราบพญานาค และตัดสินใจ ไม่กลับไป
หมู่บ้านครฑุ อกี
วรรณกรรมเยาวชนเรื่อง ครุฑน้อย มีโครงเรื่องย่อยที่สอดแทรกอยู่ภายในโครง
เรอ่ื งใหญ่ ซ่งึ ทำใหเ้ น้อื เรอ่ื งมสี ีสนั น่าสนใจ และเพิ่มความสนุสนาน ดงั นี้
1) ครฑุ นอ้ ย เป็นครฑุ กำพรา้ ที่มีรูปร่างแตกตา่ งจากครุฑตัวอน่ื คอื รจู มกู ท้ังสอง
หบุ เขา้ ออกได้ มลี ำตัวเล็ก มีปกี เล็กๆทค่ี ลา้ ยปลา
2) ครุฑน้อย ได้ออกเดินทางตามหาครุฑผู้เฒ่าเพื่อที่จะให้สอนบิน แต่ก็ไม่พบ
กลับพบครุฑเฒ่าที่ชอบตกปลาแทน และครุฑเฒ่าที่ชอบตกปลานั้นกำให้ครุฑน้อยได้พบว่าตนเอง
สามารถดำน้ำได้
3) ครุฑน้อย ได้ช่วยครุฑเกเรทั้งสาม จากการจมน้ำ แต่ครุฑเกเรก็ไม่ได้ยอมรับ
ที่ครุฑน้อยช่วยเอาไว้ และยังใส่ร้ายว่าครุฑน้อยเป็นครุฑนอกคอก ไม่สมควรเอ่ยชื่อเพราะทำลาย
ศกั ดิ์ศรีของครุฑด้วยกนั
4) ครุฑน้อยพอใจในการที่มีจมูกหุบเข้าออกสามารถดำน้ำได้ และช่วยเหลือ
ผอู้ ่ืนได้ และไมค่ ิดทจ่ี ะกลบั ไปบนิ อีก
1.1.1 วิเคราะหก์ ลวิธีการเปดิ เรอ่ื ง
การเปิดเรื่อง คือ บทนำเรื่องที่ผู้แต่งจะปูพื้นฐานให้ข้อมูลเกี่ยวกับตัว
ละครเหตุการณ์ เวลา และสถานที่ จึงเป็นช่วงแนะนำตัวละครในเรื่อง ทั้งนี้เพื่อเตรียมให้ ผู้อ่านว่า
อะไรไดเ้ กดิ ขึน้ ก่อนที่เร่ืองจะดำเนนิ ต่อไป ผแู้ ต่งอาจจะเสนอเค้าของปัญหาหรอื ความขัดแย้ง ไว้ในบท
เปิดเรือ่ งกไ็ ด้ เพอื่ ให้ผอู้ ่านเกิดความรู้สกึ อยากจะตดิ ตามเรื่องราวต่อไป
วรรณกรรมเยาวชนเร่ือง ครฑุ นอ้ ย ใชก้ ลวธิ ีในการเปิดเร่ืองโดยการใช้การ
พรรณนา โดยพรรณาถึงตัวละครสำคัญของเรื่องคือ ครุฑน้อย โดยผ่านบทบรรยายและสนทนาของ
หวั หนา้ หมูบ่ ้านครุฑ ในตอนทก่ี ำลังจะตั้งช่อื และถามหาคนท่ีรู้จกั ครุฑน้อยตามบา้ นต่างๆ ดงั ต่อไปนี้
“เอาล่ะ ครุฑกำพร้าตัวนี้ต้องมีชื่อเสียที เราจะเรียกทารกนี้ว่าครุฑน้อย
ก็แล้วกัน”
...และนั่นคือเสียงของหัวหน้าหมู่บ้านครุฑ ที่เวียนส่งตระกร้าใส่ร่างน้อยๆ
ของมันไปตามบ้านต่างๆ เพื่อสอบถามว่ามีใครพอจะรู้บ้างไหมว่า ทารกครุฑในตระกร้านี้เป็นลูกของ
ใคร จนเมื่อตระกร้านั้นเวียนกลับมาที่บ้านของหัวหน้าหมู่บ้านอีกครั้ง ก็เป็นอันสรุปว่า บ้านที่เหมาะ
กบั มนั น่าจะเป็นสถานเลยี้ งครุฑกำพรา้ เท่านั้น...
(ศริ พิ รรณ, 2545, หนา้ 2)
จากบทความขา้ งตน้ พบวา่ เป็นการเปิดเร่ืองโดยการแนะนำตวั ละคร โดยตัว
ละครเอกเกิดมากำพร้าและถูกนำมาทิ้งไว้ที่หน้าบ้านของหัวหน้าหมู่บ้านครุฑ และยังเป็นการบอกถึง
สถานที่ ที่เป็นจุดเรมิ่ ต้นของเร่ืองราวภายในเร่ืองใหน้ ่าสนใจว่า ครุฑน้อยจะใช้ชีวิตอยู่ในหมู่บ้านนี้เช่น
ไร และมีอะไรเกดิ ขึ้นกับครุฑน้อยบา้ ง
1.1.2 วเิ คราะห์กลวิธีการดำเนินเรื่อง
การดำเนินเรื่อง เป็นการวิเคราะห์กลวิธีในการดำเนินเหตุการณ์ใน
เนื้อเรื่องทผ่ี ู้ประพันธต์ ้องใช้ศิลปะลำดับเรื่อง เพอ่ื ให้เรื่องกลมกลนื อย่างมีเอกภาพ ขณะท่ีต้องผูกเร่ือง
ให้ซับซ้อน ซ่อนเงื่อน เพื่อเร้าให้ผู้อ่านเกิดความระทึกใจ แต่ต้องระวังไม่ให้ความซับซ้อนกลายเป็น
ความสับสน
วรรณกรรมเยาวชนเรื่อง ครฑุ น้อย ดำเนินเร่อื งตามลำดับปฏิทินเริ่มเร่ือง
จากจดุ เรม่ิ ต้นแล้วเรียงลำดับ โดยผปู้ ระพันธเ์ ร่มิ เร่ืองตั้งแต่ คร้งั ทีค่ รุฑนอ้ ยยังเปน็ ทารกเติบโตโดยการ
เลี้ยงดูของแม่ครูครุฑ เมื่อโตมามีรปู ร่างผิดแผกจากครุฑตัวอื่น จึงออกตามหาครุฑผูว้ ิเศษ ที่จะทำให้
ครุฑน้อยบินได้ จนมาเจอกับครุฑเฒ่าที่ชอบตกปลา และผลักครุฑน้อยลงน้ำ จนในที่สุดก็พบ
ความสามารถพิเศษในการดำน้ำได้ ขณะที่ครุฑน้อยกำลังเดินทางไปดำนำในแม่น้ำนทีสีทันดรนั้นได้
เห็นครุฑเกเรกำลัง จะจมน้ำเพราะพ่ายให้กับพญานาคจึงช่วยเหลือ และครุฑน้อยภาคภูมิใจกับการ
ที่มนั ใช้ความสามารถพิเศษนีช้ ว่ ยผอู้ ื่นได้ มคี วามสุขในสงิ่ ที่เปน็ จนไมค่ ิดทีจ่ ะกลบั ไปบินอีกต่อไป
1.1.3 ความขัดแย้ง
ความขัดแย้ง คือ การวิเคราะห์ที่เป็นการพิจารณาว่า ผู้แต่งใช้กลวิธีใดใน
การสร้างความขัดแย้งมีความพิถีพิถัน สมจริงมากน้อยเพียงไร และสามารถควบคุมให้บรรลุ ตาม
จุดประสงค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพเพียงไร เมื่อวิเคราะห์ความขัดแย้งใน วรรณกรรมเยาวชนเรื่อง
ครุฑนอ้ ยแล้ว มคี วามขัดแยง้ ดงั ต่อไปน้ี
1) ความขัดแยง้ ระหว่างตวั ละครกบั ตวั ละคร ความขัดแย้งระหวา่ งครุฑน้อย
กับครุฑเกเร เนื่องจาก ครุฑน้อยได้ล่วงรู้ความลับของครุฑเกเรที่ไปฝึกบินที่ผาครุฑบินและไม่ประสบ
ความสำเร็จ จนเป็นเหตุให้ครฑุ เกเรทั้งสามหลอกลอ่ ให้ครุฑน้อยใหอ้ อกไปจากหมู่บ้านเพื่อตามหาผ้ทู ่ี
ช่วยใหค้ รุฑน้อยบินได้
2) ความขัดแย้งระหว่างตัวละครกับอำนาจเหนือธรรมชาติ เกิดจากครุฑ
นอ้ ยไดถ้ กู ครุฑเฒ่าผลักลงไปในน้ำ จงึ ได้พบความสามารถพิเศษเหนือธรรมชาติท่คี รฑุ ไม่สามารถทำได้
นัน่ กค็ อื การดำนำ้ ได้อยา่ งเช่ยี วชาญของครฑุ น้อย
3) ความขัดแย้งระหว่างตัวละครกับสังคม คือ ความขัดแย้งระหว่างครุฑ
นอ้ ยกับสังคม เพราะครฑุ น้อยมีรปู ร่างทีผ่ ิดแผลกจากสังคม มคี วามสามารถในการดำนำ้ และช่วยครุฑ
เกเรทั้งสามจากพญานาค แต่ถึงอย่างไรนั้น ก็ไม่สามารถทำให้สังคมชาวครุฑยอมรับในความสามารถ
และความดีของครฑุ นอ้ ยได้
1.1.4 วิเคราะห์จุดแหง่ การรอคอย
จุดแห่งการรอคอย คือ การสร้างสถานการณ์ให้คับขันเพื่อให้ผู้อ่านเกิด
ความกระหายใคร่รู้ เร้าความสนใจของผู้อ่านให้ใคร่ติดตามเรื่องต่อไป จนกว่าสถานการณ์น้ัน
จะคลี่คลาย จุดมุ่งหมายแห่งการรอคอยนี้เป็นคุณสมบัติส าคัญที่จะต้องมีในนวนิยาย ดังนั้นผู้อ่านจึง
ต้องวิเคราะห์ว่าผู้แต่งมีกลวิธีในการสร้างจุดแห่งการรอคอยอย่างไร แนบเนียนเป็นธรรมชาติ
และมปี ระสิทธภิ าพมากเพยี งไร
จากการพิจารณาจุดแห่งการรอคอยวรรณกรรมเยาวชนเรื่อง ครุฑน้อย
พบว่า ผู้แต่งสร้างสถานการณ์ให้ครุฑน้อยออกเดินทางตามหาครุฑผู้วิเศษเพื่อที่จะช่วยให้มันบินได้
โดยให้ผูอ้ ่านรอคอยว่าครุฑนอ้ ยจะพบตวั ครฑุ ผูว้ เิ ศษ และบนิ ได้หรือไม่
สถานการณ์ที่ผู้แต่งสร้างให้ผู้อ่านรอคอย เช่น ตอนท่ีกินรีน้อยถามครุฑ
เฒ่าวา่ เป็นผวู้ เิ ศษใช่หรอื ไม่ “นี่ ตาแก่ครุฑ ท่านใชค่ รุฑผวู้ ิเศษหรอื ไม่”
(ศิริพรรณ, 2545, หน้า4)
ดังนั้นผู้อ่านจึงรอคอยว่า ครุฑเฒ่า จะตอบครุฑน้อยว่าอย่างไร และเป็น
ครฑุ ผู้วเิ ศษที่ครฑุ นอ้ ยตามหาหรอื ไม่
ต่อมาผู้แต่งสร้างสถานการณ์ขึ้นเพื่อเป็นจุดรอคอยอีกว่า เมื่อครุฑเฒ่า
