The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนหน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ กำเนิดผิดพ้นคนทั้งหลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Seejulaluck Bupasiri, 2022-06-23 23:19:38

แผนหน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ กำเนิดผิดพ้นคนทั้งหลาย

แผนหน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ กำเนิดผิดพ้นคนทั้งหลาย

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๗ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ภาคเรยี นที่ ๑
รายวิชาภาษาไทย เวลา ๖ ชั่วโมง
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๒ เรอ่ื ง กาเนิดผิดพ้นคนทง้ั หลาย (วรรณคดีลานา) เวลา ๒ ชั่วโมง
เรอ่ื ง อ่านจับใจความ เร่ือง กาเนดิ ผดิ พ้นคนท้งั หลาย

สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
การอ่านจับใจความ เป็นการอ่านเพ่ือหาส่วนสาคัญของเร่ือง ซ่ึงเรียกว่าใจความหรือใจความสาคัญ ซึ่ง

อาจจะปรากฏอยู่ตามย่อหน้าต่าง ๆ ของเร่ืองท่ีอ่าน อาจอยู่ส่วนต้น ส่วนกลาง ส่วนท้ายของย่อหน้าก็ได้ ซ่ึงอ่าน
แล้วสามารถต้งั คาถาม ใคร ทาอะไร ที่ไหน อย่างไร ทาไม และสรปุ ใจความสาคญั ของเร่ืองได้

มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด
สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐานการเรยี นรู้ ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่าง
เห็นคณุ คา่ และนามาประยุกต์ใช้ในชีวติ จรงิ
ตัวชว้ี ดั ท ๕.๑ ป.๕/๑ สรปุ เรือ่ งจากวรรณคดหี รอื วรรณกรรมที่อา่ น
ท ๕.๑ ป.๕/๒ ระบคุ วามรแู้ ละข้อคิดจากการอา่ นวรรณคดีและวรรณกรรมทส่ี ามารถ
นาไปใชใ้ นชีวติ จรงิ
ท ๕.๑ ป.๕/๓ อธิบายคณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ความรู้ (K)
๑. บอกความหมายของวรรณคดีได้
ทกั ษะ/กระบวนการ (P)
๒. สรปุ ใจความจากเร่ืองท่ีอา่ นได้
๓. บอกข้อคดิ จากเร่ืองท่ีอ่านได้
เจตคติ (A)
๔. นาขอ้ คดิ จากเร่ืองที่อ่านนาไปใช้ในชีวิตจรงิ ได้

สาระการเรยี นรู้
- อา่ นจบั ใจความ เร่ือง กาเนดิ ผิดพน้ คนทงั้ หลาย
- วรรณคดี เร่ือง สงั ข์ทอง ตอน กาเนดิ พระสังข์

สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน
๑. ความสามารถในการส่ือสาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
- กระบวนการทางานกลมุ่

คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
๑. มวี ินยั
๒. ใฝเ่ รยี นรู้
๓. มงุ่ มัน่ การทางาน

ชนิ้ งาน/ภาระงาน
๑. แบบทดสอบกอ่ นเรียน เรื่อง กาเนิดผิดพ้นคนทง้ั หลาย
๒. ใบงาน เร่อื ง กาเนดิ ผิดพน้ คนทัง้ หลาย

กิจกรรมการเรยี นรู้
ชวั่ โมงที่ ๑
ข้ันนา
๑. ครูกล่าวทักทายนักเรียน และแจ้งให้นักเรียนทราบการเรียนการสอนในวันนี้ เรื่อง กาเนิดผิดพ้นคน

ทั้งหลาย ใช้หนังสอื รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพอื่ ชวี ิต วรรณคดีลานา ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๕
๒. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เร่อื ง กาเนิดผิดพ้นคนท้ังหลาย จานวน ๑๐ ข้อ โดยกากบาทเลือก

คาตอบที่ถูกต้อง กาหนดเวลา ๑๐ นาที เม่ือครบเวลาที่กาหนด ครูให้นักเรียนสลับแบบทดสอบก่อนเรียน แล้ว
ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียนตามทคี่ รเู ฉลย พร้อมบนั ทกึ คะแนนท่ไี ด้ นาส่งครเู พ่ือประเมินผล

ข้ันสอน
๓. ให้นกั เรยี นจับคูก่ ัน
๔. ครูให้แต่ละกลุ่มเปิดหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีลานา ช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ ๕ เรื่อง กาเนิดผิดพ้นคนท้ังหลาย ใช้วิธีการอ่านสารวจโดยกวาดสายตาเฉพาะตอนที่สาคัญ
(ยงั ไม่ตอ้ งอา่ นบทร้อยกรอง วรรณคดี เรื่อง สงั ขท์ อง ตอน กาเนดิ พระสงั ข์) เป็นการอา่ นเรว็ กาหนดเวลา ๕ นาที
๕. เมื่อครบเวลาท่ีกาหนดครแู ละนกั เรยี นสนทนาร่วมกัน ดังนี้

- ตวั ละครหลกั คือใคร
- ชาลีกาลงั ทาอะไร
- ชาลีเจอใคร แลว้ บุคคลนนั้ มลี กั ษณะอย่างไร

- ชาลกี ับแกละเจอกนั ไดอ้ ยา่ งไร
- บทรอ้ ยกรองในเรือ่ ง กาเนดิ ผิดพน้ คนทั้งหลาย มาจากวรรณคดีเรอ่ื งใด
๖. ครูอธิบายเพ่ิมเติม เรื่อง กาเนิดผิดพ้นคนทั้งหลาย ตอนที่เป็นบทร้อยกรองนามาจากวรรณคดี กลอน
บทละคร เรื่อง สังข์ทอง ตอน กาเนิดพระสังข์ เป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
รชั กาลที่ ๒
๗. ครใู หน้ ักเรยี นอา่ นออกเสยี งพรอ้ มกัน หน้าท่ี ๓ เฉพาะบทร้อยแกว้ แล้วสนทนาร่วมกนั
- เหตุการณเ์ รอ่ื งราวเกิดท่เี มอื งใด
- พระโอรสของทา้ วยศวมิ ลและนางจนั ท์เทวี มีลักษณะเปน็ อยา่ งไร
- ใครเป็นผยู้ ยุ งใหโ้ หรทานายวา่ พระโอรสทที่ าใหบ้ ้านเมอื งวิบตั ิ
- ผลสุดทา้ ยทา้ วยศวิมลทาอย่างไรกับนางจนั ทเ์ ทวแี ละพระโอรส
๘. ครแู จกใบสรุป ใจความสาคญั เพื่อให้นกั เรียนไดฝ้ กึ การเขยี นสรุปสน้ั ๆ ตามท่ีนกั เรยี นเข้าใจ
๙. ครใู หน้ ักเรียนอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยกรอง วรรณคดี สังขท์ อง ตอน กาเนิดพระสงั ข์ หน้าท่ี ๓ – ๖ โดย
อา่ นออกเสยี งแบบปกติ หลังจากน้นั ให้นกั เรยี นเขยี นสรปุ ความ กาหนดเวลา ๑๐ นาที โดยครูแนะนาให้นกั เรียนได้
ฝึกการเขียนสรุปสั้นๆ แต่ละบทตามท่ีนักเรียนเข้าใจ เช่น บทแรก เริ่มต้น “ว่าพลางยกเอาลูกน้อย… แล้วจบที่
กานัลจันทากพ็ าไป” นกั เรียนอาจเขยี นสรุปสนั้ ๆ วา่ นางจันท์เทวีอมุ้ พระโอรส แล้วลา่ ลาพระสามดี ว้ ยความเสยี ใจ
เพอ่ื ออกจากเมืองยศวิมล
๑๐. เมอ่ื ครบเวลาท่ีกาหนด ครูและนักเรยี นสนทนาร่วมกัน

