The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คำถามทบทวน ให้นักศึกษาทำการออกแบบงานให้อยู่ในรูปแบบของ Infographic ในแต่ละข้อให้อธิบายให้ครบทุกองค์ประกอบ และสรุปออกมาให้ให้ชัดเจนเป็นขั้นตอนตามบริบทที่โจย์กำหนดและแสดงคำตอบออกมาในรูปแบบของ Infographic หัวล่ะข้อละไม่น้อยกว่า 25 แผ่น ของแต่ละหัวข้อและทำลงในโปรแกรมรูปแบบ Infographic จำนวนไม่น้อยกว่า25 แผ่น รวมถึงการอกแบบปกหน้า ปกหลังให้สวยงาม ตามตัวอย่างที่อยู่ในระบบ ที่ส่งให้ทางกลุ่มไลน์ ทำเสร็จแล้วทำไฟล์ให้เป็น ไฟล์ pdf ครับ แล้ว อัพขึ้นเว็บนี้ https://anyflip.com/

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Beam Sayhi, 2020-04-29 11:05:44

infographic

คำถามทบทวน ให้นักศึกษาทำการออกแบบงานให้อยู่ในรูปแบบของ Infographic ในแต่ละข้อให้อธิบายให้ครบทุกองค์ประกอบ และสรุปออกมาให้ให้ชัดเจนเป็นขั้นตอนตามบริบทที่โจย์กำหนดและแสดงคำตอบออกมาในรูปแบบของ Infographic หัวล่ะข้อละไม่น้อยกว่า 25 แผ่น ของแต่ละหัวข้อและทำลงในโปรแกรมรูปแบบ Infographic จำนวนไม่น้อยกว่า25 แผ่น รวมถึงการอกแบบปกหน้า ปกหลังให้สวยงาม ตามตัวอย่างที่อยู่ในระบบ ที่ส่งให้ทางกลุ่มไลน์ ทำเสร็จแล้วทำไฟล์ให้เป็น ไฟล์ pdf ครับ แล้ว อัพขึ้นเว็บนี้ https://anyflip.com/

INFOGRAPHIC

รายวิชา

ปรชั ญาการศึกษา

เร่อื ง

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษาและวฒั นธรรม

นาย ภานพุ งศ์ จนั ทะสาร
สาขาวิชาพละศึกษา
รหัสนกั ศึกษา
624189228

ผสู้ อน ผศ.ดร.ภมู ภิ คั วธั จ์ ภมู พงศค์ ชศร

ความรทู้ วั่ ไปเกี่ยวกบั ภาษาและวฒั นธรรม

ความสาคญั ของภาษา ภาษาเป็ นมรดกทาง
วฒั นนธรรมท่ีมนษุ ยส์ รา้ งข้ึน และใชเ้ ป็ นเคร่ืองมือใน
การส่อื สารความคิด ความ ตอ้ งการ และอารมณ์
ต่างๆ เพ่ือใหเ้ กิดความเขา้ ใจระหว่างกนั และมนษุ ย์
ยงั ใชภ้ าษาจดบนั ทึกเรอื่ งราว เหตกุ ารณ์ ความเชื่อ
ต่างๆ เพื่อใหค้ นรน่ ุ หลงั ไดร้ บั รเู้ รอื่ งราวต่างๆของ
บรรพบรุ ษุ ภาษาจึงชว่ ยใหม้ นษุ ย์ สามารถธารง
วฒั นธรรมไวไ้ ด้

การใชภ้ าษาในการสอื่ สาร

การใชภ้ าษาในการสื่อสารภาษาเป็ นสิ่งที่มนษุ ยค์ ิด
ข้ึนโดยมีขอ้ ตกลงยอมรบั กนั ในสงั คมนน้ั ๆแทนเสียงพดู
เ ป็ น ภ า ษ า ห นั ง สื อ ภ า ษ า ที่ ม น ุษ ย์ใ ช้ สื่ อ ส า ร ใ น
ชีวิตประจาวนั แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
1. วจั นภาษาคือภาษาท่ีใชถ้ อ้ ยคา ไดแ้ ก่ ภาษาพดู ภาษา
เขียน
2. อวจั นภาษาคือภาษาที่ไม่ใชถ้ อ้ ยคา ไดแ้ ก่ การแสดง
กิ ริ ย า ท่ า ท า ง สี ห น ้า แ ว ว ต า แ ล ะ น้ า เ สี ย ง ป ร ะ ก อ บ ก ับ
ถ้อยคาท่ีกาลงั พดู ท้ังภาษาพดู ภาษาเขียนและกิริยา
ท่าทางนนั้ มีความสาคญั มากในการส่ือสารโตต้ อบกนั ซึ่ง
การใช้ภาษาจาเป็ นต้องใช้ให้เหมาะกบั บคุ คลโอกาส
สถานการณ์เพราะจะช่วยสรา้ งความเข้าใจหรือสื่อ
ความหมายใหม้ ีประสิทธิผลมากย่ิงข้ึนตวั อย่างการพดู
ใหถ้ กู เขียนใหถ้ กู คือ
-ไมใ่ ช่พดู โรงเรยี นเป็ นโลงเลยี น
-ไมใ่ ช่พดู กลมุ้ ใจเป็ นกมุ้ ใจ
-ไมใ่ ช่เบียนกะเพราเป็ นกระเพรากนกะไพ