ยอมพูดกับครุฑน้อยแล้ว จะช่วยให้ครุฑน้อยบินได้หรือไม่ คือ สถานการณ์ตอนหนึ่งที่ครุฑน้อยได้
กลา่ วขน้ึ วา่ “ ทา่ น...ทา่ นยอมพูดกับผม แสดงวา่ ทา่ นยอมสอนผมบนิ แลว้ สคิ รับ”
(ศิริพรรณ, 2545, หนา้ 61)
บทสนทนาดังกล่าวเป็นตอนที่ครุฑน้อยตื่นมาภายในบ้านของครุฑเฒ่า
ครุฑเฒ่าได้นำร่างครุฑน้อยเข้ามาในบ้านของตนเพราะเห็นว่าไม่สบาย และได้พูดจากกล่าวกับครุฑ
นอ้ ย จึงทำให้ผอู้ า่ นสงสยั วา่ ครฑุ เฒา่ จะยอมช่วยใหค้ รุฑน้อยบินได้ ใช่หรือไม่
ดงั น้ัน จะพบวา่ จุดแหง่ การรอคอยในวรรณกรรมเยาวชน เรอื่ ง ครุฑนอ้ ย
ผแู้ ตง่ ใช้กลวิธใี นการสรา้ งจดุ แหง่ การรอคอยเป็นสถานการณต์ า่ ง ๆ ดังท่ีกลา่ วข้างตน้ เพ่ือให้ผอู้ า่ น
สงสัยและติดตามว่าเหตุการณ์ในแต่ละตอนวา่ จะเปน็ ไปในแนวทางใด
1.1.5 วิเคราะห์จดุ สุดยอดของเรือ่ ง
จุดสดุ ยอดของเรื่อง คือ จดุ ที่เหตุการณ์ในเร่ืองพัฒนาไปถงึ จุดท่ตี ึงเครียด
ทสี่ ดุ หรอื กล่าวอีกนัยหนงึ่ ว่าเปน็ ทางแยกหรือจดุ เปลีย่ นของเร่อื งวา่ จะคล่คี ลายไปทางใด โดยผูอ้ ่าน
จะต้องพิจารณาวา่ จดุ สดุ ยอดของเรื่องเปน็ อย่างไร
วรรณกรรมเยาวชนเรื่อง ครุฑน้อย นี้เมื่อเรื่องดำเนินมาถึงจุดสุดยอดคือ
ตอนที่ครุฑน้อยถูกครุฑเฒ่าโยนลงไปกลางสายน้ำ ด้วยสัญชาตญาณจึงบังคับปีกให้เคลื่อนไหว
ครุฑน้อยลืมตามองโลกใต้น้ำได้อย่างชัดเจน และใช้จมูกในการกลั้นหายใจ ซึ่งครุฑน้อยคิดว่าโลก
บนบก กบั ใตน้ ำ้ น้ันไม่ตา่ งกนั
1.1.6 วิเคราะห์กลวิธกี ารปิดเรอื่ ง
กลวิธีการปิดเรื่อง หรือตอนจบของเรื่อง นับว่าเป็น ตอนสำคัญที่ผู้อ่าน
จะประเมินได้ว่า ผู้แต่งมีความสามารถเพียงไร ที่จะสร้างความประทับใจให้แก่ผู้อ่าน การปิดเรื่องมี
หลายวธิ ี ได้แก่
วรรณกรรมเยาวชนเรื่อง ครุฑน้อย ใช้การปิดเรื่องแบบสุขนาฏกรรม คือ
ครุฑน้อยมีความสุขกับการที่ตนไดใ้ ชค้ วามสามารถพิเศษในการดำน้ำ ช่วยเหลือผู้อื่น และไม่สนใจอีก
ตอ่ ไปว่าครุฑตนอ่ืนๆจะเรยี กมันวา่ อะไร ดังตวั อย่างบทบรรยายตอ่ ไปน้ี
...หลังจากการช่วยเหลือครุฑทั้งสาม ครุฑน้อยออกเดินทางโดยให้จมูกที่
หุบไดข้ องมันเป็นเคร่ืองนำทาง จมกู ที่ทำให้ผู้ที่บินไม่ได้สามารถช่วยชีวิตผ็ทบี่ ินได้ จมูกท่ีทำให้มันเป็น
ผู้เลือกหนทางให้ตัวเอง แม้ว่าจะแปลกแยกจากครุฑอื่น แม้ว่าจะดูประหลาด และโลกก็ลืมเลือน
วีรกรรมของมันไปในทสี่ ุด แตม่ นั ก็ยงั คงยนื ยันท่ีจะใช้จมูกที่หบุ ได้ดำน้ำและสะบัดขนสีดำของมันอย่าง
ภาคภมู .ิ ..
(ศริ พิ รรณ, 2545, หนา้ 100)
จากข้อความข้างต้น ผู้แต่งปิดเรื่องแบบสุขนาฎกรรม ตัวละครเอก
มีความสขุ กบั ความสามารถพิเศษของตนเอง และไม่สนใจว่าจะถูกมองว่าเป็นครุฑรูปแบบใด เพราะได้
เลอื กรปู แบบการใช้ชวี ิตของตนเอง และไมค่ ิดทีจ่ ะปดิ ก้ันตัวเองอีกต่อไป
1.2 วเิ คราะหแ์ กน่ เร่อื ง
แก่นเรื่อง คือ ข้อคิดสำคัญที่ผู้แต่งต้องการสื่อไปยังผู้อ่านโดย แสดงให้เห็นถึง
ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งของประสบการณ์ชีวิต ด้วยการแสดงมุมมองที่แตกต่างไปจากที่ ผู้อ่านคุ้นเคย
หรอื แสดงความคิดเห็นท่ัวไปเก่ยี วกับธรรมชาติ หรอื สภาพของมนุษย์ซ่ึงแสดงผ่านทาง พฤติกรรมของ
ตวั ละคร เหตุการณ์ทเี่ กดิ ข้นึ หรือจนิ ตนาการทีผ่ แู้ ต่งสร้างไวใ้ นเรอ่ื ง
แนวคิดในวรรณกรรมเยาวชนอาจจะแบ่งอย่างกว้างได้ 2 ประเภท คือ แนวคิด
หลัก ได้แก่ แนวคิดหลักของเรื่องทั้งเรื่อง ซึ่งเนื้อเรื่องทั้งหมดจะมีความเกี่ยวพันกับแนวคิดของเรื่อง
ตั้งแตต่ ้นจนจบ และเปน็ สงิ่ ท่เี ชื่อมเร่ือง ทง้ั หมดเข้าด้วยกัน ส่วนแนวคดิ รอง หมายถงึ ความคิดเฉพาะ
บางตอนของเรือ่ ง สามารถสังเกตไดว้ า่ แก่นเรื่องในนวนิยายน้นั มักจะตรงกับความต้องการของมนุษย์
1.2.1 แนวคิดหลัก คือ แกนกลางหรือแนวคิดหลักของเรื่องทั้งเรื่อง ซึ่งเนื้อเรื่อง
ทั้งหมดจะมีความเกี่ยวพันกับแนวคิดของเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบ และเป็นสิ่งที่เชื่อมเรื่อง แนวคิดหลัก
ของวรรณกรรมเยาวชนเร่อื งครุฑนอ้ ยคอื
เรื่องราวความผิดแปลกของครุฑน้อย จนค้นพบความสามารถในการ
ดำนำ้ ของตน และภมู ิใจกับการใชค้ วามแปลกน้ีชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ และไดเ้ ลือกหนทางใหต้ นเอง
1.2.2 แนวคิดรอง คือ ความคิดเฉพาะบางตอนของเรื่อง สามารถสังเกตได้ว่า
แก่นเร่ืองในนวนิยายนนั้ มกั จะตรงกบั ความต้องการของมนุษย์
1) การเป็นทยี่ อมรับของสงั คม และเดนิ ตามรอยกรอบที่ผใู้ หญว่ างไว้
2) การไมก่ ลา้ ท่จี ะคิดแตกต่าง เพราะกลัวสังคมไม่ยอมรบั
1.3 วิเคราะห์ตวั ละคร
ตัวละคร คือ ผู้ที่มีบทบาทในเรื่องจะตอ้ งเหมือนมนุษย์หรอื เทียบเท่า มีชีวิตจิตใจ
แสดงอารมณ์บทบาท คำพูดและมีปฏิกิริยาเช่นคนจริง ๆ พฤติกรรมที่ตัวละครแสดงออกมาต้อง
น่าเชื่อถือ ดังนั้นตัวละครในนวนิยาย คือสมมติบุคคลที่ผู้แต่งนวนิยายแต่ละเรื่องสร้างขึ้น ตัวละคร
เหล่านี้เลียนแบบหรือจำลอง แบบมาจากบุคคลที่มีชีวิตอยู่จริงในสังคม ดังนั้นตัวละคร
จงึ มคี วามสำคญั และเปน็ องค์ประกอบของนวนิยายในการดำเนนิ เรื่อง
ตวั ละครเอก คือ ตัวละครทีม่ ีบทบาทสำคัญในการดำเนินเร่ือง หรือตวั ละครที่เป็น
ศูนย์กลางของเร่ือง มีทงั้ ฝา่ ยชาย และฝา่ ยหญิง หรืออาจมีฝ่ายเดียวก็ได้ ตัวละครเอกของวรรณกรรม
เยาวชน เรือ่ งครุฑน้อย คือ ครฑุ นอ้ ย
ตัวละครประกอบ คือ ตัวละครที่มีบทบาทรองลงไปจากตัวละครเอก
เป็นตัวละครที่ช่วยให้เรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ในเรื่องดำเนินไปสู่จุดหมายปลายทาง ตัวละคร
ประกอบของวรรณกรรมเยาวชนเรื่อง ครฑุ น้อย คอื แมค่ รูครุฑ สัปเหรอ่ ครฑุ ครฑุ เกเร ครุฑเฒา่
3.1 ครุฑน้อย เป็นตัวละครเอกของเรื่อง เป็นครุฑกำพร้าที่ถูกทิ้งไว้ตั้งแต่แรก
เกิดในหมู่บ้านครุฑ และได้เติบโตมากับการถูกสังคมกีดกัน ต่างจากครุฑตัวอื่น จึงทำให้ต้องออกจาก
หมบู่ า้ นไปเพอื่ นค้นหาตวั ตนของตนเอง
3.1.1 ลักษณะทางกายภาพ ครุฑน้อยมีรปู ร่างอปั ลักษณ์ มันมีลำตัวทีเ่ ลก็
และบอบบาง มีขนสีดำ มีปีกที่เลก็ ลีบแบนคล้ายครีบปลา มีรูจมูกที่หุบเข้าออกได้ คอยนุช นำเสนอ
ลกั ษณะทางกายภาพของครุฑน้อย ผ่านบทบรรยาย และบทสนทนา ไวด้ ังน้ี
...ส่วนสูงของมันไม่ได้คืบหน้าไปกว่าส่วนลำตัวที่ดูเล็กแล ะบอบ
บางเต็มที เช่นเดียวกับปีกเล็กๆทั้งสองตรงกึ่งกลางหลัง ซึ่งลีบผอมมองดูคล้ายครีบปลาเสียมากกว่า
จะมีเพยี งจงอยปากสีแดงและกรงเล็บเท้าที่พอจะช่วยใหม้ ันมีเคา้ ของความเปน็ ครุฑอยบู่ ้าง...
