The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by จิรวดี ประเมินชัย, 2020-02-26 12:30:13

ระบบเศรษฐกิจในโลกยุคปัจจุบัน สำคัญอย่างไร

ระบบเศรษฐกิจ

ระบบเศรษฐกิจ
ในโลกยุคปจจุปน
สําคัญอย่างไร...

 

เ รี ย บ เ รี ย ง โ ด ย

น า ง ส า ว จิ ร ว ดี ป ร ะ เ มิ น ชั ย เ ล ข ที 1 0
น า ง ส า ว ภั ท ร ด า ค ร้ อ ย เ ชี ย ง ข อ ง เ ล ข ที 2 3

คํานาํ

รายงานเลม่ นจี ัดทําขึนเพอื เปนสว่ นหนึงของวชา
เศรษฐศาสตร์ ชันมธั ยมศึกษาปที 6 เพือได้ศึกษา
หาความรู้ในเรองเศรษฐศาสตร์ และไดศ้ กึ ษาอยา่ ง
เขา้ ใจเพอื เปนประโยชน์กบั การเรยน

ผ้จู ดั ทําหวงั วา่ รายงานเล่มนจี ะเปนประโยชน์
ไหก้ ับผอู้ ่านหรอนกั เรยน นักศกึ ษ ทีกาํ ลังหาขอ้ มลู
ในเรองนอี ยู่ หากมขี อ้ ผดิ พลาดประการใด ผู้จดั ทํา
ขออภัย มา ณทนี ีดว้ ย

ผจู้ ดั ทํา
นางสาวจิรวดี ประเมินชัย เลขที 10
นางาสาวภัทรดา คร้อยเชยี งของ เลขที 23

สารบัญ ก

คํานาํ 1
สารบญั 2-4
เศรษฐกจิ คอื อะไร
หนว่ ยของเศรษฐกิจ

ระบบเศรษฐกจิ 5-6

ตลาดในระบบเศรษฐกจิ 7-8

การกาํ หนดราคาในระบบเศรษฐกิจ 9-10

บรรณานกุ รม ค

เศรษฐกจิ คอื อะไร

คําวา่ เศรษฐกจิ (economy) เปนเรองของความพยายามใน
การดําเนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกิจ (economic activities) ให้
เกดิ ประสทิ ธิภาพสูงสดุ ไมว่ า่ จะเปนกิจกรรมทเี กียวกับการผลิต
(production) การบรโภค (consumption) หรอ การจําหนา่ ย
จ่ายแจกสินคา้ และบรการ (distribution) ทังนีเพราะทกุ สงั คมใน
โลกต่างประสบกับปญหาพนื ฐานทางเศรษฐกจิ ร่วมกนั นนั คือความ
ไมส่ มดุลระหวา่ งทรัพยากรทจี ะใชใ้ นการผลติ สินคา้ และบรการซึงมี
อยู่จาํ กดั กับความตอ้ งการของมนุษยซ์ งึ มีอยู่ไม่จาํ กัด

1

หนว่ ยของเศรษฐกจิ

''หน่วยทางเศรษฐกิจ''

หน่วยเศรษฐกจิ หมายถงึ บคุ คลหรอองคก์ รตา่ งๆ
ซึงเปนผู้ประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจและกจิ กรรม
อืนๆ ทีเกยี วขอ้ งกับการดาํ เนินชีวตทางเศรษฐกิจ หนว่ ย

เศรษฐกจิ ประกอบด้วย 3 กลุม่ ใหญๆ่ แต่ละหน่วย
มอี งค์ประกอบ หน้าที และเปาหมาย แตกตา่ งกนั ดงั นี

2

1. ฝายครัวเรอน (household)

ทําหน้าท ี 2  ประการ ได้แก ่               
1) ขายปจจยั การผลิตของคนแก่ฝายผลติ              
2)  บรโภคสินค้าและบรการต่างๆ     
   
จดุ มงุ่ หมายสาํ คญั คอื ต้องการให้สมาชกิ ทุกคนในครัว
เรอนไดร้ ับความพอใจสูงสดุ   หรอไดร้ ับสวัสดกิ ารสูงสุด

3

 2. ฝายผลิต (firm) หรอฝายธรุ กิจ (business)

