The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โคลงสุภาษิตพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ

โคลงสุภาษิตพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 2

ผ้พู ระราชนพิ นธ์

"โคลงสภุ าษิตนฤทุมนาการ"
พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้

เจา้ อยูห่ ัว
(รัชกาลท่ี ๕)

ความเปน็ มา

เป็นวรรณคดปี ระเภทคาํ สอนที่พระบาทสมเดจ็
พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระราชนิพนธข์ ึ้น
โดยแปลจากภาษาองั กฤษมาเปน็ โคลงสสี่ ุภาพ
เนือ้ หาแบ่งเปน็ ๓ สว่ น ได้แก่ บทนํา ๑ บท
เนื้อเร่อื ง ๑๐ บท และบทสรุป ๑ บท

ความเปน็ มา

เริม่ จากบทนํากล่าวว่า ผรู้ ทู้ ่ไี ดไ้ ตร่ตรองแลว้
จึงกลา่ วคาํ สอนเป็นแนวทาง ทค่ี วรประพฤติ
๑๐ ประการ ชอื่ วา่ "ทศนฤทมุ นาการ" หมายถงึ
กิจ ๑๐ ประการทผ่ี ปู้ ระพฤติยังไมเ่ คยเสยี ใจ

ความเปน็ มา

สว่ นเน้ือเรอื่ งเป็นข้อแนะนาํ ทง้ั ทางด้านการคดิ
การพูด และการกระทาํ เพอ่ื ให้ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ น
ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม และบทสรปุ กลา่ วว่า
ทกุ คนควรพจิ ารณาแนวทางทง้ั ๑๐ ประการนี้

ถงึ แม้จะประพฤตติ ามไม่ครบถ้วน
แต่ประพฤตไิ ด้บ้างกย็ ังดี

"โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ"
กิจ ๑๐ ประการที่ผู้ประพฤติ

ยงั ไมเ่ คยเสียใจ

เน้อื เร่อื ง

๏ บัณฑติ วินจิ แล้ว แถลงสาร สอนเอย
ทศนฤทุมนาการ ชื่อชี้
เหตผุ ู้ประพฤติปาน ดงั กลา่ ว นนั้ นอ
โทมนัสเพราะกิจน้ี หอ่ นไดเ้ คยมี

ถอดคาํ ประพนั ธ์

ผ้รู กู้ ล่าวถึง ๑๐ ประการ ทผี่ ูป้ ระพฤตยิ ังไม่เคย
เสยี ใจ เพราะเปน็ ความประพฤตดิ ีในไตรทวาร
(กาย วาจา ใจ ) อนั จะยงั ใหเ้ กิดผลดแี ก่
ผู้ประพฤติเองและตอ่ สังคมสว่ นรวม อนั ไดแ้ ก่

เน้อื เร่อื ง เพราะความดีทว่ั ไป

๏ ทําดีไปเ่ ลือกเวน้ ผูใ้ ด ใดเฮย
แต่ผูกไมตรไี ป รอบข้าง
ทําคุณอุดหนนุ ใน การชอบ ธรรมนา
ไร้ศัตรูปองมลา้ ง กลับซ้องสรรเสรญิ

ถอดคําประพนั ธ์ เพราะความดีทั่วไป

การทาํ ความดนี นั้ ไม่ควรเลอื กกระทํากับผู้ใดผหู้ นง่ึ
ควรทาํ กบั คนทว่ั ๆ ไป และทําความดีเพิม่ ขน้ึ
ดว้ ยความชอบธรรม จะไดไ้ มม่ ศี ตั รูคิดร้าย

จะมกี แ็ ตผ่ ยู้ กย่องเชดิ ชู

เน้ือเรอื่ ง เพราะไม่พูดจาร้ายตอ่ ใครเลย

๏ เหนิ ห่างโมหะร้อน ริษยา
สละส่อเสยี ดมารษา ใส่ร้าย
คําหยาบจาบจ้วงอา- ฆาตขู่ เขญ็ เฮย
ไปหมิ่นนนิ ทาบ้าย โทษให้ผใู้ ด