...แต่สงิ่ หนง่ึ ที่ครฑุ น้อยแตกต่างจากครุฑท่ัวไปอย่างเห็นได้ชัดกค็ ือ
รูจมูกทั้งสองของมนั ที่หุบเข้าออกได้อย่างประหลาด เวลาท่ีมนั ตกใจ รจู มูกจะหุบเขา้ หากันอตั โนมัติ…
(ศิรพิ รรณ, 2545, หนา้ 4)
“แม่ครูครบั ...ผมเป็นลกู ไก่แจห้ รือเปน็ ครฑุ กันแน่”
(ศิริพรรณ, 2545, หน้า5)
บทสนทนาของครุฑน้อยดังกล่าว ทำให้ผูอ้ ่านเกดิ จินตภาพถึง
ลกั ษณะตัวละคร ครุฑนอ้ ย ได้เป็นอยา่ งดี ไมว่ า่ จะเปน็ ภมู ิหลังของตัวละคร ลักษณะภายนอกต่างๆ วา่
ครฑุ น้อย มีรปู รา่ ทีเ่ ลก็ กวา่ ครุฑตวั อ่นื ๆ และมีลกั ษณะผดิ แผกไปจากครุฑตวั อน่ื ๆ
3.1.2 ลักษณะนิสัย ครุฑน้อยเป็นตัวละครประเภทตัวแบน เพราะมี
นิสัยที่ดีมาโดยตลอด ไม่เคยคิดร้ายต่อใคร ช่างสงสัย ฉลาด มองโลกในแง่ดี และมีจิตใจที่อ่อนโยน
ดงั บทสนทนาและบทบรรยายในเรื่องวา่
“แม่ครูครบั ...ผมเป็นลูกไกแ่ จง้ หรอื เป็นลกู ครฑุ กันแน่”
“ถ้าฉันรู้ว่าแกไม่ใช่ครุฑเมื่อไร ฉันจะอัปเปหิแกออกไปเป็นตัว
แรก”
…คำตอบของแม่ครูช่วยทำให้มันใจชื้นขึ้นบ้างว่า ที่มันยังอยู่ใน
สถานเลีน้ งครุฑกำพรา้ แห่งนีไ้ ด้ กเ็ พราะมนั เปน็ ครุฑนัน่ เอง...
(ศริ ิพรรณ, 2545, หนา้ 5)
“ผมอยากจะบอกเธอว่า ครุฑกับนาคไม่ได้เป็นศรัตรูกัน แต่สิ่งที่
ผมต้องทำเช่นนี้เพราะต้องช่วยชีวิตพวกเขา ขอโทษด้วยถ้าทำให้เธอบาดเจ็บ หวังว่าจะเจอกันคราว
หนา้ เธอจะพาผมเทย่ี วใหท้ ว่ั มหานทีสีทันดรนี้ และเราจะเป็นพื่อนกนั ตลอดไป”
(ศริ พิ รรณ, 2545, หน้า89)
จากบทสนทนาขา้ งต้นแสดงให้นิสัยใจคอของครฑุ น้อยมากข้ึน
น่ันคือ ครุฑน้อยเป็นตัวละครทม่ี จี ติ ใจทด่ี ี มองโลกในแงด่ ี ตั้งแตต่ น้ เรือ่ งจนถึงทา้ ยเรื่อง ซึง่ เป็น
พฤติกรรมที่ไม่เปลีย่ นแปลง
3.1.3 ความสมั พันธก์ ับตัวละครอ่ืน
1) ความสัมพันธ์ของครุฑน้อยกับสปั เหร่อครุฑ สัปเหร่อครฑุ เปน็ ผู้
ที่มีความหวังดีกับครุฑน้อย เห็นความพยายามจะบนิ และเป็นผูท้ ี่จุดประกายความคิดในเรือ่ งการบิน
ใหก้ ับครุฑนอ้ ย ดงั บทสนทนาในเรอ่ื งว่า
“ทีนี้เจ้ารู้แล้วสินะ ไอ้ความรู้สึกที่เจ้าอยากได้จากการบินว่า
เป็นอย่างไรครุฑพวกนนั้ ยังไม่เคยบินสูงเทา่ น้ีมาก่อนด้วยซ้ำ เจ้าอยากเหน็ โลกเบื้องล่างว่าเป็นอย่างไร
ก็มองซะให้เต็มตา เห็นไหมล่ะว่าเจ้าไม่จำเป็นต้องบินได้เลยการจะเห็นโลกกว้างไม่ได้มีเพียงวิธีเดียว
เท่านั้น”
(ศริ ิพรรณ, 2545, หนา้ 36)
...ครุฑน้อยยืนอยู่เพี่ยงครู่หนึ่งก็เดินตามไป การด้ค้นพบว่า
ผาครุฑบินที่ใครๆอยากจะพิชิตให้ได้นั้น ความจริงแล้วมันมีทางขึ้นจากอีกด้านหนึ่งซึ่งไม่สูงเท่าไรนัก
ทำให้ครุฑน้อยเริ่มสบั สนระหว่างความรู้สึกของการได้มองไปยังเบ้ืองล่าง กับความรู้สึกที่แท้จริงที่มนั
ตอ้ งการบนิ ...
(ศริ พิ รรณ, 2545, หน้า36)
2) ความสมั พันธ์ของครุฑน้อยกับครุฑเฒ่า ครุฑนอ้ ยพบครุฑเฒ่าท่ี
ริมลำธาร มันได้เรียนรู้อะไรหลายอย่างจากครุฑผู้เฒ่าเช่นการตกปลา และครุฑผู้เฒ่ายังเปน็ ผู้ที่ทำให้
ครฑุ น้อยรจู้ ักตวั ตนและความสามารถในการว่าน้ำ บทสนทนา และบทบรรยายดงั น้ี
…ครุฑน้อยสังเกตเห็นว่า ก่อนที่ครุฑบ้าผู้นี้จะนั่งลงเลือกท่ี
หย่อนเบ็ดนั้น แกจะเหลียวมองยอดไม้ที่พลิ้วไหวไปตามทิศทางลม จากนั้นเริ่มจับจ้องที่ริ้วน้ำซ่ึง
กระเพื่อมไหวไปในทิศทางเดียวกบั ลม เพอ่ื ใหก้ ระแสน้พดั พากลิ่นของเหยอ่ื ให้ลอยไปลอ่ ปลา แตต่ าแก่
ครฑุ กลับเลือกหย่อนเบ็ดทปี ลายนำ้ แทน...
(ศิรพิ รรณ, 2545, หนา้ 57-58)
...ครฑุ นอ้ ยตั้งคำถามไมห่ ยุด แตแ่ ล้วจู่ๆ ตาแกค่ รุฑก็หันมามอง
หน้ามันอยู่ชั่วครู่ ก่อนจะวางคันเบ็ดลงกับพื้นแล้วเดินวนไปรอบๆ ตัวครุฑน้อยคล้ายกำลังสำรวจร่าง
ของมัน ขณะที่กำลังงุงงงกับพฤติกรรมประหลาดนั้นเอง ยังไม่ทันที่จะตั้งตัว ร่างของครุฑน้อย
ก็ถกู ครุฑเฒา่ อมุ้ ขึ้นแล้วโยนลงไปกลางสายน้ำเบอ้ื งหนา้ ...
(ศริ ิพรรณ, 2545, หน้า61)
...ครุฑน้อยคดเช่นนั้นขณะที่ร่างใกล้สัมผัสก้นบึ้งของลำธาร
แตแ่ ล้วสญั ชาตญาณของการเอาตวั รอดกบ็ งั คับให้ปีกเล็กๆ ทั้งสองเคลื่อนไหว มนั ลืมตาข้ึนมองโลกใต้
น้ำรอบข้างได้อย่างชัดเจนอย่างไม่น่าเชื่อ มันเริ่มรู้สึกว่าระบบการกลั้นหายใจของมันทำงานได้ดีกว่า
ตอนอยู่บนบกเสียอีก จมูกทีห่ ุบได้ช่วยให้ไมส่ ำลักนำ้ เขา้ ไปในปอด ร่างของมนั เรมิ่ ทรงตวั ในนำ้ ได้อย่าง
มัน่ คงและกำลงั เคล่ือนไปข้างหนา้ ...
(ศิรพิ รรณ, 2545, หนา้ 61)
3.2 แม่ครูครุฑ เป็นตัวละครประกอบที่ทำให้เรื่องราวของครุฑน้อยดำเนินไป
อยา่ งสมั พนั ธ์กัน เนื่องจากแม่ครูครุฑอาศัยอยู่ตามลำพัง จงึ มีหนา้ ที่คอยเล้ียงดแู ละสอนการใช้ชีวิตให้
ครุฑกำพร้าแบบตามมีตามเกดิ
3.2.1 ลักษณะทางกายภาพ ของแม่ครูครุฑเป็นหญิงชรา มีร่างกายเหี่ยว
คอยนชุ นำเสนอลักษณะทางกายภาพของครฑุ น้อย ผ่านบทบรรยาย ไว้ดงั นี้
…ครุฑน้อยลืมตาทันทีที่ได้ยินเสียงโครม มันเหลียวมองร่างเหี่ยวๆซึ่ง
ฟบุ กองอยกู่ บั พน้ื ดว้ ยสายตาตต่ืนตระหนก...
