The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนและนักท่องเที่ยวในการพัฒนาของวัดและชุมชนในล้านนา ๒) เพื่อศึกษากระบวนการสร้างจิตสานึกในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของวัดและชุมชนในล้านนา ๓) เพื่อวิเคราะห์การสร้างจิตสานึกกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวของวัดและชุมชนในล้านนา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน โดยการวิจัย เชิงปริมาณใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ๔๐๐ คน การวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่มย่อย พระสังฆาธิการ พระสงฆ์ ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๑๒ รูป/คน เพื่อนามาวิเคราะห์กระบวนการสร้างจิตสานึกในการพัฒนาการท่องเที่ยว
ผลการศึกษาวิจัยพบว่า
๑. การมีส่วนร่วมของชุมชนและนักท่องเที่ยวในการพัฒนาของวัดและชุมชนในล้านนาพบว่า ด้านความตระหนัก วัดและชุมชนควรมีการศึกษาและประเมินผลกระทบที่เกิดจากการใช้ประโยชน์ด้านการท่องเที่ยว ด้านความรับผิดชอบในสิ่งที่คิดและกระทาอยู่เสมอ วัดและชุมชนปลูกฝังให้นักท่องเที่ยวและบุคคลทั่วไปมีค่านิยมในการช่วยกันอนุรักษ์วัฒนธรรม ระมัดระวังขณะเข้าชมสถานที่ท่องเที่ยวไม่ให้ทรุดโทรมหรือเสียหาย ด้านการเล็งเห็นความสาคัญ วัดและชุมชนควรมีการจัดทาประชาสัมพันธ์ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว เพื่อให้นักท่องเที่ยวเกิดความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของท้องถิ่นนั้น ๆ ด้านความจาเป็น วัดและชุมชนความปลูกจิตสานึกให้แก่เยาวชนและคนในชุมชนให้เห็นถึงคุณค่าของวัฒนธรรมที่มีมาตั้งแต่อดีต ด้านความรับผิดชอบ นักท่องเที่ยวมีความเห็นว่า วัดและชุมชนควรแสวงหาความร่วมมือกัน เพื่อให้เกิดการช่วยเหลือของบุคคลภายในชุมชนและรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกัน
๒. กระบวนการสร้างจิตสานึกในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของวัดและชุมชนในล้านนา พบว่าวัดและชุมชน ควรส่งเสริมอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ภาครัฐควรมีนโยบายด้านการสร้างมัคคุเทศก์ไปประจาวัดที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโบราณสถาน โบราณวัตถุที่มีอยู่ในวัดเหล่านั้น วัดจัดทาป้ายภาษาทั้งภาษาไทย

ภาษาอังกฤษและภาษาจีน เพื่อแสดงประวัติความเป็นมาและความสาคัญของสถานที่สาคัญของวัด รวมทั้งป้ายประชาสัมพันธ์ข้อควรปฏิบัติเกี่ยวกับการแต่งกายและการประพฤติที่เหมาะสม วัดจัดสร้างสภาพแวดล้อมภายในให้มีความร่มรื่น และนักท่องเที่ยวควรปฏิบัติตามกฎระเบียบของวัดที่ได้มีการติดป้ายประกาศและเอกสารประชาสัมพันธ์
๓. วิเคราะห์การสร้างจิตสานึกกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวของวัดและชุมชนในล้านนาพบว่าควรเสริมสร้างความรู้แก่บุคลากรภายในชุมชนเพื่อรองรับกิจกรรมการจัดการท่องเที่ยว การจัดสรรพื้นที่ของวัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดและพัฒนาจิตสานึกในการท่องเที่ยว วัดต้องนาเอกลักษณ์ที่เป็นจุดเด่นเฉพาะพื้นที่ เผยแพร่สู่สาธารณชนให้อยากมาท่องเที่ยว หน่วยงานภาครัฐและเอกชนต้องช่วยเหลือผักดันให้กิจกรรมสาเร็จ และควรใช้มาตรการ ๑)การอนุรักษ์ วัดจะต้องไม่ทาลาย ศาสนสถานและสถาปัตยกรรมแบบล้านนาดั้งเดิม ๒) การป้องกัน วัดจะต้องไม่สร้างสถาปัตยกรรมแปลกปลอม หรือมีสิ่งปลูกสร้างบดบังทัศนียภาพของศาสนสถาน ๓) ความเข้าใจ วัดควรมีการบริหารจัดการในด้านความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความมีสุขอนามัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ฐานข้อมูลห้องสมุด, 2023-10-16 00:39:20