ทําหน้าที  2  ประการ ไดแ้ ก่
1) ผลิตสนิ คา้ และบรการ             
2) กระจายสินค้าและบรการ และกระจายรายไดใ้ ห้แก่

เจ้าของปจจยั การผลติ  
   
จดุ มุ่งหมายสาํ คัญ คอื ตอ้ งการแสวงหากาํ ไรสงู สุดจากการ
ประกอบการ

3. ฝายรัฐบาล (government)  

ทาํ หนา้ ที เปนทังผผู้ ลิต  ผูบ้ รโภค  และเจ้าของปจจยั
การผลิต  โดยมีจดุ มุ่งหมายเพอื สง่ เสรมสนับสนนุ   และ
ควบคมุ ดูแลฝายอืนๆ  ในระบบเศรษฐกิจใหเ้ ปนไปตามที
ประเทศต้องการ

4

ระบบของเศรษฐกจิ

ระบบเศรษฐกจิ หมายถงึ หน่วยเศรษฐกิจที
รวมตัวกนั ทาํ กิจกรรมทางเศรษฐกิจภายใต้รูปแบบ
การปกครอง  จารตประเพณี  สังคม  และ
วฒั นธรรมของแต่ละประเทศ  เพอื กําหนดวา่ จะ
ผลติ อะไร  จํานวนมากนอ้ ยเท่าใด  ใช้วธีการผลติ
อยา่ งไร  และผลติ เพือขายให้ใคร

5

ระบบเศรษฐกิจในปจจบุ นั ทีสําคัญ
มี 3 รูปแบบ คือ  

1. ระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยม (Capitalism)
   หมายถงึ ระบบเศรษฐกิจทีเอกชนสามารถมีกรรมสทิ ธใิ น
ทรัพยส์ นิ ต่างๆ  มเี สรภาพในการเลือกทจี ะประกอบกจิ กรรม
ทางเศรษฐกิจอยา่ งเต็มที

2. ระบบเศรษฐกิจแบบบงั คบั  
เปนระบบเศรษฐกจิ ทีรัฐจะเปนผวู้ างแผนการผลิตจากสว่ น
กลาง  มกี ารจาํ กดั กรรมสิทธิในทรัพยส์ นิ ส่วนบุคคล  และการ
ทาํ งานของกลไกราคา  แต่เนน้ การกระจายรายไดท้ ีเปนธรรม
แก่ประชาชน  ระบบนีมี  2  รูปแบบ คอื

- ระบบสงั คมนิยม คอื ระบบเศรษฐกจิ ทรี ัฐบาลเขา้ ไปเปน
ผูด้ าํ เนินการผลติ โดยเน้นในดา้ นสวสั ดิการของประชาชนใน
ประเทศเปนหลัก
  - ระบบคอมมวิ นิสต์ เปนระบบเศรษฐกจิ ทีรัฐบาลเปน
เจ้าของปจจัยการผลติ ทกุ ชนิด   โดยรัฐบาลเปนผดู้ าํ เนนิ การ
ในการตดั สินใจทงั ทางเศรษฐกิจและสังคม   

3. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy)
คือ ระบบเศรษฐกจิ ทีนําลกั ษณะสาํ คัญของระบบทนุ นยิ มและ
สงั คมนิยมมารวมไวด้ ว้ ยกนั

6

ตลาดในระบบเศรษฐกิจ

ตลาดในระบบเศรษฐกิจ นบั วา่ มีความสาํ คัญเปนอย่าง
มาก เนืองจากตลาดทาํ หนา้ ทเี ชือมโยงระหวา่ งผ้ผู ลติ กับผู้
บรโภค ซึงจะชว่ ยทําใหส้ ินค้าจากแหล่งผลติ ไปสูผ่ ู้บรโภค
และยงั ช่วยให้ผู้บรโภคมีสินคา้ และบรการมาบําบัดความ
ตอ้ งการได้อยา่ งทวั ถึง