(ศิรพิ รรณ, 2545, หน้า61)
3.2.2 ลักษณะนิสัย แม่ครูครุฑเป็นตัวละครประเภทตัวแบน เพราะมีจิตใจ
ร้ายอย่างเสมอต้นเสมอปลาย เป็นผู้ที่มีอารมณ์ไม่คงท่ี ขึ้นๆลงๆ เกียจเสียงร้องของเด็ก ชอบทำร้าย
เด็ก ขห้ี ลงข้ีลืม มคี วามลำเอยี ง และข้บี น่ ดงั บทสนทนาและบทบรรยายในเร่อื งวา่
…นางเป็นทั้งผู้เลียงดูและผู้สอนการใช้ชีวิตแบบที่ครุฑกำพร้าสมควร
ได้รับซ่งึ เปน็ ไปแบบตามมีตามเกดิ ตามอารมณข์ น้ึ ๆลงๆของนางจะพาไป...
(ศริ พิ รรณ, 2545, หนา้ 3)
...ไม่ว่างจะเกลียดเสยี งร้องของเด็ก หรือชอบทำร้ายเดก็ หรือไม่ก็ตาม
...
(ศิริพรรณ, 2545, หนา้ 3)
...แม้ว่าครูหรือหญิงชราครุฑจะเฝ้าป้อนหนอนป้อนน้ำแกครุฑน้อย
เท่าที่นางจะนึกออกบ้างหลงลืมไปบ้าง และเท่าที่ทารกน้อยจะยื้อแย่งมาได้แต่ละมื้อจากครุฑกำพร้า
ผหู้ วิ โหยดว้ ยกนั ...
(ศริ พิ รรณ, 2545, หน้า4)
“ถ้าฉันรู้ว่าแกไม่ใช่ครุฑเมื่อไร ฉันจะอัปเปหิแกออกเป็นตัวแรก”
(ศริ พิ รรณ, 2545, หน้า5)
...นางเดินหาไปพลางพร่ำบ่นไปพลางถึงความเกียจคร้านสันหลังยาว
การไม่รูจ้ ักบุญคุณ สิน้ เปลืองเอาแต่กนิ และนอนของครุฑน้อย...
(ศริ พิ รรณ, 2545, หนา้ 61)
จากข้อความข้างตน้ จะเหน็ ถึงลกั ษณะนสิ ยั ของแม่ครูครฑุ น่ันคอื มี
จิตใจทร่ี ้ายเสมอต้นเสมอปลาย เปน็ ครฑุ ท่ีไมเ่ อนดคู รุฑตัวไหนเลย โดยเฉพาะครุฑน้อยท่ีรูปรา่ ง
อัปลกั ษณ์จงึ ไม่ไดร้ บั การเล้ยี งดูทดี่ ีเทา่ กบั ครุฑตวั อน่ื ๆ
3.2.3 ความสัมพนั ธก์ บั ตวั ละครอื่น
ความสัมพันธ์ระหว่างแม่ครูครุฑกับครุฑน้อย แม่ครูครุฑเป็นผู้ที่ไม่
ปลาบปลื้มครุฑน้อยเท่าไรนัก เพราะเป็นครุฑที่มีรูปร่างอัปลักษณ์แตกต่างจากครุฑตัวอื่น ดังบท
สนทนาและบทบรรยายในเร่ืองวา่
...ความผอมโซจนเห็นได้ชดั ของครุฑน้อย กลายเป็นจุดด่างพร้อยอีก
จดุ หนง่ึ ในหน้าทีข่ องแม่ครู จนทำใหน้ างยิ่งลดทอนความรักความเอ็นดใู นตวั มันเข้าไปอกี ถึงแม้ว่านาง
จะไม่มีให้เลยกต็ าม...
(ศริ พิ รรณ, 2545, หนา้ 4)
“ไมเ้ รียวของฉนั นแี่ หละจะฟาดให้แกเปน็ สแี ดงเอง”
(ศริ พิ รรณ, 2545, หน้า6)
3.3 ครฑุ เกเร เปน็ ตัวประกอบซง่ึ ทำให้ใหเ้ รื่องราวดำเนนิ ไป และเช่ือมโยงกันได้ดี
สำหรับในเรื่องจะแบ่งครุฑเกเรเป็น 3 ตัวคือ ครุฑตัวอย่าง ครุฑผู้ดี และครุฑดีเด่น ครุฑเกเรทั้ง 3
ในเร่ือง ครฑุ น้อย ถอื ไดว้ า่ เปน็ ครุฑตัวอย่างของหมบู่ า้ นทีห่ วังจะพิชิตผาครุฑบนิ และคิดที่จะไปปราบ
พญานาคทมี่ หานทีสีทันดร พละกำลังของท้ัง 3 ไม่มากพอจึงทำให้พลาดพล้งั ต่อพญานาค แต่แล้วครฑุ
นอ้ ยกส็ ามารถชว่ ยเอาไว้ได้
3.3.1 ลกั ษณะทางกายภาพ
ครุฑเกเรทั้ง 3 มีลักษณะทางกายภาพที่เหมือนกัน ตรงตาม
คุณสมบัติของครุฑนั่นก็คือ มีร่างกายแข็งแรง มีรูปร่างที่สูงใหญ่ มีขนสีแดง มีรูปปีกอันงดงาม
มจี ะงอยปากและกรงเล็บที่แหลมคมดังบทบรรยายในเรื่องวา่
...ครุฑน้อยสังเกตได้ว่า ครุฑทั้งสามตัวมีรูปทรงที่สูงใหญ่สมบูรณ์
แบบกว่าครุฑตัวอื่นในวัยเดียวกัน กล้ามหน้าอกก็เติบโตจนได้รูป สองแขนซ้ายขวาดูเต็มไปด้วย
พละกำลัง เช่นเดียวกับจะงอยปากและกรงเล็บที่แหลมคม และเมื่อทั้งสามตัวขึ้นไปบินว่อนอยู่บน
ท้องฟ้า ก็ดูราวกับว่าพวกมันคือลูกไฟสีแดงเพลงิ ท่ีกำลังฉวัดเฉวียนไปมาด้วยความเร็ว ครุฑน้อยรู้สกึ
วา่ น่แี หละคือแบบฉบบั ของครฑุ ที่แทจ้ ริง...
(ศิริพรรณ, 2545, หนา้ 29)
…แต่หลังจากได้แสดงผลคแนนการปฏิบัติตนอย่างเรียบร้อยสมเป็น
ชาติครุฑตระกูลสูง ไม่ว่าจะเป็นหมั่นดูแลขนให้เป็นสีแดง ไม่ซีดจาง จะจงอยปากที่ลับคมอย่าง
สม่ำเสมอ และอุ้งเล็บเท้าที่ตัดแหลมอย่าถูกต้องตามลักษณะครุฑ เหมาะสมกับชื่อครุฑผู้ดีของมันย่ิง
นัก...
(ศริ พิ รรณ, 2545, หนา้ 75)
…และร่างสูงสง่าของครุฑดีเด่นก็ผาดโผนขึ้นไปบินอยู่กลางอากาศ...
(ศิรพิ รรณ, 2545, หนา้ 93)
3.3.2 ลักษณะนิสัย ครุฑเกเรเป็นตัวละครประเภทตัวแบน เพราะมีนิสัยท่ี
ร้าย และมีความอวดเก่ง อย่างเสมอตั้นเสมอปลาย ครุฑเกเรมีนิสัยที่ดื้อรั้น ชอบดูถูกผู้อื่น และอวด
เกง่ ดังบทบรรยายและบทสนทนาในเรอื่ งวา่
“แต่ข้าเคยได้ยินพวกผู้ใหญ่ในหมู่บ้านเล่าว่า ทางทิศตะวันตกของ
หมู่บ้าน เลยออกไปทางใต้ของทางใต้อันไกลโพ้น มีสระใหญ่ชื่อนาคขรณี เป็นที่อยุ่อาศัยของนาคเมอ่ื
รอ้ ยปีท่ีแล้ว”
(ศิริพรรณ, 2545, หน้า27)
“ร้อยปีหรือ...ป่านนี้ข้าว่าสระคงแห้งจนกลายเป็น นรคขอดธรณีไป
แลว้ กไ็ ด้ ฮ่า...ฮา่ ...ฮา่ ”
(ศริ ิพรรณ, 2545, หนา้ 27)
“ขา้ นแ่ี หละโว้ย ครฑุ ตวั แรกท่ีจะจบั นาคขึน้ มาตากแดด ของต้ังช่ือว่า
ทา่ ครุฑยดุ นาคแดดเดยี ว”
(ศริ พิ รรณ, 2545, หนา้ 27)
“ตูม...ตูม...ตูม ไอน้ าคขข้ี ลาด ไอง้ ูดนิ ออกมาส้กู ันสวิ ะ!!”
(ศิริพรรณ, 2545, หนา้ 79)
3.3.3 ความสมั พนั ธก์ บั ตวั ละครอื่น
ความสัมพันธ์ระหว่างครุฑเกเรกบั ครุฑน้อย ครุฑเกเรเป็นผู้ที่ไม่หวัง
ดีกับครุฑน้อย เพราะครุฑน้อยรู้ความลับที่ครุฑเกเรแอบไปฝึกบินที่ผาครุฑบิน จึงวางแผนโกหก
ว่ามีครุฑเฒ่าวิเศษทีจ่ ะช่วยใหบ้ ินได้ ครุฑน้อยหลงเชื่อจึงออกจากหมู่บ้านไปตามหาครุฑผู้เฒ่าจนไดร้ ู้
ความสามารถพิเศษของตนและช่วยแหละครุฑเกเรทั้งสามจากพญานาค แต่ครุฑทั้งสามก็ยังไม่เห็น
ความดีของครุฑน้อยและยังโกหกวา่ เปน็ ผู้ที่ปราบพญานาคได้ ดังบทบรรยายและบทสนทนาในเรื่อง
ว่า
“แม่ของข้าเคยบอกว่า ครุฑเฒ่าสามารถสอนสัตว์ทุกตัวให้บินได้”
(ศริ ิพรรณ, 2545, หนา้ 39)
...กลุม่ ครฑุ เกเรหันมายิม้ กนั อย่างมีเลศนัย แล้วเร่ิมต้น
เล่าเร่ืองของครฑุ ผู้เฒ่าวิเศษทพ่ี กมันช่วยแตง่ กันขึ้นมาเม่ือกนี้ ีเ้ อง...