- นางจนั ท์เทวีเจอใครในปา่
- สรุปว่าตากบั ยายได้ช่วยเหลือนางจนั ท์เทวกี ับพระโอรสหรอื ไม่ ช่วยเหลอื อยา่ งไร
ข้ันสรุป
๑๑. ครแู จ้งใหน้ กั เรยี นทราบ ชวั่ โมงต่อไปจะรว่ มกันอา่ นจับใจความสาคญั ตอ่

ชวั่ โมงที่ ๒
ขน้ั นา
๑. ครูกล่าวทักทายนักเรียน และตั้งคาถามเน้ือความเดิมครั้งที่แล้วอ่านเพื่อจับใจความที่หน้าใด แล้ว

เหตุการณ์จบอยทู่ ่ีสถานการณใ์ ด
๒. จากการเรียนครั้งทีแ่ ล้วนางจนั ท์เทวีกบั พระโอรส (พระสงั ข์) ไดร้ ับความช่วยเหลือจากตายายให้อาศัย

อยู่ด้วยที่กระท่อมในป่า ครูเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหาการอ่านจับใจความต่อ เร่ิมต้นหน้าท่ี ๗ หนังสือเรียน รายวิชา
พื้นฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพ่ือชวี ิต วรรณคดลี านา ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๕

ขนั้ สอน
๓. นกั เรียนอา่ นออกเสียงพร้อมกนั หน้าที่ ๗ - ๙ หนังสือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อ
ชวี ติ วรรณคดลี านา ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕

๔. ครใู ห้นักเรียนเขียนสรุปความ กาหนดเวลา ๑๐ นาที หลงั จากนนั้ ครแู ละนกั เรยี นสนทนารว่ มกัน
- นางจันท์เทวแี ละพระสงั ข์อยู่กบั ตายายผ่านมากี่ปี
- แล้วจากเน้อื หานักเรยี นคดิ วา่ นางจนั ท์เทวเี ปน็ คนอย่างไร ขยันหรอื เกียจครา้ น
- แลว้ เหตุใดพระสังข์ถงึ ออกจากหอยสังข์

๕. นักเรียนอ่านออกเสียงพร้อมกัน หน้าท่ี ๑๐ - ๑๑ หนังสือเรยี น รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษา
เพ่อื ชีวิต วรรณคดลี านา ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕

๖. ครูให้นักเรียนเขียนสรุปความ กาหนดเวลา ๑๐ นาที หลังจากนนั้ ครูและนักเรียนสนทนาร่วมกัน นาง
จันท์เทวที าอยา่ งไรกับหอยสังข์ แลว้ ผลสดุ ทา้ ยเป็นอยา่ งไร

๗. ครใู ห้แต่ละกลุ่มเขยี นขอ้ คิดอะไรบ้างท่ีไดจ้ ากเรื่อง กาเนดิ ผิดพ้นคนท้ังหลาย
ข้ันสรปุ
๘. นกั เรียนทาใบงาน เร่ือง กาเนดิ ผดิ พน้ คนทั้งหลาย เป็นการบ้านนาส่งในชั่วโมงตอ่ ไป
๙. ครแู ละนักเรยี นสนทนาสรปุ วรรณคดีคืออะไร มลี กั ษณะเป็นอยา่ งไร แลว้ วรรณคดี เรื่อง สงั ข์ทอง ใคร
คอื ผแู้ ต่ง และนักเรยี นได้ข้อคิดอะไรบา้ งจากตอนกาเนดิ พระสงั ขท์ อง

สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้
๑. หนงั สอื เรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชวี ติ วรรณคดลี านา ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๕
๒. ใบงาน เร่อื ง กาเนดิ ผิดพ้นคนทงั้ หลาย
๓. ใบสรปุ ใจความสาคัญ

แหล่งการเรียนรู้
ห้องสมดุ โรงเรียนวัดจกั รสหี ์

การวดั และการประเมนิ ผล เครอ่ื งมือ เกณฑ์
วธิ ีการ แบบสงั เกตพฤติกรรม รอ้ ยละ ๖๐ ขนึ้ ไป
การมสี ่วนร่วมในชนั้ เรียน
สงั เกตพฤตกิ รรมการมีสว่ นรว่ ม แบบประเมนิ คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์
ในชน้ั เรียน ผา่ นเกณฑ์ระดับพอใช้
อันพึงประสงค์
สงั เกตพฤตกิ รรมความมวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ ขึ้นไป
และมุง่ ม่ันการทางาน

เกณฑ์การประเมนิ การสังเกตพฤตกิ รรมการมีส่วนรว่ มในชัน้ เรยี น

พฤตกิ รรมในชัน้ เรียน

ความสนใจ ความตรงต่อ รวม
ระดับ ุคณภาพ
ท่ี ชื่อ-สกลุ กลุม่ ความมีส่วน การแสดง การยอมรับฟัง การตอบคาถาม เวลาและความ
รว่ มและ ความคิดเหน็ ผอู้ ื่น เป็นระเบยี บ

ความสามคั คี ของช้ืนงาน

๑๒๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลงชอ่ื ..........................................................ผู้ประเมนิ
๓ หมายถึง (………………………………………………….)
๒ หมายถึง ............./............................./............
๑ หมายถึง
ดี (แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่าเสมอ)
พอใช้ (แสดงพฤติกรรมบ่อยครงั้ )
ปรับปรงุ (แสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง)