ลกั ษณะของภาษาไทย

ภาษาไทยเป็ นแคนสาคญั ท่ีแสดงเอกลกั ษณข์ องความเป็ น
ไทยเมื่อเริ่มมีการประดิษฐ์อักษรไทยสมยั พ่อขนุ รามคาแหง
ภาษาไทยจึงไดบ้ นั ทึกเรอื่ งราวทางประวตั ิศาสตรแ์ ละวรรณคดี
ภาษาไทยมีวิวฒั นาการและเกิดการเปล่ียนแปลงโดยรบั เอา
ภาษาและวัฒนธรรมของชาติอื่นมาใชเ้ ช่นรบั คา้ บาลืมายาก
พทุ ธศาสนาและคาสนั สกฤศจากวรรณคดีอินเดียและได้รบั
อิทธิพลจากเขมรในการนคา้ มาใชเ้ ป็ นราชาศพั ทน์ อกจากน้ียงั
มีการรบั ภาษาของชาติอ่ืนมาใชเ้ ช่นจีนญี่ป่ นุ องั กฤษโปรตเุ กส
อันแสดงให้เห็นถึงการติดต่อกนั ระหว่างประเทศอีกดว้ ยเม้
ภาษาไทยจะยืมคา้ ภาษาอ่ืนมาใชแ้ ต่ก็ยงั คงมีเอกลกั ษณ์ของ
ภาษาไทยเอาไวเ้ พ่ือแสดงวฒั นธรรมและเอกลกั ษณข์ องชาติ
ไทยเอาไวด้ งั น้ี

ลกั ษณะของภาษาไทย

1. ภาษาไทยเป็ นภาษาค่าโดดมีรปู คา้ เป็ นคา้ พยางคเ์ ดียวเราจะสังเกตไดจ้ ากคาด้ังเดิมใภ
ภาษาไทยที่ใชก้ ันในชีวิตประจาวันเช่นคา้ เรียกช่ือญาติพี่นอ้ งเช่น คาเรียกพ่อแม่ป่ ูย่าตา
ยาย คาเรียกชอื่ ธรรมชาตเิ ชน่ ดนิ นา้ ลมไฟป่ าเขา คาสรรพนามเชน่ ฉนั ผมแกชาสเู จา้ กถู ึง

2. ภาษาไทยมตี วั อกั ษรและตวั แลนเป็ นของตนเองคือ
มสี ระ 21 รปู
มพี ยญั ชนะ 4 รปู
มวี รรณยกุ ต์ 4 รปู 5 เสียง
มตี วั เลข ๑ ๒ ๓ ๔
3. ภาษาไทยมกั มีตวั สะกดตรงตาฌาตราสะกาศซึ่งมี 8 มาตราศียแมก่ กแม่กทแม่กบแม่กม
แมกนแมก้ งแมเ่ กยแกอว
4. ภาษาไทยศเดยี วมคี วามหมายหลายอย่างใชไ้ ดห้ ลายหนา้ ท่ีโดยไม่ตอ้ งเปล่ียนรปู ตาเหมือน
กานาอนื่ เชน่ “ ไกข่ น้ึ ตงั้ แตเ่ ชา้ "คาว่า“ ซนั ” มคี วามหมายว่าการส่งเสยี งรอ้ ง“ ทกุ โชคถือขนั นา้
เขา้ ไปในหอ้ งนา้ ” คาว่า“ ขนั ” เป็ นคานามมคี วามหมายว่าภาชนะสาหรบั ดกั หรือ
5. ภาษาไทยมีความประณีตเป็ นภาษาท่ีรา่ รวยคือมีค่าท่ีมีความหมายคาแนกละเอียดตาม
ความสัยงการจะสังเกตไดว้ ่าคาบางคามีความหมายหลักเหมือนกนั แต่มีความหมายพลพาะ
ตา่ งกนั เชน่ คากรยิ าที่มคี วามหมายหลกั ว่าอัดหรือทาใหข้ าดจากกนั ไดแ้ ก่ ศัตนนั่ เล่ช่ือตเิ พื่อน
สบั ซอยจะมีความหมายเฉพาะไม่เหมือนกันเชน่ " ขาแล่เน้อื หม”ู คาว่า“ แล”้ หมายถึงนอนมีด
เฉือนเป็ นแผน่ บนๆรขานนั่ เน้อื หมู” คาว่า“ นนั่ ” หมายถึงเอาเน้อื หมวู างลงบนท่ีรองรับแลว้
ตดั ใหเ้ ป็ นชนิ้ เล็กๆ