กระบวนการสร้างจิตสานึกในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของวัด และชุมชนในล้านนา : The Process of Raising Consciousness in Cultural Tourism Development of Temples and Communities in Lanna

การวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนและนักท่องเที่ยวในการพัฒนาของวัดและชุมชนในล้านนา ๒) เพื่อศึกษากระบวนการสร้างจิตสานึกในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของวัดและชุมชนในล้านนา ๓) เพื่อวิเคราะห์การสร้างจิตสานึกกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวของวัดและชุมชนในล้านนา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน โดยการวิจัย เชิงปริมาณใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ๔๐๐ คน การวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่มย่อย พระสังฆาธิการ พระสงฆ์ ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๑๒ รูป/คน เพื่อนามาวิเคราะห์กระบวนการสร้างจิตสานึกในการพัฒนาการท่องเที่ยว
ผลการศึกษาวิจัยพบว่า
๑. การมีส่วนร่วมของชุมชนและนักท่องเที่ยวในการพัฒนาของวัดและชุมชนในล้านนาพบว่า ด้านความตระหนัก วัดและชุมชนควรมีการศึกษาและประเมินผลกระทบที่เกิดจากการใช้ประโยชน์ด้านการท่องเที่ยว ด้านความรับผิดชอบในสิ่งที่คิดและกระทาอยู่เสมอ วัดและชุมชนปลูกฝังให้นักท่องเที่ยวและบุคคลทั่วไปมีค่านิยมในการช่วยกันอนุรักษ์วัฒนธรรม ระมัดระวังขณะเข้าชมสถานที่ท่องเที่ยวไม่ให้ทรุดโทรมหรือเสียหาย ด้านการเล็งเห็นความสาคัญ วัดและชุมชนควรมีการจัดทาประชาสัมพันธ์ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว เพื่อให้นักท่องเที่ยวเกิดความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของท้องถิ่นนั้น ๆ ด้านความจาเป็น วัดและชุมชนความปลูกจิตสานึกให้แก่เยาวชนและคนในชุมชนให้เห็นถึงคุณค่าของวัฒนธรรมที่มีมาตั้งแต่อดีต ด้านความรับผิดชอบ นักท่องเที่ยวมีความเห็นว่า วัดและชุมชนควรแสวงหาความร่วมมือกัน เพื่อให้เกิดการช่วยเหลือของบุคคลภายในชุมชนและรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกัน
๒. กระบวนการสร้างจิตสานึกในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของวัดและชุมชนในล้านนา พบว่าวัดและชุมชน ควรส่งเสริมอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ภาครัฐควรมีนโยบายด้านการสร้างมัคคุเทศก์ไปประจาวัดที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโบราณสถาน โบราณวัตถุที่มีอยู่ในวัดเหล่านั้น วัดจัดทาป้ายภาษาทั้งภาษาไทย

ภาษาอังกฤษและภาษาจีน เพื่อแสดงประวัติความเป็นมาและความสาคัญของสถานที่สาคัญของวัด รวมทั้งป้ายประชาสัมพันธ์ข้อควรปฏิบัติเกี่ยวกับการแต่งกายและการประพฤติที่เหมาะสม วัดจัดสร้างสภาพแวดล้อมภายในให้มีความร่มรื่น และนักท่องเที่ยวควรปฏิบัติตามกฎระเบียบของวัดที่ได้มีการติดป้ายประกาศและเอกสารประชาสัมพันธ์
๓. วิเคราะห์การสร้างจิตสานึกกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวของวัดและชุมชนในล้านนาพบว่าควรเสริมสร้างความรู้แก่บุคลากรภายในชุมชนเพื่อรองรับกิจกรรมการจัดการท่องเที่ยว การจัดสรรพื้นที่ของวัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดและพัฒนาจิตสานึกในการท่องเที่ยว วัดต้องนาเอกลักษณ์ที่เป็นจุดเด่นเฉพาะพื้นที่ เผยแพร่สู่สาธารณชนให้อยากมาท่องเที่ยว หน่วยงานภาครัฐและเอกชนต้องช่วยเหลือผักดันให้กิจกรรมสาเร็จ และควรใช้มาตรการ ๑)การอนุรักษ์ วัดจะต้องไม่ทาลาย ศาสนสถานและสถาปัตยกรรมแบบล้านนาดั้งเดิม ๒) การป้องกัน วัดจะต้องไม่สร้างสถาปัตยกรรมแปลกปลอม หรือมีสิ่งปลูกสร้างบดบังทัศนียภาพของศาสนสถาน ๓) ความเข้าใจ วัดควรมีการบริหารจัดการในด้านความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความมีสุขอนามัย

Keywords: กระบวนการสร้างจิตสานึก, การพัฒนา, การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

๑๓๙ ประวัติหัวหน้าโครงการวิจัย ๑. ชื่อ ฉายา/นามสกุล ผศ.ดร.ฤทธิชัย แกมนาค ๒. วัน เดือน ปีเกิด ๑๕ กันยายน ๒๕๐๗ ๓. วุฒิการศึกษา ศศบ.(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามค าแหง, พ.ศ.๒๕๓๐ MA(Pol.Sc.) Banaras Hindu University, พ.ศ. ๒๕๔๔ Ph.D. (Soc.Sc.) Magadh University India, พ.ศ. ๒๕๕๐ ๔. ต าแหน่ง อาจารย์ประจ า วิทยาลัยสงฆ์เชียงราย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๕. ที่อยู่ วิทยาลัยสงฆ์เชียงราย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ศาลากลางจังหวัดเชียงราย (หลังเดิม) ถนนฤทธิประศาสน์ ต าบลเวียง อ าเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย ๕๗๐๐๐ โทรศัพท์ ๐-๕๓๗๑-๗๐๕๕, มือถือ ๐๘-๓๕๗๓-๗๖๘๓ โทรสาร ๐-๕๓๗๑-๕๘๗๖ E-mail : [email protected] ประวัติผู้ร่วมวิจัย ๑ ๑. ชื่อ ฉายา/นามสกุล พระครูวิมลศิลปกิจ (เรืองฤทธิ์ ธนปญฺโญ) ผศ. ดร. ๒. วัน เดือน ปีเกิด ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๐๑ ๓. วุฒิการศึกษา น.ธ.เอก, พธ.บ.(สังคมศึกษา), มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๕ ค.ม.(การบริหารการศึกษา),มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. พ.ศ. ๒๕๔๘ Ph.D.(Local Wisdom), Bodhisastra University, FL. USA., พ.ศ.๒๕๖๐ ๔. ต าแหน่ง อาจารย์ประจ าสาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๕. ที่อยู่ วิทยาลัยสงฆ์เชียงราย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ศาลากลางจังหวัดเชียงราย (หลังเดิม) ถนนฤทธิประศาสน์ ต าบลเวียง อ าเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย ๕๗๐๐๐ โทรศัพท์ ๐-๕๓๗๑-๗๐๕๕, มือถือ ๐๘-๑๙๖๑-๓๓๔๕


๑๔๐ โทรสาร ๐-๕๓๗๑-๕๘๗๖ E-mail: [email protected] ประวัติผู้ร่วมวิจัย ๒ ๑. ชื่อ /นามสกุล นางสุภัชชา พันเลิศพาณิชย์ ๒. วัน เดือน ปีเกิด ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๐๗ ๓. วุฒิการศึกษา กศ.บ. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโวฒ ๒๕๓๐ รปศ. มหาวิทยาลัย ราชภัฎเชียงราย ๒๕๕๕ ๔. ต าแหน่ง นักวิจัยอิสระ ๕. ที่อยู่ ๖๔๙/๒ ถนนวัดใหม่หน้าค่าย ซอย ๑๕ ต าบลเวียง อ าเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย ๕๗๐๐๐ โทรศัพท์ มือถือ ๐๘๘—๘๕๙๕๕๓๗ E-mail [email protected]


Click to View FlipBook Version