เกณฑก์ ารประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

คาชแ้ี จง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด  ลงในชอ่ งท่ี
ตรงกับระดับคะแนน

คณุ ลักษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
อนั พงึ ประสงคด์ ้าน ๔๓๒๑
ขอ้ (๓) มีวนิ ยั ๓.๑ มีความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกจิ กรรมต่าง ๆ
๓.๒ มคี วามรบั ผดิ ชอบ
ข้อ (๔) ใฝเ่ รียนรู้ ๔.๑ แสวงหาข้อมลู จากแหล่งการเรียนรตู้ ่าง ๆ
๔.๒ มีการจดบันทกึ ความร้อู ย่างเป็นระบบ
ขอ้ (๖) มุง่ ม่นั ในการ ๔.๓ สรปุ ความรไู้ ด้อยา่ งมเี หตผุ ล
ทางาน ๖.๑ มีความตัง้ ใจและพยายามในการทางานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
๖.๒ มคี วามอดทนและไม่ท้อแทต้ อ่ อปุ สรรคเพอ่ื ให้งานสาเร็จ

ลงชื่อ....................................................ผปู้ ระเมิน
................ /................ /................

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ
ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครั้ง ให้ ๔ คะแนน ๒๕ - ๓๐ ดีมาก
ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยคร้ัง ให้ ๒ คะแนน ๑๘ - ๒๔ ดี
ให้ ๑ คะแนน
๑๑ - ๑๗ พอใช้

ตา่ กว่า ๑๐ ปรบั ปรงุ

เกณฑ์การผา่ น ต้งั แต่ระดบั คุณภาพดีข้ึนไป
สรปุ  ผา่ น  ไมผ่ ่าน

บนั ทึกผลหลงั สอน
๑. ด้านความรูค้ วามเข้าใจ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………..………………………………………………………………..................

๒. ด้านสมรรถนะผู้เรยี น
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………..………………………………………………………………..................

๓. ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………...……………………………………………………………….................

๔. ดา้ นส่อื /นวตั กรรมและแหล่งการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….................

๕. ดา้ นการวดั และประเมินผล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………......………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….....………………………………………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะของผบู้ ริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
……………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
……………………………………………………….…………………………………………………….……………………………..…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………….………………………………………………….….…………………………………
……………………………………………….………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ..............................................................ครพู เ่ี ลี้ยง

(นางกาญจนา อินทรก์ ลับ)

ครูโรงเรยี นวัดพรหมสาคร

ทราบ อนุญาตใหใ้ ช้สอนได้ ควรแกไ้ ขแผนก่อนนาไปใช้สอน

ลงชือ่ .........................................................ผอู้ านวยการ
(นางสาวธิดาทพิ ย์ สดุ ดีพงษ์)

ผอู้ านวยการโรงเรียนวัดพรหมสาคร

















แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๘ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕
กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ภาคเรยี นท่ี ๑
รายวชิ าภาษาไทย เวลา ๖ ชว่ั โมง
หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒ เรือ่ ง กาเนดิ ผิดพน้ คนท้ังหลาย (วรรณคดีลานา) เวลา ๑ ชวั่ โมง
เร่ือง ความหมายคา บทเรยี นกาเนิดผดิ พน้ คนทั้งหลาย

สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
การค้นคว้าและศึกษาความหมายของคา กลุ่มคา สานวนที่ไม่เข้าใจในบทเรียน นับว่าเป็นส่วนสาคัญใน

การอา่ นจบั ใจความสาคญั หรอื ตีความไดด้ ี ซง่ึ จะเกิดประโยชนต์ อ่ ผเู้ รยี นและเกดิ การพัฒนาดา้ นการอ่าน

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วัด ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพอ่ื นาไปตดั สินใจ
สาระท่ี ๑ การอา่ น แกป้ ญั หาในการดาเนินชีวิตและมนี ิสยั รกั การอา่ น
มาตรฐานการเรยี นรู้ ท ๑.๑ อธิบายความหมายของคาประโยคและข้อความทีเ่ ปน็ การบรรยาย
และการพรรณนา
ตัวช้ีวัด ท ๑.๑ ป.๕/๒

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
ความรู้ (K)
๑. บอกความหมายของคาในบทเรียนได้ถกู ตอ้ ง
ทักษะ/กระบวนการ (P)
๒. อา่ นและเขียนคาในบทเรยี นไดถ้ กู ต้อง
เจตคติ (A)
๓. มีความกระตือรือร้นในการเรียน

สาระการเรียนรู้
บอกความหมายของคาในบทเรียน

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
- กระบวนการทางานกล่มุ

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
๑. มีวินัย
๒. ใฝเ่ รยี นรู้
๓. มุ่งม่ันการทางาน

ชิน้ งาน/ภาระงาน
- ใบงาน เร่ือง ความหมายคา บทเรียนกาเนดิ ผดิ พน้ คนท้ังหลาย

กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้ันนา
๑. ครกู ลา่ วทักทายนกั เรยี น และให้นกั เรยี นน่ังประจากลุ่มเดิม
๒. ครูตั้งคาถามทาไมจึงต้ังชื่อเร่ือง กาเนิดผิดพ้นคนทั้งหลาย เพื่อตรวจสอบและทบทวนความรู้เดิม

แลว้ เชอื่ มโยงเข้าสู่บทเรียน ให้นกั เรียนทากิจกรรม โดยใหค้ น้ หาคาท่นี กั เรียนไม่ทราบความหมายและคาราชาศัพท์
ข้ันสอน
๔. ครใู ห้นกั เรยี นจบั คู่กันทาใบงาน เรื่อง คา กาเนดิ ผดิ พ้นคนทงั้ หลาย
๕. ครูชี้แจงให้นักเรียนทราบ ให้นักเรียนค้นหาคา พร้อมความหมายเขียนลงในตารางซ้ายมือ และคา

ราชาศพั ท์เขียนลงตารางขวามือ กาหนดเวลา ๑๕ นาที
๖. เมื่อครบเวลาท่ีกาหนด ครูตรวจสอบความรู้ของนักเรียน ด้วยการให้นักเรียนอ่านออกเสียงและบอก

ความหมายคาท่ีแสดงบน สอื่ PowerPoint
๗. ครใู ห้แต่ละคู่ลือกบทร้อยกรองทม่ี ีเนอื้ หากล่าวถึงความรักระหว่างแมก่ บั ลูก แล้วนาเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น