ลกั ษณะของภาษาไทย

6. คาแต่ละคาถือเป็ นคาสาเร็จรปู เพราะมีความหมายสมบรู ณใ์ ชป้ ระโยคไดท้ ันทีโดยไม่ตอ้ งมี
การตกแตง่ หรือเปลี่ยนแปลงส่วนใดของคา้ เพ่ือบอกความสัมพนั ธร์ ะหว่างประโยคเช่นครไู ป
โรงเรยี นนกั ศึกษากินขา้ วทโี่ รงอาหาร
7, ภาษาไทยมีความเจริญงอกงามโดยมีถอ้ ยคาท่ีเพิ่มมากขน้ึ ซึ่งเกิดจากการประสมคาการ
สมาชการสนธิการยมื คาจากกาษาอนื่ รวมถึงการบญั ญตั ศิ ัพท์
8. กามาไทยเป็ นภาษาคนตรีเพื่อแสดงระดับเสียงสงู ตา่ ของคาเพราะแต่ละคามีระดับเสียง
ตา่ งกนั ความหมายของคายอ้ มตา่ งกบั
9, กาษาไทยเป็ นภาษาที่มีระดบั หรือศักด์ิของศาการใชน้ า้ อยคาในภาษาไทยจะแตกต่างจาก
กามาขึ้นการใชค้ า้ นั้นตอ้ งคานึงถึงกาลเทศะและฐานะของบคุ คลจึงมีการใชร้ าชาศัพท์และ
ภาษาสภุ าพตามฐานะของบคุ คลเชน่
-ใชค้ าราชาศพั ทเ์ ชน่ เสด็นเสวยทรงคนศรีสวรรคศ
-ใชค้ าสภุ าพเชน่ บิดามารดารบั ประทานสนุ ขั สกุ ร
-ใชค้ าธรรมดาเชน่ พอ่ แมก่ ินหมาหมู
-ใชใ้ นทาประพนั ธเ์ ชน่ ผหู้ ญิงอาจใชค้ าว่านารชี ศรีนงั่ ยรอนงคน์ งนชุ กลั ยา

ลักษณะสาคัญของภาษาไทยดังกล่าวมีเอกลักษณท์ ี่ไม่เหมือนใครเป็ นมรดกตกทอด
จากบรรพบรุ ษุ และถือว่าเป็ นสมบัติของชาติถึงแมจ้ ะมีวิวัฒนาการมีการเปล่ียนแปลงและ
ปรับปรงุ คอยเวลาแตห่ านเป็ นเหร่ียงผกู พันคนไทยและเป็ นเคร่ืองสะทัยนวัฒนธรรมของคน
ไทย

ระดบั ภาษา

ระดับภาษาภาษาเป็ นวัฒนธรรมของคนในสังคมดังนนั้ จึงตอ้ งมีภาษาย่อยอีก
หลายระดับซึ่งแตกต่างออกไปท้ังนี้เพราะสังคมของผูใ้ ชง้ บาบาเดียวกันย่ อมมี
องคป์ ระกอบทีไ่ มเ่ หมอื นกนั เชน่ เพศวัยฐานะอาชพี การศึกษาสภาพภมู ศิ าสตรส์ ิ่งเหล่านี้
เป็ นปัจจัยสาคัญใหเ้ กิดภาษาต่างระดับในการแบ่งระดับของกาษาไทยอย่างละเอียด
เป็ นสิ่งที่ทาไดย้ ากเพราะผใู้ ชภ้ าษามีองคป์ ระกอบส่วนตัวที่แตกต่างกันแต่ถา้ จาแนก
ออกอยา่ งกวา้ งเพอ่ื ประโยชนต์ ่อความเขา้ ใจแบง่ ได้ 3 ระดบั คือ

1. ภาษาปากคือภาษาที่ใชพ้ ดู เพ่ือความเขา้ ใจในหม่คู ณะท่ีมีความใกล้ชิดสนิท
สนมกนั เชน่ การพคู ยุ ระหว่างเพอื่ นสนทิ การเจรจาซื้อขายตามทอ้ งตลาดภาษาปากอาจ
มีคาคาพยาบคาสแลงรวมอย่ดู ว้ ยเช่น“ เจ๊งแนค่ ราวน้ี” (เจง้ คือเลิกลม้ กิจการเพราะ
หมดทนุ )“ ถึงเสร็จแน”่

2. ภาษาถึงแบบแผนคือภาษาท่ีใชพ้ ดู หรือเขยี นทัว่ ไปแต่มคี วามสภุ าพพิธีพกัน
มากกว่ากาษาปากใชใ้ นการสนทนากันระหว่างผมู้ ีการศึกษาการพดู คุยกับผู้ที่ไม่
คนุ้ เคยการสนทนาระหว่างผอู้ ยตู่ า่ งฐานะตาแหนง่ วฒุ ิ
-หากเป็ นการพดู เช่นพดู ในที่ประชมุ กับผฟู้ ังทัว่ ไป ไดแ้ ก่ การอภิปรายการแนะนา
ตวั การแนะนาบคุ ติ
-พาเป็ นการเขยี นเชน่ ขอ้ เขยี นในนติ ยสารขา่ วจดหมายถึงบคุ คลท่ไี มค่ นุ้ เตย

3. ภาษาแบบแผนเป็ นภาษาที่ใชอ้ ย่างเป็ นพิธีการเรียบเรียงขอ้ ความประณีต
ส่วนมากใชใ้ นการเขยี นมากกว่าการพดู เชน่ คา้ กราบบังคอทลู ภาษาในตาราแบบเรียน
หนังสือราชการบทความวิชาการส่วนคาพดู มักเป็ นคากล่าวท่ีมีระเบียบหรือเป็ นพิธี
การเชน่ การเปิ ดประชมุ การกล่าวตอ้ นรับการกลา่ วถวายพระพร