ถอดคําประพนั ธ์ เพราะไมพ่ ดู จารา้ ยต่อใครเลย

การอยูห่ ่างไกลความหลงและความรษิ ยา
ไมพ่ ดู จากลา่ วเท็จให้ร้ายผอู้ ่ืน ไม่พูดอาฆาตใคร

และไมพ่ ูดนนิ ทากลา่ วโทษผใู้ ด

เนื้อเรื่อง เพราะถามฟงั ความก่อนตดั สนิ

๏ ยินคดีมเี รอ่ื งน้อย ใหญไ่ ฉน ก็ดี
ยงั บ่ลงเหน็ ไป เด็ดด้วน
ฟังตอบสอบคําไข คิดใคร่ ครวญนา
ห่อนตัดสินหว้ นห้วน เหตดุ ว้ ยเบาความ

ถอดคําประพันธ์ เพราะถามฟงั ความก่อนตดั สนิ

การได้ยนิ ไดฟ้ งั เร่อื งราวใด ๆ มาไมค่ วรจะเชอื่
ในทนั ที ตอ้ งสอบสวนทวนความ คิดใครค่ รวญ

ใหด้ กี อ่ นท่จี ะตัดสนิ ใจเช่อื

เนอ้ื เรือ่ ง เพราะคดิ เสียก่อนจงึ พดู

๏ พาทมี สี ติรง้ั รอคดิ
รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพรอ้ ง
คําพดู พ่างลขิ ติ เขยี นรา่ ง เรยี งแฮ
ฟังเพราะเสนาะต้อง โสตท้ังห่างภยั

ถอดคาํ ประพนั ธ์ เพราะคิดเสยี กอ่ นจงึ พดู

กอ่ นทีจ่ ะพูดสิ่งใดใหต้ งั้ สติให้รอบครอบกอ่ น
เพราะการพดู ดกี เ็ หมือนกับการเขียนทมี่ ีการ
เรียบเรียงไว้แลว้ ทาํ ให้เวลาฟงั เกิดความไพเราะ

เสนาะหู และไม่เป็นภัยตวั ผู้พูดด้วย

เนือ้ เรอ่ื ง เพราะอดพูดในเวลาโกรธ

๏ สามารถอาจหา้ มงด วาจา ตนเฮย
ปางเมอื่ ยังโกรธา ขุ่นแคน้
หยุดคดิ พจิ ารณา แพ้ชนะ ก่อนนา
ชอบผดิ คิดเหน็ แม้น ไม่ยง้ั เสยี ความ

ถอดคําประพันธ์ เพราะอดพดู ในเวลาโกรธ

การรู้จกั หกั ห้ามตนเองไมใ่ หพ้ ดู ในขณะที่
ยงั โกรธอยโู่ ดยให้หยดุ คิดพิจารณาวา่ พูดแลว้
จะเปน็ ฝ่ายแพห้ รือชนะ หรอื พูดไปแล้วจะเปน็
ฝา่ ยถูกหรอื ฝา่ ยผดิ หากไม่ร้จู ักยบั ย้ังแลว้

อาจทาํ ใหเ้ สียหายได้

เนื้อเร่อื ง เพราะได้กรุณาตอ่ คนที่ถงึ อบั จน

๏ กรณุ านรชาตผิ ู้ พอ้ งภัย พบิ ัติเฮย
ชว่ ยรอดปลอดความกษัย สวา่ งร้อน
ผลจักเพม่ิ พนู ใน อนาคต กาลแฮ
ชนจักชชู ื่อชอ้ น ปา่ งเบ้ืองปัจจบุ นั

ถอดคําประพนั ธ์ เพราะได้กรุณาตอ่ คนท่ีถงึ อับจน

การมคี วามเมตตากรณุ าและให้ความชว่ ยเหลือ
แกผ่ ู้ที่ประสบภยั ทาํ ให้เขารอดพ้นจาก
ความทุกขย์ าก ผลที่ได้รับคอื ผู้คนจะพากนั
สรรเสริญท้ังในปัจจบุ ันแลว้ อนาคต