(ศริ ิพรรณ, 2545, หนา้ 40)
3.4 กนิ รนี อ้ ย เปน็ ตัวละครทสี่ ร้างสีสันใหก้ บั เรือ่ ง ครฑุ นอ้ ย พ่อแมเ่ สยี ชีวิตจึงต้อง
อาศัยอยู่กบั ป่กู นิ นร และเป็นผ้ทู ีไ่ ปหาครฑุ เฒ่าผ้ทู ีค่ รุฑน้อยสงสยั ว่าเปน็ ครฑุ ผ้วู ิเศษ
3.4.1 ลักษณะทางกายภาพ
กินรีน้อยมีร่างอรชร ดวงตากลมโต ริมผีปากบาง ผมดำยาวประบ่า ลำตัว
คลา้ ยมนุษย์ เท้าเปน็ อุ้งแบบนก ดงั บทบรรยายเร่ืองว่า
...ร่างอรชรอ้อนแน้นที่วิ่งตามมานั้น มีใบหน้าประดับด้วยดวงตากลมโตใส
แป๋ว ริวผีปากบางกะทัดรัด รับกับเรื่องผมดำสนิทยาวประบ่า ลำตัวดูคล้ายมนุษย์ หากแต่ส่วนเท้า
กลบั เปน็ อุ้งเท้าแบบนก...
(ศิรพิ รรณ, 2545, หนา้ 47)
3.4.2 ลกั ษณะนิสยั
กินรีน้อยเป็นตัวละครประเภทตัวแบน เพราะเป็นตัวละครที่มีนิสัยดี
ไม่คิดร้ายต่อใคร มีฝีปากที่จัดจ้าน พูดจาตรงไปตรงมา ขี้โวยวาย ช่างพูด แต่ก็มีนิสัยที่สนุกสนาน
ร่าเรงิ และอธั ยาศัยดี ดังบทบรรยายและบทสนทนาในเร่ืองว่า
“อ้อ บินไม่ได้นี่เองถึงได้ต้องมาขโมยปีกของชาวบา้ น หน้าตาอบบน้ี
ดูไปก็เหมือนพวกครุฑ แต่ทำไมปีกเล็ก ตัวเล็ก แถมดำปิ๊ดปี๋ไปทั้งตัวแบบนี้ มันจัวอะไรกันแน่นี่..อุ๊ย
ดูจมูกสิ หุบเข้าไปแบบน้ัน เดี๋ยวกห็ ายใจไม่ออกหรอก ฮ.ิ ..ฮิ ตลกจรงิ ๆ”
(ศริ พิ รรณ, 2545, หนา้ 47)
...เสยี งเจ้ือแจว้ แก่แดดของเด็กหญิงกนิ รดี ังติดต่อกนั ไมห่ ยุด…
(ศริ ิพรรณ, 2545, หน้า47)
3.4.3 ความสมั พนั ธ์กับตวั ละครอ่ืน
ความสัมพันธ์ระหว่างกินรีน้อยกับครุฑน้อย ทั้งสองตัวละครมี
ความสัมพันธ์อันดีต่อกัน กินรีน้อยช่วยเหลือครุฑน้อยโดยให้ที่พักอาศัย และพาไปหาครุฑเฒ่า
ดังบทบทสนทนาในเร่ืองวา่
“บางทีตาแก่ครุฑที่เธอว่า อาจจะเป็นครุฑผู้วิเศษ หรือไม่แน่แก
อาจจะรเู้ รอ่ื งอะไรบา้ ง เธอชว่ ยพาผมไปหาแกหน่อยสิ”
(ศริ พิ รรณ, 2545, หน้า48)
“ได้ พรุ่งนี้ฉันจะพาเธอไป แต่วันนี้ไปพักที่บ้านของฉันก่อน บางทีปู่
ของฉันอาจจะรู้อะไรบ้างก็ได”้
(ศริ ิพรรณ, 2545, หนา้ 48)
3.5 ครุฑเฒ่า เป็นตัวละครทีท่ ำให้เร่ืองดำเนนิ ไปถงึ จุดสำคัญ เพราะเป็นผูท้ ี่ทำให้
ครฑุ นอ้ ยค้นพบความสามารถของตนเองในการวา่ ยนำ้ และดำน้ำ
3.5.1 ลักษณะทางกายภาพ
มีหวั ท่ขี าว ร่างสูงใหญ่ ดงั บทบรรยายและบทสนทนาเเร่ืองว่า
“เห็นไหมที่หัวขาวโพลน น่ังนิ่งคล้ายกับก้อนหินนั่นไงตาแก่ครุฑ”
(ศิริพรรณ, 2545, หนา้ 53)
...เห็นดังนั้นครุฑน้อยจึงรีบเดินตามร่างสูงใหญ่ที่ส่อแววว่าครั้งหน่ึง
เคยเปน็ ครุฑทีส่ งา่ งามไปโดยไม่ยอมคลาดสายตา...
(ศิรพิ รรณ, 2545, หนา้ 54)
3.5.2 ลักษณะนสิ ัย ครุฑเฒ่าเป็นตวั ละครประเภทตวั แบน เพราะมีความดี
เสมอต้นเสมอปลาย ครุฑเฒ่าเป็นครุฑที่ไม่ชอบพูดจากับใคร ชอบตกปลา ช่างสังเกต ดังบทบรรยาย
และบทสนทนาเเรือ่ งวา่
...ครุฑน้องกล่าวแนะนำตัว หากแต่ครุฑเฒ่าหาได้สนใจไม่ แกยังคง
นง่ั สงบนงิ่ สายตาจับจ้องอย่ทู ค่ี นั เบด็ ซึ่งหย่อนอยูก่ ลางนำ้ ราวกับไม่ได้ยนิ สรรพเสยี งใดๆเลย...
(ศิรพิ รรณ, 2545, หนา้ 52)
3.5.3 ความสัมพนั ธก์ ับตัวละครอ่นื
ความสัมพันธ์กับครุฑเฒ่ากับครุฑน้อย ครุฑเฒ่าเป็นผู้ที่ทำให้ครุฑ
น้อยได้รู้ถึงความสามารถในการดน้ำของตนเอง และเป็นผู้ที่เปลี่ยนความคิดของครุฑน้อยที่อยากจะ
บนิ ใหอ้ ยากวา่ ยนไ้ ปในทุกๆที่ ดังบทบรรยายและบทสนทนาเเรอ่ื งวา่
...ครฑุ น้อยตัง้ คำถามไมห่ ยุด แต่แลว้ จู่ๆ ตาแก่ครุฑกห็ ันมามองหน้า
มันอยู่ชั่วครู่ ก่อนจะวางคันเบ็ดลงกับพื้นแล้วเดินวนไปรอบๆ ตัวครุฑน้อยคล้ายกำลังสำรวจร่าง
ของมัน ขณะที่กำลังงุงงงกับพฤติกรรมประหลาดนั้นเอง ยังไม่ทันที่จะตั้งตัว ร่างของครุฑน้อยก็ถูก
ครฑุ เฒา่ อุ้มขึน้ แลว้ โยนลงไปกลางสายนำ้ เบอื้ งหน้า...
(ศิริพรรณ, 2545, หน้า61)
“เพราะจมูกหุบได้นี่เองถึงดำน้ำได้ นี่ถ้าข้าดำน้ำได้ ข้าจะดำไป
ตกปลาใตน้ ้ำให้ทว่ั ทุกลำธาร หว้ ย หนอง คลอง บึง ทะเล มหาสมุทร ไปจนถงึ มหานทีสีทันดรท่ีแม้แต่
แสนมหาหญาครฑุ ยังสุดบิน ฮ่า...ฮา่ ...ฮ่า”
(ศิรพิ รรณ, 2545, หน้า61)
จากการวเิ คราะห์การสร้างตัวละครพบวา่ ผู้แต่งใช้กลวธิ ีการสร้างตัว
ละครแบบทค่ี งลักษณะนิสัยของตวั เองไว้ตลอดท้ังเร่อื ง เพ่อื ใหผ้ ูอ้ ่านจดจำตวั ละครได้งา่ ย ไมเ่ กิดความ
สบั สน และชว่ ยดงึ ดดู ความสนใจของผอู้ ่าน
1.4 วิเคราะห์บทสนทนา
บทสนทนา คือ ถ้อยคำที่ตัวละครใช้โต้ตอบกันในเรื่อง บทสนทนาใน นวนิยาย
จึงมีความจำเป็นมากเพราะจะช่วยให้เรื่องสนุกน่าสนใจ และเป็นส่วนที่ทำให้นวนิยายมี ลักษณะ
สมจริงมากยิ่งขึ้น บทสนทนาที่ดีจึงต้องเหมาะสมกับบุคลิกภาพ สภาพแวดล้อม ฐานะทาง สังคม
เศรษฐกิจ และการศึกษาของตัวละคร บทสนทนาที่ดีควรมีขนาดสั้น ทำให้เข้าใจได้ง่ายและน่าอ่าน
กว่าบทสนทนาขนาดยาว บทสนทนาที่ยืดยาวจะทำให้ผู้อ่านรู้สึกเหมือนกำลังอ่านบทบรรยาย หรือ
บทพรรณนามากกว่ากำลังฟังถ้อยคำที่ใช้เจรจากันในชีวิตจริง ผู้แต่งอาจใช้บทสนทนาของ ตัวละคร
ช่วยในการดำเนินเรื่องแทนคำบรรยาย หรือช่วยทำให้ผู้อ่านรู้จักบุคลิกลักษณะอุปนิสัยและ อารมณ์
ของตัวละครได้ดีขึ้นอีกทางหนึ่ง การแต่งบทสนทนาจึงต้องอาศัยศิลปะอย่างสูง เพื่อสร้างความ
ประทับใจแก่ผู้อ่านและสร้างตัวละครให้มีชีวิตเหมือนคนจริง ๆ ภาษาในบทสนทนาจึงควรเป็นภาษา
พูดไมใ่ ชภ่ าษาเขยี น
1.4.1 ชว่ ยดำเนนิ เรอ่ื งแทนการบรรยาย คือ ในบทพูดของตัวละครมีข้อมูลท่ีทำให้
ทราบเนื้อหาของเรื่อง โดยไม่ต้องใช้บทบรรยายบอกเล่าในวรรณกรรมเยาวชน เรื่อง ครุฑน้อย มีบท
สนทนาทชี่ ว่ ยดำเนนิ เร่อื งแทนการบรรยาย ดังต่อไปนี้
1) บทสนทนาระหวา่ งครุฑน้อยกบั หัวหน้าหมู่บา้ น ขณะท่กี ำลังจัดงานศพ
ให้กับแม่ครูครุฑ และเชื่อว่าการตายของแม่ครูเกิดจากครุฑน้อย จึงต้องการให้ครุฑน้อยหาที่อยู่ใหม่
ที่ไกลจากครฑุ ตัวอน่ื ใหก้ ับครุฑนอ้ ย ดังบทสนทนาดังน้ี
“เปน็ อยา่ งไรบา้ งละ่ ครฑุ น้อย”
“แม่ครูคงไม่เคยบอกกฎของสถานเลี้ยงครุฑกำพร้าให้กับเจ้าสินะ...