ตลาด หมายถงึ การซอื ขายสินคา้ อย่างใดอยา่ งหนึง
หรอภาวะการณ์ในการซือขายสินคา้ นันๆ ซึงกห็ มายถงึ วา่
การซอื ขายไมจ่ าํ เปนต้องมตี ลาดเปนตวั ตน ผู้ซอื และผู้ขาย
ไม่จาํ เปนต้องมาพบกนั เพียงแต่ใช้เครองมอื สือสารตกลง
กนั

7

ความสําคัญของตลาด

1.ช่วยให้ผู้ผลิตทาํ การผลิตสินคา้ ให้ตรงกับความต้องการ
ของผบู้ รโภค ชว่ ยลดความสินเปลอื งทรัพยากรผลติ
สนิ ค้าทีเกนิ ความตอ้ งการ

2. ชว่ ยให้ผบู้ รโภคมีมาตรฐานการครองชพี สงู ขนึ 3. ช่วยให้
เศรษฐกจิ ของประเทศขยายตวั สงู ขึน เนอื งจากตลาดมีการ
จา้ งงาน

ลกั ษณะตลาดในระบบเศรษฐกิจ

ถ้าแบง่ ตลาดในทางเศรษฐกจิ ออกตามลกั ษณะของการ
แข่งขนั อาจแบ่งได ้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

1.ตลาดทีมกี ารแข่งขนั สมบรู ณ์ 
2.ตลาดทมี กี ารเขง่ ขันไมส่ มบรู ณ์

8

การกาํ หนดราคาใน
ระบบของเศรษฐกจิ

1. ใหก้ ลไกราคาเปนเครองมอื ในการกาํ หนดราคาสนิ คา้ และบร การ
ซงึ จะเปลยี นแปลงไปตามแรงผลักดันของอปุ สงค์และอุปทาน
2. รัฐบาลกําหนดราคาสินคา้ และบรการด้วยการควบคุมและ
แทรกแซงราคาสินคา้ และบรการดว้ ยวธีกาํ หนดราคาเมอื สินคา้ ที
จําเปนขาดตลาด เพอื ชว่ ยเหลือผบู้ รโภค การประกันราคาขันตําเพือ
ช่วยเหลอื ผู้ผลติ การพยงุ ราคาสนิ ค้าไม่ใหต้ กตํามากเกินไป เพอื ช่วย
เหลือผู้ผลติ หรอผ้ขู ายไมใ่ ห้ขาดทุน

9

อปุ สงค์ (demand)

หมายถงึ ปรมาณความตอ้ งการซอื สินค้าหรอบรการชนดิ ใดชนิด
หนึงทผี ูบ้ รโภคมคี วามเตม็ ใจทจี ะซือ และสามารถซอื หามาได้ในขณะ
ใดขณะหนงึ ณ ระดับราคาตา่ งๆทีตลาดกําหนดมาให้

ประกอบดว้ ย 3 สว่ นทสี าํ คัญ คอื
- ความตอ้ งการซือ (wants)
- ความเต็มใจทจี ะจ่าย (willingness to pay)
- ความสามารถทจี ะซอื  (purchasing power or ability to
pay)

อปุ ทาน (supply)

หมายถึง ปรมาณความต้องการซอื สินคา้ หรอบรการชนดิ ใดชนิด
หนหึ มายถงึ ปรมาณความตอ้ งการเสนอขายสนิ คา้ หรอบรการชนิด
ใดชนดิ หนงึ ทีผผู้ ลติ หรอผปู้ ระกอบการมีความเตม็ ใจทีจะเสนอขาย
และสามารถจัดหามาขายหรอใหบ้ รการไดใ้ นขณะใดขณะหนึง ณ
ระดับราคาตา่ งๆทีตลาดกําหนดมาให้

ประกอบด้วย 2 สว่ นสาํ คัญ คือ
- ความเตม็ ใจทีจะเสนอขายหรอให้บรการ (willingness)
- ความสามารถในการจดั หามาเสนอขายหรอใหบ้ รการ (ability
to sell)

10

บรรณานกุ รม

https://sites.google.com/site/sujinthorn4444/
rabb-sersthkic

https://sites.google.com/site/krupop17/sersth-
sat-r/rabb-sersthkic/tlad-ni-rabb-sersthkic-1
http://119.46.166.126/self_all/selfaccess9/m

3/200/social_lesson6/lesson6.php



Economic
system


Click to View FlipBook Version