เพ่ือบอกเหตุผลว่าทาไมถึงเลอื กบทกลอนน้ี
๘. ครกู ล่าวชมเชยในการรว่ มกจิ กรรม

ขั้นสรุป
๙. ครูให้นกั เรียนส่งใบงาน เรื่อง คา กาเนดิ ผิดพน้ คนทง้ั หลาย

๙. สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้
๑. หนังสือเรยี น รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพื่อชวี ิต วรรณคดลี านา ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕
๒. ใบงาน เรอื่ ง ความหมายคา บทเรยี นกาเนดิ ผิดพ้นคนทัง้ หลาย
๓. PowerPoint คา กาเนดิ ผดิ พน้ คนท้งั หลาย
๔. ไมไ้ อศกรีม

แหล่งการเรียนรู้
ห้องสมดุ โรงเรยี นวดั จกั รสีห์

การวดั และการประเมินผล เครื่องมือ เกณฑ์
วธิ กี าร แบบสงั เกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม รอ้ ยละ ๖๐ ข้นึ ไป

สงั เกตพฤติกรรมการมีสว่ นร่วม ในชั้นเรยี น ผา่ นเกณฑ์
ในช้ันเรยี น แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ ผา่ นเกณฑร์ ะดบั พอใช้

สังเกตพฤติกรรมความมวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ อันพงึ ประสงค์ ขนึ้ ไป
และมงุ่ มัน่ การทางาน

เกณฑ์การประเมนิ การสังเกตพฤตกิ รรมการมีส่วนรว่ มในชัน้ เรียน

พฤตกิ รรมในช้ันเรยี น

ความสนใจ ความตรงต่อ รวม
ระดับ ุคณภาพ
ท่ี ชื่อ-สกลุ กลุม่ ความมสี ่วน การแสดง การยอมรบั ฟงั การตอบคาถาม เวลาและความ
ร่วมและ ความคิดเห็น ผอู้ ื่น เป็นระเบยี บ

ความสามัคคี ของชืน้ งาน

๑๒๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงชอ่ื ..........................................................ผ้ปู ระเมิน
๓ หมายถงึ (………………………………………………….)
๒ หมายถงึ ............./............................./............
๑ หมายถึง
ดี (แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ)
พอใช้ (แสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ )
ปรบั ปรุง (แสดงพฤติกรรมบางคร้ัง)

เกณฑก์ ารประเมิน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

คาชแ้ี จง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด  ลงในชอ่ งท่ี
ตรงกับระดับคะแนน

คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน
อนั พงึ ประสงคด์ ้าน ๔๓๒๑
ขอ้ (๓) มีวนิ ยั ๓.๑ มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ ง ๆ
๓.๒ มคี วามรบั ผดิ ชอบ
ข้อ (๔) ใฝเ่ รียนรู้ ๔.๑ แสวงหาข้อมลู จากแหลง่ การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ
๔.๒ มีการจดบันทกึ ความรู้อย่างเปน็ ระบบ
ขอ้ (๖) มุง่ ม่นั ในการ ๔.๓ สรุปความรู้ได้อยา่ งมเี หตผุ ล
ทางาน ๖.๑ มคี วามต้ังใจและพยายามในการทางานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย
๖.๒ มคี วามอดทนและไมท่ ้อแท้ตอ่ อปุ สรรคเพ่อื ใหง้ านสาเรจ็

ลงชอ่ื ....................................................ผปู้ ระเมนิ
................ /................ /................

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ
ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครั้ง ให้ ๔ คะแนน ๒๕ - ๓๐ ดมี าก
ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยคร้งั ให้ ๒ คะแนน ๑๘ - ๒๔ ดี
ให้ ๑ คะแนน
๑๑ - ๑๗ พอใช้

ตา่ กว่า ๑๐ ปรบั ปรงุ

เกณฑ์การผา่ น ต้งั แต่ระดบั คุณภาพดขี น้ึ ไป
สรปุ  ผา่ น  ไมผ่ ่าน

บนั ทึกผลหลงั สอน
๑. ด้านความรคู้ วามเขา้ ใจ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………..………………………………………………………………..................

๒. ด้านสมรรถนะผเู้ รียน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………..………………………………………………………………..................

๓. ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………...……………………………………………………………….................

๔. ดา้ นสื่อ/นวัตกรรมและแหลง่ การเรยี นรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….................

๕. ดา้ นการวดั และประเมนิ ผล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………......………………………………………………………………

ปญั หา/อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….....………………………………………………………………
บันทึกขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหารหรอื ผทู้ ไี่ ด้รบั มอบหมาย
……………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
……………………………………………………….…………………………………………………….……………………………..…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………….………………………………………………….….…………………………………
……………………………………………….………………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ ..............................................................ครพู ่ีเลีย้ ง

(นางกาญจนา อินทรก์ ลับ)

ครูโรงเรียนวัดพรหมสาคร

ทราบ อนญุ าตให้ใชส้ อนได้ ควรแก้ไขแผนก่อนนาไปใชส้ อน

ลงชื่อ.........................................................ผูอ้ านวยการ
(นางสาวธิดาทิพย์ สุดดีพงษ์)

ผอู้ านวยการโรงเรยี นวัดพรหมสาคร







แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๙ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕
กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ภาคเรยี นที่ ๑
รายวิชาภาษาไทย เวลา ๖ ช่วั โมง
หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒ เรอ่ื ง กาเนดิ ผิดพ้นคนทัง้ หลาย (วรรณคดลี านา) เวลา ๒ ชว่ั โมง
เร่อื ง การอา่ นทานองเสนาะ สังขท์ อง ตอน กาเนิดพระสังข์

สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองต้องอ่านออกเสียงให้ชัดเจนและถูกต้องตามอักขรวิธี อ่านให้ถูกต้องตาม

ฉันทลักษณ์ของบทร้อยกรองแต่ละประเภท การอ่านทานองเสนาะต้องรู้จักทอดจังหวะ เอ้ือนเสียงหรือหลบเสียง
เสียงไม่เบาหรือดังเกินไป รูจ้ ักเน้นเสยี งแสดงอารมณใ์ หเ้ ป็นไปตามเนอื้ เร่อื ง

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคดิ เพื่อนาไปตัดสินใจ
สาระท่ี ๑ การอ่าน แก้ปญั หาในการดาเนินชีวติ และมนี ิสยั รักการอ่าน
มาตรฐานการเรยี นรู้ ท ๑.๑ อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถกู ต้อง

ตัวช้วี ดั ท ๑.๑ ป.๕/๑

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ความรู้ (K)
๑. บอกหลกั การอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรองได้
ทักษะ/กระบวนการ (P)
๒. อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรอง เร่ือง สงั ขท์ อง ตอน กาเนดิ พระสงั ข์ เปน็ ทานองเสนาะได้ถกู ตอ้ ง
เจตคติ (A)
๓. อธบิ ายคุณคา่ ของการอา่ นออกเสียงบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้