จดุ ม่งุ หมายในการใชภ้ าษาตามแนววฒั นธรรม

การใชภ้ าษาของมนษุ ยม์ ีจดุ มงุ่ หมาย 3 ประการดงั น้ี
1. เพื่อส่ือสาร

ไทยมีวฒั นธรรมในการเลือกเฟ้ นภาษาเพื่อใช้
ในการส่ือสารทง้ั วจั นภาษาและอวจั นภาษานอกจากน้ี
ยงั มีกาษาถ่ินที่ใช้ในภมู ิภาคต่างๆแต่มีกาษาไทย
มาตรฐานใชเ้ ป็ นสื่อกลางในการสื่อสารทว่ั ๆไปและ
ไม่ว่าจะเป็ นกาบาพดู หรือกาษาเขียนในการสื่อสาร
จะตอ้ งคานึงว่าบคุ คลที่สื่อสารดว้ ยนน้ั เป็ นใครอยใู่ น
สถานภาพและความสมั พนั ธใ์ ดกบั เราเช่น

เด็ก “ หนหู มา่ ขา้ วหรอื ยงั เอ่ย "
เพื่อนสนิท
แมบ่ า้ น “ เฮย้ แกแดกขา้ วหรอื ยงั วะ”
แขกท่ีไมส่ นิท
“ คณุ ทานขา้ วเรยี ยงั คะ”

“ เชิญทกุ คนรว่ มรบั ประทานอาหารที่หอ้ งอาหาร
ครบั ทกุ อยา่ งพรอ้ มแลว้ ”

จดุ ม่งุ หมายในการใชภ้ าษาตามแนววฒั นธรรม

2. เพ่ือสงั่ สอนไทยเรามีความเจริญงอกงามในการ
ใชภ้ าษาเพื่อ“ สง่ั สอน" มาชา้ นานเห็นไดจ้ ากการมี
สายสือไทยหรือการประดิษฐต์ วั อกั ษรไทยเพื่อใชส้ ื่อ
ควา มห มาย ระหว่ า งค นไทยท้ังชาติ มี กา รจัด
แบบเรียนหรือหนังสือเรียนให้เด็กไทยได้อ่านไ ด้
ศึกษาเรียนรมู้ ีการแปลพระไตรปิ ฎกเป็ นกาษาไทยมี
การแสดงพระธรรมเทศน 5 ตลอดทนการเลา่ นิทาน
ชาดกซ่ึงลว้ นเป็ นการสงั่ สอนทง้ั ส้ินบรรพบรุ ษุ ไทยยงั
มีการคิดสรา้ งสานวนสภุ าษิตคาพงั เพยคาขวัญคติ
พจนอ์ ีกมากมาย

จดุ ม่งุ หมายในการใชภ้ าษาตามแนววฒั นธรรม

3. เพื่อสรา้ งสรรคไ์ ทยมีการใชก้ ามาท่ีสรา้ งสรรคท์ ง้ั
รอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรองเรามีวรรณกรรมล้าค่าเป็ น
มรดกสืบทอดมาให้ได้ศึกษาค้นคว้าและสามารถ
สรา้ งสรรคร์ ปู แบบและเน้ือหาไดจ้ ากรากวฒั นธรรม
ทางภาษาวรรณศิลป์ ได้ไม่รจู้ บไม่ว่าจะเป็ นฉันท
ลกั ษณใ์ นรปู ของโครงฉนั ทก์ าพยก์ ลอนและราย

ความหมายของวฒั นธรรม

วฒั นธรรม หมายรวมถึง ทกุ สิ่ง ทกุ อยา่ งท่ีมนษุ ยส์ รา้ งข้ึนมา
นบั ตงั้ แต่ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา กฎหมาย
ศิลปะ จริยธรรม ตลอดจนวิทยาการและเทคโนโลยีต่าง ๆ
อาจกลา่ วไดว้ ่าวฒั นธรรมเป็ นเครื่องมือท่ีมนษุ ย์ คิดคน้ ข้ึนมา
เพื่อช่วยใหม้ นษุ ยส์ ามารถดารงอย่ตู ่อไปได้ เพราะการจะมี
ชีวิ ตอยู่ในโลกน้ีได้มนษุ ย์จะต้องร้จู ักใช้ประโยชน์จาก
ธรรมชาติและจะตอ้ งรจู้ กั ควบคมุ ความประพฤติของมนษุ ย์
ดว้ ยกนั วฒั นธรรม คือคาตอบท่ีมนษุ ยใ์ นสงั คมคิดข้ึนมาเพ่ือ
แกป้ ัญหาเหลา่ น้ี

เน้ือหาของวฒั นธรรม

เน้ือหาของวฒั นธรรม
1. วฒั นธรรมเป็ นพฤติกรรมที่เกิดจากการเรยี นรู้
2. วฒั นธรรมมีลกั ษณะเป็ นส่ิงเหนืออินทรยี ์
3. วฒั นธรรมเป็ นมรดกทางสงั คม
4..วฒั นธรรมเป็ นแบบแผนของการดาเนินชีวิต