เมื่อไรก็ตามที่ครุฑกำพร้าเติบโตจนปีกขยายอกเต็มที่ แสดงว่าครุฑตัวนั้นปีกกล้าขาแข็งพอ
ที่จะดแู ลตวั เองได้แลว้ เจา้ กร็ ูต้ ัวน่ีวา่ การเลยี้ งดูครุฑแตล่ ะตวั สิ้นเปลอื งงบประมาณของหมูบ่ า้ นแค่ไหน
โดยเฉพาะครฑุ ท่กี ำลังโตวันโตคืนอยา่ งเจา้ ”
“ที่สำคัญ พวกเราคิดว่าเรื่องขนสีดำกับ...อ่า...จมูกของเจ้าจะเป็น
ตัวอย่างที่ไม่ดีกับครุฑตัวอื่นๆ ในหมู่บ้าน แป็นว่าพรุ่งนี้ก่อนดวงอาทิตย์จะลับขอบฟ้า ฉันคิดว่าเจ้า
นา่ จะ...อ่า...จัดการเรือ่ งทีอ่ ยใู่ หมไ่ ดท้ ัน ฉันหวังว่าเจ้าคงเขา้ ใจดนี ะครุฑน้อย”
(ศริ พิ รรณ, 2545, หน้า17-18)
2) บทสนทนาระหว่างครุฑน้อยกับสัปเหร่อครุฑ ขณะที่สัปเหร่อครุฑ
กำลงั จะพาครฑุ น้อยเดินขึ้นไปยังผาครฑุ บนิ
“อย่ามองงไปขา้ งลา่ ง เดินขึ้นเรอ่ื ยๆจนกวา่ จะบอกให้หยดุ ”
“เอาละ ถึงแลว้ ”
“ข้างล่างนี่...นี่...คือ...”
“ใช่ ข้างล่างกค็ ือผาครฑุ บนิ ที่เจา้ ยืนอยู่นีก่ ค็ ือที่ท่ีพวกเจ้าสามตัวอยาก
ขนึ้ มากนั ไงล่ะ”
“ที่นีเ้ จา้ ร้แู ล้วสนิ ะ ไอค้ วามรู้สกึ ที่เจา้ อยากไดจ้ ากการบนว่าเปน็ อย่างไร
ครุฑพวกนั้นยงั ไม่เคยบนิ สูงเท่าน้ีมาก่อนด้วยซำ้ เจ้าอยากเห็นโลกเบื้องล่างว่าเป็นอย่างไรก็มองซะให้
เต็มตา เห็นไหมล่ะว่าเจ้าไม่จำเป็นตอ้ งบนิ ไดเ้ ลย การจะเห็นโลกกว้างก็ไม่มีไดม้ ีเพียงวิธีเดียวเท่านั้น”
(ศิรพิ รรณ, 2545, หน้า35-36)
1.4.2 ช่วยแสดงลักษณะนิสัยของตัวละครผู้พูด คือ บทสนทนาจะช่วยบอกให้
ผู้อ่านเข้าใจบุคลิกลักษณะ และนิสัยของตัวละครที่สนทนากัน รวมทั้งตัวละครอื่นที่ถูกกล่าวถึงใน
บทสนทนานั้น ในนววรรณกรรมเยาวชนเรื่อง ครุฑน้อย มีบทสนทนาที่ช่วยแสดงลักษณะนิสัยของ
ตวั ละคร ผูพ้ ดู ดังตวั อย่างตอ่ ไปน้ี
1) บทสนทนาระหว่างครุฑเกเรทั้ง3 ตอนที่ครุฑอาวุโสกำลังเล่าเรื่องการ
ตอ่ สูข้ องครฑุ กบั พญานาคด้วยทา่ ครุฑยุดนาค ดังบทสนทนาต่อไปนี้
“ว่านาคมจี รงิ ไหมวะ”
“สงสัยป็นนิทานหลอกเด็กมากกว่า หรือไม่ก็ถูกพวกครุฑเราขับไล่
จนสูญพนั ธุ๋ไปแลว้ ”
“แต่ข้าเคยได้ยินพวกผู้ใหญ่ในหมู่บ้านเล่าว่า ทางทิศตะวันตกของ
หมู่บ้าน เลยออกไปทางใต้ของทางใต้ของทางใต้อันไกลโพ้น มีสระใหญ่ชื่อนาคขรณี เป็นที่อยู่อาศัย
ของนาคเมอ่ื ร้อยปที ่ีแลว้ ...”
“ร้อยปีหรือ...ป่านนี้ขา้ ว่าคงแหง้ จนกลายเป็น นาคขอดธรณีไปแล้วกไ็ ด้
ฮ๋า...ฮา่ ...ฮ่า”
“ข้านี่แหละโว้ย ครุฑตัวแรกที่จะจับนาคขึ้นมาตากแดด ขอตั้งชือว่าท่า
ครุฑยดุ นาคแดดเดยี ว”
(ศิริพรรณ, 2545, หน้า27)
2) บทสนทนาระหว่างครุฑน้อยกับกินรีน้อย ตอนที่ครุฑน้อยเจอปีกของ
กินรีน้อย ที่มีสีขาวทรงเรียวและนึกว่าเป็นปีกของผูเ้ ฒ่าครุฑวเิ ศษ กินรีน้อยเห็นเข้าจงึ นกึ ว่าครุฑน้อย
จะขโมยปกี ของตนจงึ กลา่ วตอ่ วา่ ครฑุ น้อย ดังบทสนาตอ่ ไปน้ี
“หยดุ นะ!!! วางปีกหางของฉันลงเดีย๋ วน.้ี ..ไอห้ วั ขโมย”
(ศริ ิพรรณ, 2545, หน้า46)
“อ้อ บนิ ไม่ได้น่เี องถึงได้ต้องมาขโมยปีกของชาวบ้าน หนา้ ตาอบบนี้ดูไป
กเ็ หมือนพวกครุฑ แตท่ ำไมปีกเล็ก ตวั เลก็ แถมดำป๊ดิ ป๋ไี ปทั้งตัวแบบน้ี มนั จัวอะไรกนั แนน่ ่ี..อุ๊ย ดูจมูก
สิ หบุ เขา้ ไปแบบนัน้ เดีย๋ วกห็ ายใจไมอ่ อกหรอก ฮ.ิ ..ฮิ ตลกจริงๆ”
(ศริ ิพรรณ, 2545, หนา้ 47)
“ผมขอโทษ...แต่ว่าผมไม่ใช่ขโมยนะ ผมชื่อครุฑน้อย กำลังจะเดินทาง
ไปหาผู้เฒ่าครุฑผู้วิเศษเพื่อให้ท่านสอนบิน ผมเห็นปีกของเธอสวย จึงคิดไปว่าน่าจะเป็นของผู้เฒ่า
กเ็ ลยอยากลองจบั ดูเทา่ นัน้ ”
(ศริ พิ รรณ, 2545, หนา้ 47)
1.4.3 ช่วยให้บทประพันธ์มีชีวิตชีวาเร้าใจยิ่งขึ้น คือ บทสนทนาที่ดีต้องช่วยให้
ตื่นเต้น เร้าใจหรือทำให้ผู้อ่านอยากรู้อยากเหน็ ในวรรณกรรมเยาวชนเรื่อง ครุฑน้อย มีบทสนทนาที่
ช่วยให้บทประพนั ธม์ ชี ีวติ ชวี าเร้าใจยิ่งข้ึน ดงั ตัวอย่างต่อไปน้ี
1. บทสนทนาระหว่างครุฑน้อยกับแม่ไก่ อีกา และเป็ด ขณะที่พบอยู่ใน
ชายป่าหลังหมู่บ้าน จึงได้สนทนากันถามถึงความแปลกประหลาดของตนเอง ทำให้บทประพันธ์มี
ชวี ิตชวี ามากขนึ้ ดงั บทสนทนาดงั น้ี
“พวกนา้ ๆ วา่ ผมเปน็ ครุฑ หรือตวั อะไรกันแน่”
“ทำไมเธอไม่ลองย้อมขนเธอดูละ่ ...ครฑุ น้อย”
“ขนสีดำยงั ไม่เท่ารจู มกู มหัศจรรยท์ ี่มันหบุ เขา้ ออกได้ของเธอหรอก”
“โอ...พวกน้าๆเหน็ มันด้วยหรือครับ”
“รูจมกู แบบนี้เหมอื นอะไรน้า...”
“อืม...หรือเธอจะเป็นไกอ่ ยา่ งพวกเรา กุก๊ ...กุ๊ก...กกุ๊ ”
“แต่เธอกไ็ ม่เหมอื นไก่ซะทีเดยี วหรอก”
“ต๊าย...นี่ถ้าเธออายุครบสี่ปแี ลว้ ขนยงั ไม่เป็นสีแดง ปกี ยังไม่ขยาย
ยงั บินไม่ได้ ฉนั ว่าเธอเตรยี มเก็บเสอื้ ผ้าไดเ้ ลย”
“ถึงเวลาน้นั คงไมม่ ีใครเชื่อวา่ ผมเป็นครฑุ ไม่มีใครในหมบู่ า้ นยอมพดู
กบั ผม และไม่มีใครยอมรบั ผม”
“ไมม่ ใี ครยอมรบั เธอ เธอก็เดินทางไปทวั่ โลกกับพวกเราซิ”
(ศริ ิพรรณ, 2545, หน้า9-10)
2) บทสนทนาระหว่างครุฑน้อยกับครุฑเฒ่า ขณะที่ครุฑเฒ่าโยนครุฑ
น้อยลงไปในน้ำ หลังจากนั้นครุฑน้อยก็ได้รู้ว่าตนเองมีความสามารถพิเศษในการดำน้ำได้ ดังบท
สนทนาดังน้ี
“ตื่นไดแ้ ล้ว เจ้าครฑุ จอมด้อื ”
“ทา่ น...ท่านยอดพดู กบั ผม แสดงวา่ ท่านยอมสอนผมบนิ แล้วซ”ิ
“ทา่ นเป็นครฑุ ผ้วู เิ ศษหรอื เปล่าครับ...แล้วทา่ นจะสอนผมบนิ หรือเปล่า”
….หลังจากทค่ี รฑุ เฒ่าโยนครฑุ นอ้ ยลงน้ำ...