สาระการเรียนรู้
๑. การอา่ นออกเสยี งบทร้อยกรอง
๒. การอ่านออกเสียงกลอนบทละคร

สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น
๑. ความสามารถในการสอื่ สาร
๒. ความสามารถในการคิด

๓. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
๑. มวี นิ ยั
๒. ใฝ่เรยี นรู้
๓. มุ่งมัน่ การทางาน

ช้นิ งาน/ภาระงาน
การอ่านออกเสียงทานองเสนาะ เรอ่ื ง สงั ขท์ อง ตอน กาเนิดพระสงั ข์

กจิ กรรมการเรียนรู้
ช่วั โมงท่ี ๑
ขนั้ นา
๑. ครกู ล่าวทักทายนักเรียน และให้นักเรียนนง่ั ประจากลมุ่ เดมิ
๒. ครูใช้สื่อ PowerPoint แลว้ ให้นักเรยี นบอกว่าดา้ นซ้ายหรือดา้ นขวา เปน็ บทร้อยกรอง นักเรยี นทราบ

ได้อยา่ งไร
๓. ครูอา่ นออกเสยี งบทร้อยกรอง จานวน ๒ ครงั้ โดยครง้ั ท่ี ๑ อ่านออกเสียงแบบธรรมดาเหมอื นกับการ

อ่านบทรอ้ ยแก้ว แตก่ ารอ่านครั้งท่ี ๒ อา่ นออกเสยี งแบบทานองเสนาะ ครูและนกั เรียนสนทนาร่วมกัน การอา่ นท้ัง
สองครั้งมีอะไรที่เหมือนกัน และมีอะไรท่ีต่างกัน แล้วเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
สามารถอ่านไดท้ ้งั แบบปกตแิ ละ แบบทานองเสนาะตามคาประพันธ์ทีเ่ ป็นโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน

ขั้นสอน
๔. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรอง แล้วสนทนาร่วมกันหลักการอ่านออกเสียงบท
ร้อยกรอง โดยครูใชส้ ื่อ PowerPoint ประกอบการสอน
๕. ครูบรรยายโดยใช้สื่อ PowerPoint ในหัวข้อ กลอนบทละคร มีลักษณะบทกลอนเป็นอย่างไร แล้วมี
คาข้นึ ต้นบทละครอย่างไร หลังจากน้ันให้นักเรียนค้นหาจาก เรื่อง สงั ข์ทอง ตอนกาเนิดพระสงั ข์ จากหนังสือเรียน
รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพ่ือชีวิต วรรณคดีลานา ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕ มีบทละครใดท่ีข้ึนต้นด้วย
“มาจะกลา่ วบทไป เม่ือนน้ั และบดั นั้น”
๖. ครูบรรยายโดยใช้สื่อ PowerPoint ในหัวข้อจังหวะวรรคตอนในการอ่าน แล้วให้นักเรียนทา
เคร่ืองหมายวรรคตอน / หน้าที่ ๓ หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพ่ือชีวิต วรรณคดีลานาชั้น
ประถมศึกษาปีที่ ๕
๗. ครูเฉลย แลว้ สาธติ การอ่านออกเสียงทานองเสนาะใหน้ ักเรียนฟัง หลังจากน้ันให้อ่านออกเสียงทานอง
เสนาะพร้อมกัน โดยครูแนะนาแก้ไขให้ถูกต้องในเร่อื งการเวน้ วรรค การทอดเสียง จังหวะในการอ่าน และการออก
เสยี งคาทีถ่ กู ต้องและชัดเจน

๘. ครูให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงทานองเสนาะ หน้าท่ี ๘ โดยในชั่วโมงต่อไปจะให้นักเรียนอ่านออก
เสยี งหนา้ ชน้ั เรยี นทุกคน

ข้นั สรุป
๙. ครแู ละนักเรียนสนทนาร่วมกนั

- ทาไมถงึ ตอ้ งมีการอา่ นออกเสยี งบทร้อยกรองเปน็ ทานองเสนาะ
- การอ่านออกเสียงแบบปกติกับแบบทานองเสนาะใหค้ วามรสู้ ึกทตี่ ่างกนั หรอื ไม่

ชั่วโมงท่ี ๒
ขัน้ นา
๑. ครูกลา่ วทกั ทายนกั เรยี น และสอบถามการฝกึ อ่านออกเสียงทานองเสนาะเปน็ อย่างไร
๒. ครเู ปิดวดิ ีโอ สงั ข์ทอง ตอน กาเนิดพระสังข์ (ทานองเสนาะ) แล้วเชอ่ื มโยงเข้าสูบ่ ทเรยี น นักเรียนทกุ

คนจะไดอ้ า่ นออกเสียง สังข์ทอง ตอน กาเนิดพระสังข์ (ทานองเสนาะ)
ขั้นสอน
๓. ครูใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มอา่ นออกเสียงทานองเสนาะ หนา้ ที่ ๘ โดยเร่มิ จากกลุม่ ที่ ๑ ไปจนถงึ กลมุ่

สุดท้าย โดยครูแนะนาเพ่ือให้นักเรยี นอ่านออกเสยี งไดถ้ ูกต้อง
๔. ครใู หน้ กั เรยี นอ่านออกเสยี งหน้าช้ันเรยี น เรมิ่ จากเลขที่ ๑ โดยครปู ระเมนิ ผลการอา่ น
๕. ครูกลา่ วชมเชยนักเรียนทกุ คน
๖. ครูแจ้งให้นักเรียนเตรียมตัวแสดงบทบาทสมมติ เร่ือง สังข์ทอง ตอน กาเนิดพระสังข์ โดยให้นักเรียน

แบ่งกลุ่ม จานวน ๒ กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน ซ่ึงในช่ัวโมงต่อไปจะให้นักเรียนได้ซ้อมก่อนแสดงจริงหน้าชั้นเรียน
ทง้ั น้เี พอ่ื ความสมจรงิ นักเรยี นอาจเตรยี มอุปกรณ์ เสือ้ ผา้ โดยเป็นสิง่ ของทน่ี กั เรียนมีอยแู่ ลว้ ห้ามซอื้ เดด็ ขาด

ขั้นสรุป
๗. ครูและนักเรียนสนทนาร่วมกันคุณค่าการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะแล้วควรที่จะ
อนุรกั ษแ์ ละสบื ต่อหรือไม่