เน้ือหาของวฒั นธรรม

วฒั นธรรมเป็ นผลจากการท่ีมนษุ ยไ์ ดเ้ ขา้ ควบคมุ ธรรมชาติและ
พฤติกรรมของมนษุ ย์ ทาใหเ้ กิดการจดั ระเบียบทางสงั คม ระบบความ
เชื่อ ศิลปกรรม
ค่านิยมและวิทยาการต่าง ๆ อาจแยก องคป์ ระกอบของวฒั นธรรม
ไดเ้ ป็ น 4 ประการ
1. องคม์ ติ (concept) บรรดาความคิด ความเชื่อ ความเขา้ ใจ
ความคิดเห็น ตลอดจนอดุ มการณต์ ่าง ๆ
2. องคพ์ ิธีการ (usage) หมายถึง ขนบธรรมเนียมประเพณีที่
แสดงออกในรปู พิธีกรรม
3. องคก์ าร (organization) หมายถึง กลม่ ุ ที่มีการจดั อยา่ งเป็ น
ระเบียบหรอื มีโครงสรา้ งอยา่ งเป็ นทางการ มีการวางกฎเกณฑ์
ระเบียบขอ้ บงั คบั และวตั ถปุ ระสงคไ์ วอ้ ยา่ งแนน่ อน
4. องคว์ ตั ถ ุ (instrumental and symbolic
objects) ไดแ้ ก่ วฒั นธรรมทาง วตั ถทุ ง้ั หลาย เช่น บา้ น โบสถ์
วิหาร รวมตลอดถึงเครอื่ งมือเครอ่ื งใชต้ ่าง ๆ

ความสาคญั ของวฒั นธรรม

1. วฒั นธรรมเป็ นเครอื่ งกาหนดความเจรญิ หรอื ความเส่อื มของ
สงั คม และเป็ นเครอ่ื งกาหนดชีวิตความเป็ นอยขู่ องคนในสงั คม
2. การศึกษาวฒั นธรรมจะทาใหเ้ ขา้ ใจชีวิตความเป็ นอยู่ ค่านิยม
ของสงั คม เจตคติความคิดเห็นและความเชื่อถือของบคุ คลไดอ้ ยา่ ง
ถกู ตอ้ ง
3. ทาใหม้ ีความรสู้ ึกเป็ นพวกเดียวกนั และใหค้ วามรว่ มมือกนั ได้
4. ทาใหเ้ กดิ ความสงบเรยี บรอ้ ยในสงั คม เพราะวฒั นธรรมคือ
กรอบหรอื แบบแผนของ การดารงชีวิต
5. ทาใหม้ ีพฤติกรรมเป็ นแบบเดียวกนั
6. ทาใหเ้ ขา้ กบั คนพวกอ่ืนในสงั คมเดียวกนั ได้
7. ทาใหม้ นษุ ยม์ ีสภาวะที่แตกต่างจากสตั ว์

วฒั นธรรมไทย

วฒั นธรรม หมายความถึง ลกั ษณะท่ีแสดงถึงความเจรญิ งอกงาม
ความเป็ นระเบียบเรยี บรอ้ ย ความกลมเกลียวกา้ วหนา้ ของชาติ และ
ศีลธรรมอนั ดีของประชาชน
1. ลกั ษณะที่แสดงถึงความเจรญิ งอกงาม
1.1 ความเจรญิ ทางวตั ถ ุ
1.2 ความงอกงามทางจิตใจ
2. ลกั ษณะท่ีแสดงถึงความเป็ นระเบียบเรยี บรอ้ ย
2.1 ความเป็ นระเบียบเรยี บรอ้ ยในการแต่งกาย จรรยามารยาทใน
ที่สาธารณะ
2.2 ความเป็ นระเบียบเรยี บรอ้ ยในการปฏิบตั ิงานและการปฏิบตั ิต่อ
บา้ นเมือง
2.3 ความเป็ นระเบียบเรยี บรอ้ ยในการประพฤติตนอนั เป็ นทาง
นามาซึ่งเกียรติ ของชาติไทยและพทุ ธศาสนา

ปัจจยั ที่ทาใหช้ าวไทยไดส้ รา้ งวฒั นธรรมข้ึนมา

ปัจจยั ที่ทาใหช้ าวไทยไดส้ รา้ งวฒั นธรรมข้ึนมา
1. สภาพแวดลอ้ มทางภมู ิศาสตร์
2. ระบบเกษตรกรรม
3. ค่านิยมจากการท่ีไดส้ ะสมวฒั นธรรมต่อเน่ืองกนั เป็ นเวลา
ยาวนานจึงเป็ นการหลอ่ หลอมใหเ้ กิดแนวความคิด ความพึงพอใจ
และความนิยม
4. อิทธิพลจากวฒั นธรรมอ่ืน

อิทธิพลของวฒั นธรรมต่างชาติท่ีมีต่อสงั คมไทย

สาเหตขุ องการหลง่ั ไหลเขา้ มาของวฒั นธรรมตะวนั ตก
1. ความเจรญิ ดา้ นการคมนาคมขนสง่
2. อิทธิพลจากสื่อมวลชนต่าง ๆ
3. การเผยแพรว่ ฒั นธรรมโดยตรง
อิทธิพลของวฒั นธรรมต่างชาติในสงั คมไทย มีผลต่อ
1. ระบบการศึกษา
2. ระบบการเมือง
3. ระบบเศรษฐกิจ
4. ระบบสงั คมและวฒั นธรรม