เน้ือเรื่อง เพราะขอโทษบรรดาทีไ่ ด้ผิด

๏ ใดกจิ ผดิ พลาดแลว้ ไป่ละ ลืมเลย
หยอ่ นทิฐิมานะ ออ่ นนอ้ ม
ขอโทษเพ่ือคารวะ วายบาด หมางแฮ
ดีกวา่ ปดออ้ มคอ้ ม คิดแกโ้ ดยโกง

ถอดคําประพันธ์ เพราะขอโทษบรรดาทไ่ี ด้ผดิ

เมือ่ กระทําการส่ิงใดผดิ พลาดแลว้ กค็ วร
ลดความอวดดลี ง และรู้จกั กลา่ วโทษเพื่อลด
ความบาดหมางลง ดีกวา่ คดิ หาทางแก้

ด้วยความคดโกง

เนื้อเรอื่ ง เพราะอดกล้ันตอ่ ผูอ้ ื่น

๏ ขันตีมีมากหมน้ั สนั ดาน
ใครเกะกะระราน อดกลน้ั
ไป่ฉนุ เฉียวเฉกพาล พาเดือด รอ้ นพ่อ
ผปู้ ระพฤตดิ ัง่ น้นั จักได้ใจเย็น

ถอดคําประพนั ธ์ เพราะอดกล้ันตอ่ ผอู้ ่ืน

การมคี วามอดทนอดกลน้ั ตอ่ ผ้ทู ีม่ าขม่ เหง
รงั แก ไมฉ่ ุนเฉียวเหมือนคนพาล
นแี่ หละจักไดช้ ่อื วา่ เปน็ คนใจเย็น

เนอ้ื เรื่อง เพราะไม่ฟังคําคนพดู เพศนินทา

๏ ไป่ฟังคนพูดฟุง้ ฟน่ั เฝือ
เทจ็ และจรงิ จานเจอื คละเคลา้
คือมีดเทยี่ วกรีดเถือ ทา่ นทวั่ ไปนา
ฟังจะพาพลอยเข้า พวกเพอ้ รงั ควาน

ถอดคําประพนั ธ์ เพราะไมฟ่ ังคําคนพดู เพศนนิ ทา

การไม่ควรฟงั คนท่ชี อบพดู เพอ้ เจ้อเทจ็ จรงิ บ้าง
เพราะเปรียบเสมอื นมีดที่กรดี หรือระรานคนทั่วไป
ฟังแลว้ จะพาเราเข้าไปอยูใ่ นพวกพูดจาเหลวไหล

ไปด้วย

เนื้อเรื่อง เพราะไม่หลงเชื่อข่าวรา้ ย

๏ อีกหนง่ึ ไปเ่ ช่อื ถอ้ ย คาํ คน ลอื แฮ
บอกเลา่ ขา่ วเหตุผล เรอ่ื งรา้ ย
สืบสอบประกอบจน แจ่มเท็จ จริงนา
ยังบ่ด่วนยักยา้ ย ตน่ื เต้นกอ่ นกาล

ถอดคําประพันธ์ เพราะไมห่ ลงเช่ือขา่ วร้าย

การไม่ควรดว่ นหลงหรอื ตื่นเต้นกับข่าวร้าย
ท่มี ีผ้นู ํามาบอก ควรสบื สาวเรอ่ื งราวที่แท้จริงกอ่ น

เนือ้ เรอื่ ง ๏ ขอ้ ความตามกลา่ วแก้ สิบประการ นน้ี อ
ควรแก่ความพจิ ารณ์ ทัว่ ผู้
แม้ละไปข่ าดปาน โคลงกลา่ ว กด็ ี
ควรระงับดับสู้ สงบบ้างยังดี

ทก่ี ล่าวมาทัง้ ๑๐ ประการนี้ แม้จะกระทํา
ตามได้ไมห่ มดทกุ ข้อ กระทาํ ไดเ้ ปน็ บางขอ้ กย็ ังดี