ส่อื และแหล่งการเรียนรู้
๑. หนังสอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพ่ือชวี ิต วรรณคดลี านา ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๕
๒. ใบความรู้ เรอ่ื ง การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรอง
๓. PowerPoint การอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยกรอง
๔. วีดโี อ เรือ่ ง สังขท์ อง ตอน กาเนดิ พระสังข์ (ทานองเสนาะ)
ทม่ี า https://www.youtube.com/watch?v=UaY4df9F4DI&t=35s

แหล่งการเรยี นรู้
- มูลนิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ์
ท่มี า https://www.dltv.ac.th/teachplan/episode/2043

การวัดและการประเมินผล เครอื่ งมอื เกณฑ์
วิธีการ แบบประเมินการอ่านออกเสียง ร้อยละ ๖๐ ขนึ้ ไป

ประเมินการอา่ นทานองเสนาะ ทานองเสนาะ ผา่ นเกณฑ์
เรอื่ ง สงั ขท์ อง ตอนกาเนิดพระสังข์ แบบสงั เกตพฤติกรรมการมีสว่ นร่วม ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป
สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม
ในช้นั เรียน ผ่านเกณฑ์
ในช้นั เรยี น แบบประเมนิ คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ระดบั พอใช้
สงั เกตพฤติกรรมความมวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้
อนั พึงประสงค์ ขน้ึ ไป
และม่งุ มนั่ การทางาน

แบบประเมินการท่องจาบทอาขยาน
คาชแ้ี จง : ครปู ระเมินการท่องบทอาขยานของนักเรยี นแล้วใหค้ ะแนน

ลาดับที่ ช่อื -สกุล ระดบั คณุ ภาพ

ระดับคะแนน ๒ ขึ้นไปผา่ นเกณฑ์

ลงชือ่ ................................................ผู้ประเมนิ
( ...............................................)

เกณฑ์การใหค้ ะแนนการการอา่ นออกเสียงบทอาขยานเป็นทานองเสนาะ

คะแนน ความหมายของคะแนน
๕ ๑. อา่ นออกเสียงชัดเจนและถูกตอ้ งตามอักขรวธิ ี
๒. อา่ นออกเสยี งเป็นทานองเสนาะ ตามทานองของกาพย์ยานี ๑๑ ได้ถกู ต้อง
๔ ๓. อ่านเว้นจังหวะให้ถกู ต้องตามลกั ษณะของการอ่านกาพย์ยานี ๑๑
๓ ๔. อา่ นมีน้ าเสียงเอื้อนเพ่ือทอดจังหวะตามลกั ษณะของการอ่านท านองเสนาะ
๒ ๕. อา่ นเนน้ เสยี งแสดงอารมณ์ได้ตามอารมณข์ องเน้ือเรอื่ งท่ีอา่ น
มี ๔ รายการจากคุณภาพระดับ ๕ คะแนน
๑ หรือมี ๕ รายการจากคณุ ภาพระดับ ๕ คะแนนแต่คุณภาพต้องปรับปรงุ บางรายการ
มี ๓ รายการจากคุณภาพระดับ ๕ คะแนน
หรือมี ๔ รายการจากคุณภาพระดับ ๕ คะแนนแต่คุณภาพต้องปรบั ปรุงบางรายการ
หรอื มี ๕ รายการจากคุณภาพระดับ ๕ คะแนน แตค่ ุณภาพใน ๑ - ๒ รายการต้องปรบั ปรงุ อย่างมาก
มี ๒ รายการจากคุณภาพระดับ ๕ คะแนน
หรอื มี ๓ รายการจากคณุ ภาพระดบั ๕ คะแนนแต่คุณภาพต้องปรับปรุงบา้ ง
หรอื มี ๔ รายการจากคณุ ภาพระดบั ๕ คะแนน แตค่ ุณภาพใน ๑ – ๒ รายการต้องปรบั ปรงุ อย่างมาก
หรือมี ๕ รายการจากคุณภาพระดับ ๕ คะแนน แตค่ ุณภาพใน ๑ – ๓ รายการตอ้ งปรับปรงุ อย่างมาก
มี ๑ รายการจากคุณภาพระดับ ๕ คะแนน
หรอื มี ๒ รายการจากคณุ ภาพระดบั ๕ คะแนนแตค่ ุณภาพต้องปรับปรงุ บา้ ง
หรือมี ๓ รายการจากคุณภาพระดบั ๕ คะแนนแต่คุณภาพใน ๑ – ๓ รายการต้องปรับปรุงมาก
หรือมี ๔ รายการจากคณุ ภาพระดบั ๕ คะแนนแตค่ ุณภาพใน ๑ – ๔ รายการต้องปรบั ปรุงมาก
หรือมี ๕ รายการจากระดบั คุณภาพ ๕ คะแนน แตท่ ุกรายการต้องปรบั ปรุงอย่างมาก

เกณฑก์ ารประเมนิ การสงั เกตพฤตกิ รรมการมีสว่ นร่วมในชนั้ เรยี น

พฤติกรรมในชนั้ เรยี น

ความสนใจ ความตรงต่อ รวม
ระดับ ุคณภาพ
ท่ี ชือ่ -สกลุ กลุ่ม ความมสี ว่ น การแสดง การยอมรับฟงั การตอบคาถาม เวลาและความ
ร่วมและ ความคดิ เหน็ ผูอ้ ่นื เป็นระเบยี บ

ความสามัคคี ของชืน้ งาน

๑๒๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชอื่ ..........................................................ผู้ประเมิน
๓ หมายถงึ (………………………………………………….)
๒ หมายถึง ............./............................./............
๑ หมายถงึ
ดี (แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ)
พอใช้ (แสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้งั )
ปรับปรงุ (แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั )

เกณฑก์ ารประเมิน คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

คาชแ้ี จง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี  ลงในชอ่ งท่ี
ตรงกับระดับคะแนน

คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน
อนั พงึ ประสงคด์ ้าน ๔๓๒๑
ขอ้ (๓) มีวนิ ยั ๓.๑ มีความตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ ง ๆ
๓.๒ มคี วามรบั ผิดชอบ
ข้อ (๔) ใฝเ่ รียนรู้ ๔.๑ แสวงหาขอ้ มลู จากแหล่งการเรียนรตู้ ่าง ๆ
๔.๒ มีการจดบนั ทึกความร้อู ย่างเป็นระบบ
ขอ้ (๖) มุง่ ม่นั ในการ ๔.๓ สรุปความรูไ้ ด้อยา่ งมเี หตผุ ล
ทางาน ๖.๑ มีความต้งั ใจและพยายามในการทางานที่ไดร้ บั มอบหมาย
๖.๒ มคี วามอดทนและไมท่ อ้ แท้ตอ่ อปุ สรรคเพ่อื ใหง้ านสาเร็จ

ลงช่อื ....................................................ผู้ประเมนิ
................ /................ /................