“ฉันกำลังจะจมน้ำตาย...ครุฑว่ายน้ำไม่ได้หรอก...ธรรมชาติของฉันถูก
สร้างขึ้นมาเพอ่ื บนิ เทา่ นั้น.
“ฉนั กำลงั ดำน้ำอยหู่ รือนี่ เป็นไปไมไ่ ด”้
“ข้าคิดไว้ไม่มีผิด รู้จมูกแบบนี้เหมาะจะดำน้ำได้ดีที่สุด...โดยเฉพาะปีก
เหมือนครีบปลาอย่างน้.ี ..เป็นไปตามท่คี าดหมายจรงิ ๆ ฮา๋ ...ฮา่ ”
(ศริ ิพรรณ, 2545, หนา้ 62)
1.4.4 ช่วยสร้างความสมจริง คือ บทสนทนาที่ตัวละครสนทนากัน จะต้องมี
ชีวิตชีวา ได้อารมณ์ ในวรรณกรรมเยาวชนเรื่อง ครุฑน้อย มีบทสนทนาที่ช่วยสร้างความสมจริง ดัง
ตวั อย่างต่อไปน้ี
1) บทสนทนาระหวา่ งครุฑเกเรทงั้ สาม ขณะกำลังฟื้นคืนสติจากการจมน้ำ
โดยมคี รุฑน้อยชว่ ยชวี ติ ไว้ ดงั บทสนทนาดงั นี้
“ครฑุ น้อย...”
“ข้าจำไม่ผิดครั้งสุดท้ายที่พวกเรากำลังร่วงหล่นลงสู่ท้องทะเล ข้ากลืน
นำ้ ทะเลเข้าไปอึกใหญ่ กอ่ นจะรู้สกึ ปวดไปทัง้ ตัวด้วยแรงรัดของ...ของนาค”
“ใช่แลว้ ขา้ จำไดแ้ ลว้ ว่า พวกเราถกู นาคทอ่ี ยู่ในมหานทสี ที ันดรจับก่อน
จะสิ้นสติไปเพราะสำลักน้ำ ข้าเห็นครุฑน้อยว่ายน้ำดำตามลงมาติดๆ... แสดงว่าที่เรารอดออกมาได้ก็
เพราะครุฑนอ้ ยมนั ดำนำ้ ลงไปช่วยชีวติ เราง้ันหรอื ...”
“เป็นไปไม่ได้ที่ครุฑอัศวินอย่างพวกเจะได้รับการช่วยเหลือจากครุฑที่
ทำลายศกั ด์ิศรขี องครุฑ ด้วยการว่ายนำ้ แบบปลาอยา่ งเจ้าครฑุ ดำตัวนี”้
(ศิรพิ รรณ, 2545, หนา้ 89)
2) บทสนทนาระหว่างครุฑเกเรทั้งสาม ขณะกำลังยั่วโมโหนาคที่อยู่
ใต้นทีสที ันดร โดยการขวา้ งก้อนหินลงนำ้ ลอ่ ให้นาคขน้ึ มาให้จบั ดังบทสนทนาตอ่ ไปน้ี
“ว่าแต่เราจะทำอย่างไรนาคจึงจะว่ายขึ้นมาให้เราจับ อย่าลืมซิว่า
ครฑุ น่ะเปน็ สัตวช์ นั้ สงู อยู่แตบ่ นท้องฟ้าเท่านั้น”
“ขนื ลงไปมีแตจ่ มลกู เดยี ว...เราตอ้ งลอ่ ให้นาคเป็นฝ่ายข้นึ มา”
“ได้การละ ถ้าเราขว้างก้อนหิวลงไปในนำ้ หรือหาทางทำใหน้ ้ำเกิดการ
เคลื่อนไหว นาคที่อยู่ใต้น้ำคิดว่าเป็นสัตว์อื่นลงมาเล่นน้ำรบกวน ก็จะขึ้นจากใต้น้ำมาตามเสียง
จากนั้นเราก็บินขึ้นไปใช้อุ้งเท้าจับนาคขึ้นมาลอยกลางอากาศนาคขาดน้ำไม่ได้ก็ต้องตายในที่สุด
หรือไมเ่ รากช็ ว่ ยกันใชจ้ งอยปากจิกตาจนกว่านาคจะยอมแพ้แต่โดยดี”
“ขา้ เหน็ ด้วย ตกลงตามนแ้ี ลว้ กนั จะไดเ้ ร่ิมบินไปเก็บหนิ กันเลย”
(ศริ ิพรรณ, 2545, หน้า79)
1.5 วเิ คราะห์ฉากและบรรยากาศ
ฉากและบรรยากาศ คือ เวลาสถานที่ รวมถึงบรรยากาศในนวนิยายเป็นตัวท่ี
กำหนดให้เหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นจากในนวนิยายผู้แต่ง อาจจะใช้กลวิธีที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง
สร้างขึ้นจากการใช้ถ้อยคำบรรยายหรือพรรณนา เพื่อให้ผู้อ่านวาดมโนภาพตามจินตนาการ แต่ทั้งน้ี
ผู้แต่งจะต้องกำหนดไว้ในใจว่าเรือ่ งที่กำลังแต่งเป็นเร่ืองในยุคสมัย ช่วงระยะเวลาใด เกิดขึ้นที่สถานที่
ใด ผแู้ ต่งนวนิยายที่มีความสามารถ หรอื มปี ระสบการณ์ทางการแต่งสูง จะวาดฉากในเรื่อง ด้วยความ
เชี่ยวชาญ แต่กระนั้นก็มักจะอาศัยความรู้หรือประสบการณ์ทางด้านประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ สังคม
วทิ ยา ฯลฯ เพอ่ื ช่วยใหฉ้ าก เวลา และสถานทใ่ี นเร่อื งมีความสมจริงน่าเช่ือถือ หรอื คลอ้ ยตามมากที่สุด
ซึ่งฉากเกิดจากการใช้ถ้อยคำพรรณนาหรือบรรยายเพื่อให้เห็นภาพแต่ บรรยากาศเป็นการใช้ถ้อยคำ
เพื่อสร้างอารมณ์ ความรู้สึก ฉากและบรรยากาศจึงสัมพันธ์กับอารมณ์ เวลา สถานที่ ตัวละครและ
ผอู้ ่าน
ฉากและบรรยากาศในวรรณกรรมเยาวชนเร่ือง ครฑุ น้อย ถอื ไดว้ ่ามีความกลมกลืม
กันเป็นอย่างมาก เพราะเกิดจากการจินตนาการของผู้เขียนเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากผู้แต่งได้ศึกษา
ประวัติศาสตร์เพื่อหาข้อมูลเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของนาคทำให้ฉากและบรรยากสศในเรื่องมี
ความสมั พนั ธก์ ัน ดงั ตวั อย่างในบทบรรยายและบทสนทาตอ่ ไปน้ี
...ครุฑทั้งสามมาถึงมหานทีสีทันดร เพียงสำรวดดูภายนอก หน้าตาของมหานที
สีทันดรหาได้มีเค้าของทะเลที่จะมีนาคอาศัยอยู่ได้เลย ด้วยลักษณะของน้ำทะเลเป็นสีครามใสงดงาม
มีขนาดใหญ่สดุ ลูกหูลกู ตา จนไมส่ ามารถมองเหน็ อีกฟากได้...
“แปลกจริง ข้าไม่เห็นวี่แววของสัตวน์ ้ำอื่นๆเลย ดูสิ ปกติน่าจะมีปลาเล็กปลาน้อย
แหวกว่ายอยบู่ ้าง แต่น่กี ลับไม่มเี ลย”
“ใช่ แม้แต่นกกาบนท้องฟ้าก็ยังหลบเลี่ยงไม่บินผ่าน ดูสิ ฝูงนกกระยางยอมบิน
อ้อมไปตง้ั ไกล
(ศิรพิ รรณ, 2545, หนา้ 78)
การบรรยายฉากและบรรยากาศดังกล่าวทำให้ผู้อ่านสัมผัสได้ว่าตัวละครอยู่ที่
แม่น้ำนทีสีทันดรซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของนาค ซึ่งผู้แต่งใช้ถ้อยบรรยายว่าสถานที่นี้มีลักษณะอย่างไร
ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง โดยผ่านการสนทนาของตัวละครว่าสถานที่เห็นนี้น่าจะเป็นที่อยู่อาศัย
ของนาค เพราะไม่กลา้ มีสัตว์ชนดิ ใดอาศัยอยเู่ ลย
1.6 วเิ คราะหท์ รรศนะของผูแ้ ต่ง
ทรรศนะของผู้แต่ง คือ ข้อคิดเห็นของผู้แต่งที่ต้องการเสนอต่อผู้อ่าน ส่วนใหญ่มัก
เสนอ ผ่านตัวละครในเรื่อง ในวรรณกรรมเยาชนเรื่อง ครุฑน้อย ผู้แต่งได้เสนอทรรศนะเกี่ยวกับ
ความคดิ ท่ีแตกต่าง ดังปรากฏในคำพูดของเปน็ หนุม่ ตอนหนึง่ ว่า
“เหตุใดเราจะปล่อยให้ตัวเองยอมรับในสิ่งที่เห็นและเป็นอยู่ การที่มันว่ายน้ำไม่ได้
ก็ไม่ได้หมายความว่ามันไม่เท่าเทียมหรือไม่ดีเท่าเป็นอื่น ตลอดชีวิตของการเป็นเป็ดที่ไม่แตะต้องน้ำ
ก็ไม่ได้ทำให้มันขาดหรือสูญเสียโอกาสดีๆ ไป ตรงกันข้าม โลกบนบกกลับทำให้มันได้พบกับแม่ไก่ที่
ชอบขนั ตอนกลางคืน และอีกาท่คี ดิ วา่ ตวั เองเป็นนกครี บี นู แถมยังตัวขาวเป็นกาเผือกเสยี อกี ”
(ศิริพรรณ, 2545, หน้า10-11)
จากบทสนทนาผู้แต่งต้องการสร้างอุดมการณ์รูปแบบใหม่ คือให้เยาชนกล้าคิดต่าง
หรือคดิ นอกกรอบ ไมไ่ ดส้ อนใหเ้ ยาชนเชื่อถือปฏิบัตติ ามผู้อ่นื เหน็ คุณคา่ ในตัวเอง
1.7 วิเคราะห์มุมมองการเล่าเรอ่ื ง
การเล่าเรื่อง คือ การที่ผู้อ่านจะได้รับรู้เรื่องราวจาการเล่าเรื่อง ซึ่งการเล่าเรื่องมีอยู่
หลายวธิ ี ขนึ้ อยูก่ ับผูป้ ระพนั ธจ์ ะเลือกผู้ใดเป็นผเู้ ล่าเรื่อง สำหรบั ผ้อู า่ นแลว้ จะพิจารณาว่ากลวิธีที่ผู้แต่ง
ใช้นัน้ เหมาะสมกับเนื้อเรื่องหรือไม่ สามารถเปิดเผยให้เหน็ สิง่ ทผี่ อู้ า่ นควรทราบไดเ้ พียงใด
วรรณกรรมเยาวชน เรือ่ ง ครฑุ นอ้ ย ใชก้ ลวิธกี ารเล่าเรอ่ื งแบบผ้ปู ระพนั ธ์อยู่นอกเรื่อง
เล่าถึงพฤติกรรม และความรู้สึกนึกคิดของตัวละคร ดังตัวอย่างเหตุการณ์ในตอนท่ีครุฑน้อยเฝ้ามอง
ครุฑเฒา่ ตกปลา
...สายตาของครฑุ นอ้ ยท่ีมองตาแก่ครุฑในวนั นีต้ ่างไปจากวนั แรกตลอดเจด็ วันที่ผ่านมา
ครุฑน้อยไม่เพียงเฝ้าติดตามตาแก่ครุฑมาที่ลำธารทุกวันระหว่างนั่งอ มันยังได้สังเกตุวิธีตกปลาของ
ครุฑผู้สูงวัยผู้นี้ไปด้วย ตอนแรกมันรู้สึกเช่นเดียวกับกินรีน้อย แต่แล้วการตกปลาแบบไม่ธรรมดาของ
ตาแก่ครฑุ ทำให้มนั ต้องจับจ้องมองอยา่ งไม่กระพรบิ ตา...