โคลงสภุ าษติ นฤทุมนาการ เป็นสภุ าษติ ทเ่ี ชญิ ชวน
ให้ผู้อ่านคดิ และประพฤติตาม ถ้าผใู้ ดปฏิบัติตาม
แนวทางท่ผี แู้ ต่งแนะนําไว้ จะเป็นผทู้ ีอ่ ยู่ในสังคม
อยา่ งมคี วามสุข ผทู้ ่ีอย่รู อบข้างจะชื่นชมยินดี

นับว่าเปน็ คนมีเสน่หน์ ่าคบ



คณุ ค่าดา้ น ๑) สอนวิธที ่จี ะอยู่ร่วมกับผ้อู ื่น มีเน้อื หาประกอบ
เนือ้ หา ไปด้วย คาํ สอนในการดําเนินชวี ิตหลายประการ
ท้ังด้านจิตใจ ความคิด ด้านการพูด และการ

กระทาํ เป็นคาํ สอนในเร่ืองการกระทาํ ท่ีมี
ความเก่ยี วขอ้ งกบั ผอู้ นื่ ท้ังสิ้น

คณุ ค่าดา้ น ดงั น้ัน โคลงสุภาษิตนฤทมุ นาการจึงเปน็ คําสอน
เนือ้ หา ทีม่ เี พื่อใหม้ นุษย์สามารถอยู่ร่วมกับผ้อู ื่นได้
อย่างสงบสุข เชน่ ไม่พูดรา้ ยกบั ใคร
การพูดรา้ ยทาํ ให้เกิด ความบาดหมางกนั ขึ้น
หรือคําสอนให้ทําดกี บั คนทว่ั ไปจะทาํ ให้คนอน่ื
ชื่นชอบในตวั เราเป็นการสร้างมิตร

คณุ ค่าดา้ น ๒) สอนให้คิดอยา่ งรอบคอบ มเี น้อื หาที่แสดงให้
เนือ้ หา ผูอ้ ่านเห็นความสําคญั ของการฟงั และการคิด

อย่างมเี หตุผล ได้แก่ ไมฟ่ ังคาํ นินทา ไมห่ ลงเช่อื
ขา่ วร้าย ซึง่ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสาํ คัญ

ของการส่อื สารรบั ร้เู รอ่ื งราวทต่ี ้องอาศัยการคิด
อยา่ งรอบคอบ มีเหตุผล จึงจะทาํ ใหเ้ กดิ ผลดี

กับตนเอง



คณุ คา่ ด้านวรรณศลิ ป์

๑) คําเหมาะกับประเภทคําประพนั ธ์ มีการใชค้ ํา
โบราณซงึ่ เหมาะสมกบั ลกั ษณะ ของคาํ ประพันธ์
ประเภทโคลง เช่น หอ่ น ไป บา้ ย ป โสต ปาง

ปา่ ง เป็นตน้

คณุ คา่ ด้านวรรณศลิ ป์

๒) คําบาลี สนั สกฤต ทาํ ใหเ้ กิดความไพเราะ
และมีคําใหใ้ ช้อย่างหลากหลายยิง่ ขน้ึ ไดแ้ ก่
บณั ฑิต ทศ นฤ ทมุ น โมหะ โสต อาฆาต นร

ชน กษัย ทฐิ ิ ขันติกาล เป็นตน้

คณุ ค่าดา้ นวรรณศลิ ป์

๓) คําเปรยี บเทยี บ ทําใหผ้ ูอ้ ่านสามารถเหน็ ภาพ
ชดั เจนและเกิดความซาบซงึ้ กับ บทพระราชนิพนธ์

คณุ ค่าดา้ นวรรณศลิ ป์

๔) คําซํา้ เพ่อื ความให้ชัดเจนมากข้นึ เชน่ ใด
ใด ห้วนห้วน เปน็ ตน้

คณุ ค่าดา้ นวรรณศลิ ป์

๕) คาํ ซ้อน เพือ่ ความให้ชดั เจนและเกิดสมั ผสั
อกั ษร ทาํ ใหเ้ กิดความไพเราะ เช่น อุดหนนุ