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ
ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้ัง ให้ ๔ คะแนน ๒๕ - ๓๐ ดมี าก
ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมน้อยครงั้ ให้ ๒ คะแนน ๑๘ - ๒๔ ดี
ให้ ๑ คะแนน
๑๑ - ๑๗ พอใช้

ตา่ กวา่ ๑๐ ปรบั ปรงุ

เกณฑ์การผา่ น ต้งั แต่ระดบั คุณภาพดขี ึน้ ไป
สรปุ  ผา่ น  ไม่ผา่ น

บนั ทึกผลหลงั สอน
๑. ด้านความรคู้ วามเขา้ ใจ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………..………………………………………………………………..................

๒. ด้านสมรรถนะผเู้ รียน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………..………………………………………………………………..................

๓. ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………...……………………………………………………………….................

๔. ดา้ นสื่อ/นวตั กรรมและแหลง่ การเรยี นรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….................

๕. ดา้ นการวดั และประเมนิ ผล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………......………………………………………………………………

ปญั หา/อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….....………………………………………………………………

บันทกึ ขอ้ เสนอแนะของผ้บู ริหารหรือผู้ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย
……………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
……………………………………………………….…………………………………………………….……………………………..…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………….………………………………………………….….…………………………………
……………………………………………….………………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ ..............................................................ครพู ่ีเลีย้ ง

(นางกาญจนา อินทรก์ ลับ)

ครูโรงเรียนวัดพรหมสาคร

ทราบ อนญุ าตให้ใชส้ อนได้ ควรแกไ้ ขแผนก่อนนาไปใชส้ อน

ลงช่อื .........................................................ผูอ้ านวยการ
(นางสาวธิดาทิพย์ สุดดีพงษ์)

ผู้อานวยการโรงเรยี นวัดพรหมสาคร











แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ ๑๐ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ภาคเรยี นท่ี ๑
รายวชิ าภาษาไทย เวลา ๖ ช่วั โมง
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรอ่ื ง กาเนิดผิดพน้ คนท้ังหลาย (วรรณคดลี านา) เวลา ๑ ช่วั โมง
เร่ือง การแสดงบทบาทสมมติ เรื่อง สงั ขท์ อง ตอนกาเนดิ พระสงั ข์

สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
การแสดงบทบาทสมมติแบบละคร เป็นการแสดงบทบาทตามเร่อื งราวที่มอี ยู่แล้ว ผู้แสดงจะได้ทราบ

เร่อื งราวทั้งหมด แต่จะไม่ไดร้ ับบทท่ีกาหนดใหแ้ สดงตามอย่างละเอยี ด ผู้แสดงจะต้องแสดงออกตามความคิดของ
ตน และดาเนนิ เรื่องไปตามท้องเรอื่ งท่กี าหนดไวแ้ ล้วซึง่ มลี ักษณะเหมือนละคร

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ดั
สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐานการเรียนรู้ ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ ง
เหน็ คุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวช้ีวดั ท ๕.๑ ป.๕/๑ สรุปเร่ืองจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อา่ น

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ความรู้ (K)
๑. เขา้ ใจเนือ้ เร่ืองสังข์ทอง ตอน กาเนดิ พระสงั ข์
ทกั ษะ/กระบวนการ (P)
๒. แสดงบทบาทสมมติโดยถา่ ยทอดจากเร่ืองทอี่ ่านได้
เจตคติ (A)
๓. เหน็ คุณค่าวรรณคดี

สาระการเรยี นรู
วรรณคดี เรอื่ ง สงั ข์ทอง ตอน กาเนดิ พระสงั ข์

สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน
๑. ความสามารถในการส่ือสาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
๑. มวี ินยั
๒. ใฝ่เรยี นรู้
๓. มุ่งม่นั การทางาน

ชิน้ งาน/ภาระงาน
๑. การแสดงบทบาทสมมติตาม เร่อื ง สงั ข์ทอง ตอน กาเนิดพระสงั ข์
๒. แบบทดสอบหลังเรียน เร่ือง กาเนดิ ผดิ พน้ คนท้ังหลาย

กจิ กรรมการเรียนรู้
ขน้ั นา
๑. ครูกลา่ วทักทายนกั เรียน และสอบถามการเตรียมตวั แสดงละครเป็นอย่างไรบ้าง
๒. ครเู ปิดวดิ โี อ เรอื่ ง กาเนดิ สงั ขท์ อง เพื่อทบทวนเนื้อหาใจความสาคญั
ขั้นสอน
๓. ครใู หน้ ักเรียนทั้งสองกลุ่มได้ซอ้ มเพื่อแสดงจริงหน้าช้นั เรยี น กาหนดเวลาการซ้อม ๑๕ นาทเี ม่ือครบ

เวลาท่ีกาหนด แต่ละกลุ่มแสดงหน้าชน้ั เรยี น โดยครูประเมินผลการแสดง
๔. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น เรอ่ื ง กาเนดิ ผดิ พน้ คนทั้งหลาย จานวน ๑๐ ข้อ โดยกากบาทเลอื ก

คาตอบทถ่ี ูกตอ้ ง กาหนดเวลา ๑๐ นาที เมอ่ื ครบเวลาท่ีกาหนดส่งครูเพื่อประเมินผล
ขน้ั สรปุ
๕. ครูกล่าวชมชมนักเรียน แล้วสนทนาร่วมกัน โดยครูขอความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีต่อการแสดง

บทบาทสมมติหรอื การแสดงละคร เพอื่ นาไปปรบั ปรุงการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนต่อไป โดยมีคาถามดงั น้ี
- นักเรียนคดิ วา่ การแสดงบทบาทสมมติหรือแสดงละครทาใหน้ ักเรียนจาเน้ือหาได้ดขี ึ้นหรอื ไม่
- นกั เรยี นชอบการแสดงบทบาทสมมตหิ รอื ไม่

ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้
๑. หนงั สอื เรยี น รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพ่ือชวี ิต วรรณคดลี านา ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕
๒. แบบทดสอบหลังเรียน เร่ือง กาเนิดผิดพ้นคนทั้งหลาย
๓. วดี ีโอ เรื่อง นิทาน เรื่อง กาเนดิ สังขท์ อง
ทม่ี า https://www.youtube.com/watch?v=qkafG3_vss