ประเภทของวฒั นธรรมไทย

1. คติธรรม คือ วฒั นธรรมท่ีเกี่ยวกบั หลกั ในการดาเนิน
ชีวิต
2. เนติธรรม คือ วฒั นธรรมทางกฎหมาย รวมทงั้
ระเบียบประเพณีที่ยอมรบั นบั ถือกนั ว่ามีความสาคญั
เช่นเดียวกบั กฎหมาย
3. สหธรรม คือ วฒั นธรรมทางสงั คม นอกจากหมายถึง
คณุ ธรรมต่าง ๆ ท่ีทาใหค้ นอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งผาสกุ ถอ้ ย
ทีถอ้ ยอาศยั กนั แลว้ ยงั รวมถึงระเบียบ มารยาทท่ีจะ
ติดต่อเกีย่ วขอ้ งกบั สงั คมทกุ ชนิด
4. วตั ถธุ รรม คือ วฒั นธรรมทางวตั ถ ุ เช่นท่ีเก่ียวขอ้ งกบั
การกนิ ดีอยดู่ ี เครอื่ งน่งุ ห่ม บา้ นเรอื น และอื่น ๆ

เอกลกั ษณข์ องวฒั นธรรมไทย

1. ความรกั อิสรภาพหรอื ความเป็ นไทย
2. การยา้ ความเป็ นตวั ของตวั เองหรอื ปัจเจกบคุ คลนิยม
3. ความรสู้ ึกมกั นอ้ ย สนั โดษ และพอใจในส่ิงที่มีอยู่
4. การทาบญุ และการประกอบการกศุ ล
5. การยา้ การหาความสขุ จากชีวิต
6. การยา้ การเคารพเชื่อฟังอานาจ
7. การยา้ ความสภุ าพอ่อนโยนและความเอ้ือเฟ้ื อเผื่อแผ่
8. ความโอ่อ่า

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากบั วฒั นธรรม

1. อวจั นภาษา ท่ีมีลกั ษณะเฉพาะของสงั คมไทยมีหลายประการ
ดงั น้ี

- กิรยิ าท่าทาง การเคลื่อนไหวรา่ งกาย เชน่ คนไทยในอดีต
ไมน่ ิยมเคลื่อนไหวรา่ งกายอยา่ งรวดเรว็ โดยเฉพาะผหู้ ญิงอวจั นภาษา
ของผหู้ ญิงเรอื่ งกิรยิ าท่าทาง นิยมความอ่อนชอ้ ย น่ิมนวล

- การสมั ผสั วฒั นธรรมไทย ไมน่ ิยมการสมั ผสั โดยเฉพาะ
ระหว่างหญิงชาย การโอบกอดจบั มือทกั ทาย ถือเป็ นวฒั นธรรม
ต่างชาติ ในปัจจบุ นั คนไทยรบั วฒั นธรรมตะวนั ตกมามากทาใหก้ าร
สมั ผสั มือ การโอบกอด
ถือเป็ นเรอื่ งปกติ

- ลกั ษณะทางกายภาพ เช่น การแต่งกาย สงั คมไทยเป็ น
เมืองรอั น มกั แต่งกายดว้ ยเส้ือผา้ บาง ไมห่ นกั ตา แต่เมื่อ
รบั วฒั นธรรมต่างประเทศเขา้ มาก รวมทง้ั สถานท่ีทางานติด
เครอ่ื งปรบั อากาศ ทาใหเ้ ราแต่งกายสากลกนั มากข้ึน มีการใส่สทู ผกู
เนคไท เป็ นตน้

- การใชส้ ายตา ผนู้ อ้ ยไมส่ บตาผใู้ หญ่โดยตรง ถือว่าเป็ นการ
เสียมารยาทแต่ในปัจจบุ นั เด็กมีความกลา้ มากข้ึน กลา้ พดู กลา้ ทาใน
สิ่งที่ตนเองคิดว่าถกู นน้ั คือการรบั วฒั นธรรมต่างประเทศเขา้ มา
เช่นกนั

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากบั วฒั นธรรม

2. วจั นภาษา
อกั ษรไทย วิธีการเขียนจากซา้ ยไปขวา เป็ นวฒั นธรรมในการเขียน
อยา่ งหน่ึงของสงั คมไทยที่ต่างจากหลายชาติในเอเชีย เช่น จีน ญี่ป่ นุ
ซึ่งวฒั นธรรมการใชว้ จั นภาษาของไทยมีดงั น้ี

2.1 วฒั นธรรมการใชภ้ าษาหลากหลายสื่อความหมาย
เดียวกนั หรอื ใกลเ้ คียงกนั สาหรบั บคุ คลต่างระดบั ต่างกล่มุ กนั เช่น คา
ว่า กนิ อาจใชต้ ง้ั แต่ ยดั กนิ ทาน รบั ประทาน เสวย เป็ นตน้