สอ่ เสยี ด จาบจว้ ง ขู่เข็ญ เด็ดดว้ น
ขนุ่ แคน้ เปน็ ตน้

คณุ คา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์

๖) สาํ นวน แสดงเน้อื หาทีใ่ ห้ข้อคิดสอนใจ
ซึง่ ตรงกบั สาํ นวนไทย เชน่

บทที่ ๑ ตรงกบั สาํ นวนว่า ทําดีไดด้ ี ทําช่วั ไดช้ ว่ั
บทท่ี ๔ ตรงกบั สํานวนวา่ ฟงั หูไว้หู

บทที่ ๑๐ ตรงกบั สาํ นวนวา่ กระต่ายตนื่ ตมู

คณุ ค่าดา้ นวรรณศลิ ป์

๗) คาํ อนุโลม คือ คําที่ปกตไิ มใ่ ชก้ ัน
แตใ่ ชใ้ นบทรอ้ ยกรองไดใ้ นกรณีท่ีหาคําตามลกั ษณะ

บงั คับของฉนั ทลักษณน์ น้ั ๆ ไม่ได้ เช่น
• คาํ โทโทษ “ขนั ตีมีมากหมนั้ สันดาน” หมน้ั

เปน็ คําโทโทษแทนคําว่า ม่นั
• คาํ สลับที่ “ใดกจิ ผดิ พลาดแล้ว ไปละ ลืมเลย”

ใดกจิ สลบั คําจาก กิจใด

คณุ คา่ ด้านวรรณศลิ ป์

• คาํ เอก - คาํ โท “สามารถอาจห้ามงด วาจา
ตนเฮย” ห้ามงด สลับตําแหนง่ คาํ เอก - คําโท

โดยคาํ ว่า งด เปน็ คาํ ตายท่ีใช้แทนคาํ เอก
• คาํ ยัตภิ งั ค์ “คาํ หยาบจาบจ้วงอา - ฆาตชู
เขญ็ เฮย” แยกคาํ มาจากคาํ วา่ อาฆาต โดยใช้

ยตั ิภังค์ เพ่ือใหร้ วู้ ่าเป็นคําเดียวกัน

คณุ คา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์

๘) คาํ สมั ผสั การเล่นคําสมั ผัสในวรรค และ
ระหว่างวรรคชว่ ยให้เกิดเสียงไพเราะ และเนน้
เนื้อความใหเ้ ด่นชัดขน้ึ ในโคลงสภุ าษิตนฤทมุ นาการ

มีทั้งสมั ผัสอกั ษรและสมั ผสั สระ

คณุ ค่าดา้ นวรรณศลิ ป์

๙) คําอธิบายเนอื้ ความเดน่ ชัด คอื การใชค้ าํ น้อย
แตก่ นิ ความมาก ความหมายของคํา
อธบิ ายความไดช้ ดั เจน



คณุ คา่ ด้านสงั คม

๑) สะทอ้ นใหเ้ หน็ ค่านิยมดา้ นความประพฤติ
โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ แสดงใหเ้ หน็ ว่าการมี
ความประพฤติทด่ี จี ะเปน็ รากฐานของการอย่รู ว่ มกัน

อยา่ งสงบสุข

คณุ ค่าด้านสังคม

๒) สะทอ้ นให้เหน็ วัฒนธรรมด้านการพูด
สงั คมไทยเปน็ สงั คมทใ่ี หค้ วามสําคญั กับคาํ พดู
วธิ กี ารพูด และมารยาทในการพูด ซง่ึ กวีได้
สะท้อนให้เห็นในโคลงสุภาษิตนฤทมุ นาการด้วย

คณุ ค่าด้านสงั คม

๓) สะทอ้ นใหเ้ ห็นความเชือ่ ทางศาสนา
หลักธรรมทางศาสนาสอนใหค้ นประพฤตติ น
เป็นคนดี ให้คนทาํ ดตี อ่ กัน ช่วยเหลือเกอื้ กูลกัน


Click to View FlipBook Version