(ศิรพิ รรณ, 2545, หน้า57)
จากบทความข้างต้น ผู้แต่งแสดงให้เห็นถึงการประพันธ์ที่ผู้แตง่ มีการบอกเลา่ เรื่องราว
ต่างๆ ผ่านพฤติกรรม ความรู้สึกนึกคิดของ ของตัวละคร นั่นคือ การที่ครุฑน้อยกำลังนั่งมองครุฑเฒ่า
ตกปลาอยา่ งไม่ละสายตา
2. พิจารณาประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับจากการอ่าน
การประเมินคุณค่าของนวนิยายนั้นผู้อ่านจะต้องวิเคราะห์ว่าหลังจากอ่านนวนิยายจบ
แล้วผู้อ่านได้รับประโยชน์ด้านใดบ้างจากนวนิยายเล่มนั้น ๆ โดยมีแนวทางการพิจารณาประโยชน์ที่
ได้รบั จากการอา่ น หรือการประเมินคุณค่าของนวนิยายว่าผ้อู า่ นควรจะใครค่ รวญวา่ ได้รบั อะไรจากการ
อ่านอาจแยกเป็นประเด็นได้ ดังน้ี
2.1 ความเพลิดเพลินทางด้านอารมณ์ ความเพลิดเพลินทางด้านอารมณ์ หรือ
ประเทืองอารมณ์ เป็นการพจิ ารณาวา่ หลังจากอ่านนวนยิ ายเรื่องนนั้ จบลงแลว้ ไดร้ บั ความเพลิดเพลิน
ทางอารมณ์เช่นไร เช่น ได้รับความสนุกสนาน ได้ความพึงพอใจ ได้ความเร้ารึงใจจนต้องติดตามเรื่อง
ตลอด ได้รับความประทับใจ และยังคงติดค้างอยู่ในความรู้สึกมากน้อยเพียงไร ซึ่งเมื่อประเมินค่า
ความเพลนิ เพลินทางดา้ นอารมณ์ของวรรณกรรมเยาวชนเรือ่ งครุฑนอ้ ยแล้ว พบวา่ ใหค้ วามเพลิดเพลิน
ทางดา้ นอารมณ์ ดงั ต่อไปนี้
1.1 อารมณ์สะเทือนใจ เมื่ออ่านวรรณกรรมเยาวชนเรื่อง ครุฑน้อย แล้ว พบว่า
เป็นวรรณกรรมเยาวชนท่ีให้ความสะเทือนอารมณแ์ ก่ผู้อ่าน เนอ่ื งจากสะท้อนถึงความน้อยใจของครุฑ
น้อยที่ตนเองเกิดมาผิดแปลกจากครุฑตัวอื่นๆ ดังตัวอย่างตอนกนึ่งว่า ...ครุฑน้อยจ้องมองเพื่อนต่าง
เผ่าพันธุ์ของมันเต้นรำไปมาพร้อมกับบทเพลงที่เชื่อมั่นในสิ่งที่ตนเองเป็น หากแต่ภายในใจของมัน
ขณะนัน้ กลับไม่ไดส้ นกุ สนานไปดว้ ยเลยแมแ้ ต่น้อย ครุฑน้อยภาวนาใหว้ ันพรุ่งนี้หรือมะมะรืนนี้ขนของ
มันเป็นสแี ดง และปีกของมันขยายออกก่อนท่มี นั จะอายคุ รบสปี่ ี...
(ศริ ิพรรณ, 2545, หน้า12)
1.2 อารมณ์สนุกสนาน ตื่นเต้น เนื่องจากวรรณกรรมเยาวชนเร่ืองนี้ ครุฑน้อย ต้อง
ออกตามหาครุฑเฒ่าวิเศษ จึงทำใหว้ รรณกรรมเยาวชนเรื่องนี้แฝงด้วยความสนุก ตืน่ เต้น เพราะผู้อ่าน
รว่ มลนุ้ ว่า ครฑุ น้อยจะเจอครุฑเฒา่ วเิ ศษเมื่อใด จะบนิ ได้หรอื ไม่ ในตอนสุดทา้ ยจะจบลงอยา่ งไร
2.2 ความประเทืองปัญญา เป็นการพิจารณาเมื่ออ่านวรรณกรรมเยาวชน เรื่อง
ครุฑน้อย จบลงว่าผู้อ่านนั้นได้รับความงอกงามทางสติปัญญา เช่น ได้แง่คิด ได้มุมมองใหม่ ๆ ในการ
มองโลก ได้รับรู้ประสบการณ์ของคนอีกกลุ่มที่เราไม่เคยสัมผัส และสามารถยกระดับความคิด จิตใจ
ของผู้อ่านรวมถึงให้ทรรศนะต่อสงั คมต่อโลกอยา่ งถูกต้องหรือไม่ แมว้ า่ นวนยิ ายจะเปน็ เร่ืองสมมตุ ิไม่ใช่
เรื่องจริง แต่ก็แฝงความจริงบางส่วนและทรรศนะของผู้แต่งไว้ ซึ่งเมื่อนำมาคิดและพิจารณาแล้วจะ
เป็นการเพิ่มพูนปัญญาแก่ผู้อ่านและทำให้การอ่านนวนิยายนั้นทรงคุณค่ายิ่งขึ้นวรรณกรรมเยาวชน
เร่ือง ครุฑนอ้ ย น้ไี ดใ้ หค้ ณุ ค่าประเทอื งปัญญาแก่ผ้อู ่านในหลากหลายดา้ น เชน่
วรรณกรรมเยาวชนเรื่อง ครุฑน้อย นี้ได้ให้คุณค่าประเทืองปัญญาแก่ผู้อ่านใน
หลากหลายด้าน เช่น
2.1 ด้านความรู้เกี่ยวกับคา่ นิยมของสังคม ดังตอนหนึ่งในบทบรรยายถงึ ความคดิ
ที่แตกต่างออกไปจากสังคมของครุฑน้อย ว่า ...ครุฑน้อยออกเดินทางโดยใช้จมูกที่หุบได้ของมันเป็น
เครอื่ งนำทาง จมูกทท่ี ำให้ผทู้ ่ีบินไม่ได้สามารถชว่ ยชวี ิตผู้ท่บี ิน จมูกท่ที ำให้มันเป็นผู้เลือกทางให้ตัวเอง
แม้ว่าจะแปลกแยกกับครุฑตัวอื่น แม้จะดูประหลาด และโลกก็ลืมเลือนวีรกรรมของมันไปในที่สุด
แต่มันก็ยังคงยืนยันที่จะใช้จมูกที่หุบได้ดำน้ำและสะบัดขนสีดำของมันอย่างภาคภูมิ วันนี้ครุฑน้อย
ไม่ต้องการคำตอบว่ามันเป็นอะไร นั่นพราะไม่สำคัญอีกแล้วว่า เวลานี้ใครๆในหมู่บ้านจะเรียกมันว่า
ครฑุ นอ้ ยอกี หรอื ไม่...
(ศิริพรรณ, 2545, หนา้ 100)
จากบทความข้างต้นทำให้ผู้อ่านวรรณกรรมเยาวชนเรื่องนี้ไดเ้ ห็นถึงความคิด
ท่ีแตกตา่ งของตวั ละคร และพอใจกับความคิดและหนทางที่ตนเองเลือก
2.2 ด้านเกร็ดความรู้ต่างๆ ในเรื่อง กล่าวคือ จากการอ่านวรรณกรรมเยาวชน
เรื่อง ครุฑน้อย จะได้รับความรูด้ ้านของวรรณกรรมในเรื่องของการเป็นศัตรูกันระหว่างครุฑ กับ นาค
และทา่ ไม้ตายของการเอาชนะนาคน่ันก็คือ ทา่ ครฑุ ยุดนาค
การวิเคราะห์วรรณกรรมเยาวชนหัวข้อต่าง ๆ ที่กล่าวมาแล้วนั้น ทำให้ผู้อ่านทราบว่า
วรรณกรรมเยาวชน เร่ือง ครฑุ นอ้ ย ของ ศิรพิ รรณ เตชจนิ ดาวงศ์ นี้ ผู้แตง่ ใชค้ วามประณีตในการเขียน
วรรณกรรมเรื่องนี้ขึ้นในส่วนต่าง ๆ ตั้งแต่เนื้อเรื่อง การใช้กลวิธีการประพันธ์ต่าง ๆ ตลอดจนแฝง
ข้อคิดและความสนุก ตื่นเต้นไว้ในเรื่องเพื่อให้ ผู้อ่านได้ประโยชน์สูงสุดทั้งด้านอารมณ์และคุณค่าทาง
สังคม จงึ ถอื วา่ วรรณกรรมเยาวชนเรื่อง ครฑุ น้อย น้ีควรค่าแกก่ ารอ่านเพื่อความบันเทงิ และเพื่อศึกษา
หาความรูเ้ ป็นอยา่ งยิ่ง