2.2 วฒั นธรรมในการสรา้ งความสมั พนั ธร์ ะบบเครอื ญาติ
ดว้ ยภาษาเชน่ สงั คมไทยมกั กาหนดใหค้ นรจู้ กั หรอื คนท่ีเราตอ้ ง
สื่อสารดว้ ยไมว่ ่าจะเป็ นการสอ่ื สารเฉพาะหนา้ หรอื ผา่ นส่ือมวลชนเป็ น
เครอื ญาติโดยปรยิ าย

2.3 วฒั นธรรมในการกาหนดคาลงทา้ ยท่ีชว่ ยใหก้ ารสอื่ สาร
ระหว่างบคุ คลสภุ าพและน่มุ นวลข้ึน เชน่ คะ ขา จะ๊ จา๋ ครบั ขอรบั
กระผม ฯลฯ

2.4 วฒั นธรรมในการใชค้ าคลอ้ งจองลกั ษณะคลา้ ยกลอน
เพลง เพ่ือใหเ้ สียงเป็ นจงั หวะ และชว่ ยในการจดจา เช่น กินขา้ ว กิน
ปลามาหรอื ยงั เป็ นตน้

2.5 วฒั นธรรมการใชภ้ าษาในการอธิบายความหมาย
มากกว่าการพดู ความจรงิ ๆตรง ๆ อาทิ การเปรยี บเทียบ การใชค้ า
สภุ าษิต เชน่ ขิงกร็ า ขา่ กแ็ รง ใชเ้ ปรยี บเทียบสามีภรรยาที่มีความ
กระทบกระทง่ั กนั เสมอ

สรปุ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากบั วฒั นธรรม

ภาษากบั วฒั นธรรมมีความสมั พนั ธก์ นั อยา่ ง
ใกลช้ ิด ซึ่งพอจะกลา่ วไดด้ งั น้ี
1. ภาษาเป็ นวฒั นธรรมอยา่ งหนึ่ง
เพราะภาษาเป็ นสิ่งที่มนษุ ยส์ รา้ งข้ึน มีการเรียนรู้
ถ่ายทอด และเจรญิ งอกงาม
2. ภาษาเป็ นเครอ่ื งมือถ่ายทอดวฒั นธรรม
บรรดาวฒั นธรรมสาขาต่างๆ นนั้ นบั ว่าภาษาเป็ น
วฒั นธรรมท่ีสาคญั ท่ีสดุ เพราะภาษาเป็ นเคร่ืองมือ
ถ่ายทอดวฒั นธรรมสาขาต่างๆ ใหส้ ืบทอดและเจิญ
งอกงามต่อไปไมม่ ีที่ส้ินสดุ ถา้ ไมม่ ีภาษา การสืบทอด
วฒั นธรรมจะเป็ นไปไมไ่ ด้ เพราะไมส่ ามารถที่จะสื่อ
ความหมายกนั ใหเ้ ขา้ ใจไดแ้ จ่มชดั

สรปุ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากบั วฒั นธรรม

3. ภาษาสะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงประวตั คิ วามเป็ นอย่ขู องมนษุ ยใ์ น
อดตี หรือวฒั นธรรมของชาตินน้ั ๆ
เพราะถอ้ ยคาภาษา เป็ นสิ่งที่มนษุ ยส์ รา้ งขน้ึ ตามความจาเป็ น
ของสงั คมนน้ั ๆ เพื่อใหเ้ กิดความเขา้ ใจตรงกนั จงึ กลา่ วไดว้ ่า
ถอ้ ยคาบางคาเป็ นประวตั วิ ฒั นธรรมของชาติ เชน่ คาวา่
นาฬิกา มีนยั มาจากภาษาบาลวี า่ นาฬิเกร แปลวา่ มะพรา้ ว
ทง้ั นเ้ี พราะโบราณเรามีวิธีนบั เวลาโดยใชก้ ะลามะพรา้ วเจาะรู
แลว้ นาไปลอยนา้ เมื่อจมครงั้ หนง่ึ ๆ ก็เรียกวา่ นาฬิกาหนง่ึ
ตอ่ มาเรามีนาฬิกาอยา่ งปัจจบุ นั ซึ่งเราเรียกวา่ นาฬิกากล แต่
ก็กรอ่ นเป็ นนาฬิกาในกาลตอ่ มา

สรปุ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากบั วฒั นธรรม

4. ภาษาเป็ นเครอื่ งบ่งช้ีวฒั นธรรมของผใู้ ช้
ถอ้ ยคาในภาษามีระดบั และนอกจากส่ือความหมายแล้ว

ยงั ส่ือความรสู้ ึกไดอ้ ีกดว้ ย อยา่ งเช่นคาใชแ้ ทนชื่อภาษาไทย ท่ี
เรียกว่าคาสรรพนามก็มีมาก เช่น ฉัน ผม เกล้ากะผม
กระหม่อม ขา้ พระพทุ ธเจา้ ดิฉนั หม่อมฉนั ท่าน คณุ ใต้่ฝ่ า
ละอองธลุ ีพระบาท เป็ นตน้ คากริยาแสดงอาการกินก็มีมาก
เช่น กิน รบั ประทาน ฉนั เสวย เป็ นตน้ เร่ืองน้ีสะทอ้ นใหเ้ ห็นว่า
ภาษาเป็ นเคร่ืองแสดงระดับวัฒนธรรมของผใู้ ช้ เพราะคา
เหล่าน้ีไม่ไดบ้ อกเฉพาะความหมายเท่านน้ั ยงั บอกถึงความร็ู
สึก อารมณ์ และระดบั การศึกษาของผใู้ ชด้ ว้ ย ดงั มีคากล่าวว่า
"สาเนียงส่อภาษา กริยาส่อสกลุ " หมายความว่า ภาษา กิริยา
พฤติกรรมของผใู้ ชเ้ ป็ นเครื่องบ่งบอกวฒั นธรรมของผ้นู น้ั ว่า
สงู ต่าเพียงใด