แหล่งการเรียนรู้
หอ้ งสมดุ โรงเรยี นวดั จกั รสีห์

การวดั และการประเมินผล

วิธีการ เคร่อื งมอื เกณฑ์
ประเมินการแสดงบทบาทสมมติ แบบประเมินบทบาทสมมติ ร้อยละ ๖๐ ขึน้ ไป

ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น แบบทดสอบหลงั เรียน ผ่านเกณฑ์
เร่อื ง กาเนิดผิดพน้ คนทั้งหลาย เรือ่ ง กาเนิดผิดพ้นคนทง้ั หลาย แบบทดสอบหลงั เรียนสงู
สังเกตพฤติกรรมการมีสว่ นรว่ ม แบบสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนรว่ ม
กว่าก่อนเรยี น
ในชัน้ เรียน ในชัน้ เรียน ร้อยละ ๖๐ ข้นึ ไป
สงั เกตพฤตกิ รรมความมวี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ แบบประเมินคณุ ลักษณะ
ผ่านเกณฑ์
และมุง่ มั่นการทางาน อันพงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑร์ ะดบั พอใช้

ขน้ึ ไป

แบบประเมนิ บาททสมมติ

คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการแสดงลบทบาทสมมติ และให้คะแนนลงในช่องท่ีตรงกับ
พฤตกิ รรมของนักเรยี น

เลขท่ี ชอื่ - สกลุ ๑. ความเหมาะสมของบทบาทการนาเสนอ สรุปผล
๒. ความถูกต้อง ้ขอ ูมล สาระ ความรู้ การประเมิน
๓. ส่วนประกอบ ื่อน ๆ และความ ิคดริเร่ิมสร้างสรรค์
รวม

๓ ๓ ๓ ๙ ผ่าน ไม่ผา่ น

เลขที่ ชือ่ - สกลุ ๑. ความเหมาะสมของบทบาทการนาเสนอ สรปุ ผล
๒. ความถูกต้อง ้ขอ ูมล สาระ ความรู้ การประเมิน
๓. ่สวนประกอบ ื่อน ๆ และความ ิคดริเร่ิมสร้างสรรค์
รวม

๓ ๓ ๓ ๙ ผา่ น ไมผ่ า่ น

เกณฑ์การประเมนิ รอ้ ยละ ๖๐ ขึ้นไป (๖ คะแนนขึ้นไป)
๗ – ๙ คะแนน ระดับ ดี
๔ – ๖ คะแนน ระดบั พอใช้
๐ – ๓ คะแนน ระดับ ปรบั ปรงุ

ลงช่อื ................................................ผปู้ ระเมนิ
( ...............................................)

รายละเอยี ดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบประเมนิ การแสดงบทบาทสมมติ

ประเดน็ การประเมิน ๓ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ๑

๑. ความเหมาะสมของ แสดงบทบาทเหมาะสม ๒ แสดงบทบาทเหมาะสม
เสียงเบา ลลี าประกอบ
บทบาทการนาเสนอ เสียงดังฟงั ชดั ลลี า แสดงบทบาทเหมาะสม ค่อนข้างนอ้ ย
เสียงดังปานกลาง ลลี า
ประกอบดมี าก ประกอบดี

๑. ความถกู ต้องขอ้ มูล เนอื้ หาสาระถกู ต้อง เนอ้ื หาสาระถกู ต้องเป็น เน้อื หาสาระถูกต้องเป็น
สาระ ความรู้ ครบถว้ น สว่ นมาก สว่ นนอ้ ย

๓ สว่ นประกอบอื่น ๆ มี ก า ร น า อุ ป ก ร ณ์ ม า มีการนาอปุ กรณม์ า มีการนาอปุ กรณม์ า
ประกอบการนาเสนอ
และความคิดริเร่ิม ประกอบการนาเสนอ ดี ประกอบการนาเสนอ ดี ค่อนข้างน้อย

สร้างสรรค์ มาก

แบบประเมนิ แบบทดสอบ ก่อนเรยี น-หลงั เรยี น

ช่อื -นามสกุล กอ่ นเรยี น คะแนน
หลงั เรยี น

*
หมายเหตุ คะแนนหลังเรยี นต้องสงู กว่าก่อนเรยี น จงึ จะผ่านเกณฑ์การประเมิน

เกณฑ์การประเมนิ การสงั เกตพฤตกิ รรมการมีส่วนรว่ มในช้นั เรยี น

พฤตกิ รรมในชน้ั เรียน

ความสนใจ ความตรงตอ่ รวม
ระดับ ุคณภาพ
ที่ ชอื่ -สกลุ กลุม่ ความมีสว่ น การแสดง การยอมรับฟัง การตอบคาถาม เวลาและความ
ร่วมและ ความคดิ เห็น ผอู้ น่ื เป็นระเบยี บ

ความสามคั คี ของชน้ื งาน

๑๒๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

เกณฑ์การให้คะแนน ลงช่อื ..........................................................ผู้ประเมนิ
๓ หมายถงึ (………………………………………………….)
๒ หมายถึง ............./............................./............
๑ หมายถงึ
ดี (แสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ)
พอใช้ (แสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั )
ปรับปรงุ (แสดงพฤติกรรมบางครง้ั )

เกณฑก์ ารประเมิน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

คาชแ้ี จง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด  ลงในชอ่ งที่
ตรงกับระดับคะแนน

คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน
อนั พงึ ประสงคด์ ้าน ๔๓๒๑
ขอ้ (๓) มีวนิ ยั ๓.๑ มีความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ
๓.๒ มคี วามรับผดิ ชอบ
ข้อ (๔) ใฝเ่ รียนรู้ ๔.๑ แสวงหาข้อมลู จากแหล่งการเรยี นรตู้ ่าง ๆ
๔.๒ มกี ารจดบนั ทึกความรู้อยา่ งเป็นระบบ
ขอ้ (๖) มุง่ ม่นั ในการ ๔.๓ สรุปความรู้ได้อยา่ งมีเหตผุ ล
ทางาน ๖.๑ มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทางานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
๖.๒ มคี วามอดทนและไมท่ อ้ แท้ตอ่ อปุ สรรคเพอ่ื ให้งานสาเรจ็

ลงช่อื ....................................................ผูป้ ระเมนิ
................ /................ /................

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ
ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้ัง ให้ ๔ คะแนน ๒๕ - ๓๐ ดมี าก
ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมน้อยครง้ั ให้ ๒ คะแนน ๑๘ - ๒๔ ดี
ให้ ๑ คะแนน
๑๑ - ๑๗ พอใช้

ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรงุ

เกณฑ์การผา่ น ต้งั แต่ระดบั คณุ ภาพดขี ึ้นไป
สรปุ  ผา่ น  ไมผ่ ่าน


Click to View FlipBook Version