สรปุ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากบั วฒั นธรรม

5. ภาษาเป็ นเครอ่ื งอบรมจิตใจและความประพฤติของผใู้ ชใ้ หม้ ี
ความละเอียดอ่อน
ในภาษาไทยเรามีการใช้คาราชาศัพท์ สาหรบั บคุ คลท่ีเป็ น
เจา้ นาย พระราชาและราชวงศ์ พระสงฆแ์ ละสภุ าพชน โดยใช้
ภาษาสาหรบั การปฏิบัติภารกิจแต่ละอย่างแตกต่างไปจาก
ภาษาที่สามญั ชนใช้ เช่น พระสงฆจ์ ะใชค้ าว่า ฉนั แทนคาว่า
กิน ใชค้ าว่า จาวัด แทนคาว่า นอน พระราชาใชค้ าว่าเสวย
แทนคาว่า กิน ใชค้ าว่า บรรทม แทนคาว่า นอน เป็ นตน้ ทง้ั น้ี
เพราะพระสงฆแ์ ละพระราชาจะปฏิบัติกิจเหล่าน้ีเช่นเดียวกบั
ชาวบา้ นไม่ได้ ก่อนที่พระสงฆจ์ ะฉนั อาหาร ก็ตอ้ งมีผ้ปู ระเคน
ใหเ้ สียก่อน เวลาจะจาวัดก็ต้องจาวัดบนท่ีนอนท่ีไม่ไดบ้ รรจุ
ดว้ ยนน่ ุ หรอื สาลี พระราชาเวลาจะเสวยก็ตอ้ งเสวยดว้ ยอาการ
สารวม เวลาจะบรรทมก็ตอ้ งบรรทมในที่มิดชิดไม่ประเจิ ด
ประเจอ้

สรปุ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากบั วฒั นธรรม

1) ภาษาเป็ นเคร่ืองแสดงความเป็ นชาติ และวฒั นธรรมของ
ชาติ แสดงถึงความผกู พนั เป็ นชนชาติเดียวกนั
2) ภาษาเป็ นเครอ่ื งแสดงปฏิสมั พนั ธท์ างสงั คม ในฐานะของผู้
สง่ -ผรู้ บั ภาษา และในฐานะความสมั พนั ธฉ์ นั ทเ์ ครอื ญาติ
3) ภาษาเป็ นตวั แทนของพฤติกรรม และกิจกรรมท่ีถ่ายทอด
ความเป็ นสงั คมของมนษุ ย์
4) ภาษาเป็ นเครื่องมือทางการเมือง แสดงความเชื่อทาง
การเมือง ความศรทั ธาความจงรกั ภกั ดีต่อระบอบ การ
ปกครองและทางการเมือง
5) ภาษาช่วยในการบนั ทึกเร่ืองราวประวตั ิศาสตรจ์ ากอดีตถึง
ปัจจบุ นั
6) ภาษาเป็ นเครอ่ื งมือในการสรา้ งสรรคส์ งั คม

INFOGRAPHIC

o ความรทู้ วั่ ไปเกยี่ วกบั ภาษาและวฒั นธรรม
o การใชภ้ าษาในการส่ือสาร
o ลกั ษณะของภาษาไทย
o ลกั ษณะของภาษาไทย
o ลกั ษณะของภาษาไทย
o ระดบั ภาษา

o จดุ ม่งุ หมายในการใชภ้ าษาตามแนววฒั นธรรม

o จดุ ม่งุ หมายในการใชภ้ าษาตามแนววฒั นธรรม
o จดุ มงุ่ หมายในการใชภ้ าษาตามแนววฒั นธรรม

o ความหมายของวฒั นธรรม
o เน้ือหาของวฒั นธรรม
o เน้ือหาของวฒั นธรรม
o ความสาคญั ของวฒั นธรรม
o วฒั นธรรมไทย

o ปัจจยั ท่ีทาใหช้ าวไทยไดส้ รา้ งวฒั นธรรมข้นึ มา
o อิทธิพลของวฒั นธรรมต่างชาติท่ีมีต่อสงั คมไทย

o ประเภทของวฒั นธรรมไทย
o เอกลกั ษณข์ องวฒั นธรรมไทย
o ความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากบั วฒั นธรรม
o ความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากบั วฒั นธรรม

o สรปุ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากบั วฒั นธรรม
o สรปุ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากบั วฒั นธรรม
o สรปุ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากบั วฒั นธรรม

o สรปุ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากบั วฒั นธรรม
o สรปุ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากบั วฒั นธรรม


Click to View FlipBook Version