๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ มีวินัย ๖.๒ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๓ มุ่งมั่นในการทำงาน ๗. ภาระงาน ๗.๑ กิจกรรมบอกใบ้ทายสำนวน ๗.๒ กิจกรรมผีถ้วยแก้ว ๘. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ๘.๑ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๘.๑.๑ นักเรียนร่วมกันทายภาพสำนวน สุภาษิต และคำพังเพยจากภาพ เพื่อเป็นการ เชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน ๘.๒ ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๘.๒.๑ นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง สำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต แล้วร่วมกันสรุป ความเข้าใจ ครูเป็นผู้อธิบายเพิ่มเติม ๘.๒.๒ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น ๔ กลุ่มเท่าๆกัน หลังจากนั้นให้แต่ละทีมจับสลากว่า จะได้เล่นเกม “ผีถ้วยแก้ว” คู่กับกลุ่มใด โดยรับฟังกติการ่วมกัน ๘.๒.๓ นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอสำนวนสุภาษิตที่กลุ่มตนเองได้รับ ๘.๓ ขั้นสรุป ๘.๓.๑ นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ คำพังเพยและสุภาษิตเป็นถ้อยคำสำนวนที่มุ่งให้คติในการดำเนินชีวิต โดยคำพังเพยมี ความหมายกลางๆ ที่แฝงข้อคิดเตือนใจให้นำไปปฏิบัติ ส่วนสุภาษิตมุ่งเน้นการสั่งสอน ตักเตือนให้จดจำ ในโคลงโลกนิติมีคำสอนที่สอดคล้องกับคำพังเพยและสุภาษิต การเข้าใจเนื้อหาทำให้สามารถนำคำพังเพย และสุภาษิตไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ๘.๓.๒ ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คำถามท้าทาย ดังนี้ -เพราะเหตุใดคำสอนในสุภาษิตและคำพังเพยจึงใช้ได้เสมอไม่ว่าจะยุคสมัยใด ๙.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๙.๑ ภาพสำนวน สุภาษิต ๙.๒ บัตรกิจกรรม “ผีถ้วยแก้ว” ๙.๒ พาวเวอร์พ้อย
๑๐.การวัดและการประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน ๑. นักเรียนบอกความหมายของ สำนวน สุภาษิต และคำพังเพยได้ (K) ตอบคำถาม คำถามในชั้น เรียน นักเรียนตอบคำถามได้ถูกต้อง ร้อยละ ๗๐ ๒. นักเรียนจับคู่สำนวน สุภาษิต ถูกต้อง (P) จับคู่ ความหมาย สำนวนสุภาษิต กิจกรรม สำนวนสุภาษิต นักเรียนตอบคำถามได้ถูกต้องผ่าน เกณฑ์ร้อยละ ๗๐ ๓. นักเรียนตระหนักถึงคุณค่าของ สำนวนไทย (A) ตอบคำถาม คำถามในชั้น เรียน นักเรียนตอบคำถามได้ถูกต้องร้อย ละ ๗๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ สำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต เวลา ๓ ชั่วโมง เรื่อง ลักษณะของสุภาษิตและคำพังเพย เวลา ๑ ชั่วโมง วันที่สอน ๓๐ พฤศจิกายน พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๐๘.๒๐-๐๙.๑๐ น. สอนชั้น ม.๑/๖ เวลา ๑๐.๑๐-๑๑.๐๐ น. สอนชั้น ม.๑/๕ ๔ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๑๒.๕๕-๑๓.๔๕ น. สอนชั้น ม.๑/๔ ครูผู้สอน นางสาวศรีเพรชรี ภักดีปัญญา โรงเรียนท่าบ่อ ๑.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ พลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ม. ๑/๖ จำแนกและใช้สำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต ๒. สาระสำคัญ สำนวนเป็นถ้อยคำที่ใช้สืบเนื่องกันมาช้านาน โดยมีความหมายในเชิงเปรียบเทียบสุภาษิตและคำ พังเพยจัดอยู่ในสำนวน โดยมีหลักการสังเกตที่นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ ๓.จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรียนบอกความหมายของสำนวน สุภาษิต และคำพังเพยได้ (K) ๓.๒ จำแนกความแตกต่างของสำนวนที่เป็นสุภาษิตและคำพังเพยได้(P) ๓.๓ นักเรียนตระหนักถึงคุณค่าของสำนวนไทย (A) ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ ลักษณะของสุภาษิต และคำพังเพย ๕. สมรรถนะสำคัญ ๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๕.๒ ความสามารถในการคิด ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ มีวินัย ๖.๒ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๓ มุ่งมั่นในการทำงาน
๗. ภาระงาน ๗.๑ แบบฝึกหัดเรื่อง สำนวน สุภาษิตและคำพังเพย ๘. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๘.๑ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๘.๑.๑ นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และสังเกตสำนวนจากบัตรภาพที่ครูยกตัวอย่าง ดังต่อไปนี้ ว่ามีความหมายอย่างไร และครูอธิบายเพิ่มเติมจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน ดังนี้ -คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ -ตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ ๘.๒ ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๘.๒.๑ นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง ลักษณะของสำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต แล้ว ร่วมกันสรุปความเข้าใจ ครูเป็นผู้อธิบายเพิ่มเติม ๘.๒.๒ นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม “เพราะเราคู่กัน” โดยครูจะมีแถบประโยคสำนวนที่ เป็นสุภาษิตและคำพังเพย และแถบความหมาย แจกให้นักเรียนทุกคน ๘.๒.๓ ให้นักเรียนเดินหาคู่ของตนเอง โดยสำนวนสุภาษิต และคำพังเพยต้องมี ความหมายที่ตรงกัน ๘.๒.๔ ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของแต่ละคู่ และร่วมกันจำแนก สำนวนนั้นเป็นสุภาษิตหรือคำพังเพย ๘.๓ ขั้นสรุป ๘.๓.๑ นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ และครูมอบหมายงานให้นักเรียนทำ แบบฝึกหัดการจำแนกสำนวนเป็นการบ้าน ๙. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๙.๑ แบบฝึกหัดการจำแนกสำนวนสุภาษิตและคำพังเพย ๙.๒ แถบประโยค ๑๐.การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน ๑. นักเรียนบอกความหมายของสำนวน สุภาษิต และคำพังเพยได้ (K) จับคู่สำนวน กิจกรรมเพราะเราคู่กัน นักเรียนตอบคำถามได้ ถูกต้องร้อยละ ๗๐
๒. จำแนกความแตกต่างของสำนวนที่ เป็นสุภาษิตและคำพังเพยได้(P) ตอบคำถาม แบบฝึกหัดจำแนกสำนวน สุภาษิตและคำพังเพย นักเรียนตอบคำถามได้ ถูกต้องร้อยละ ๗๐ ๓. นักเรียนตระหนักถึงคุณค่าของสำนวน ไทย (A) สังเกต พฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนผ่านเกณฑ์การ ประเมินในระดับดี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ สำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต เวลา ๓ ชั่วโมง เรื่อง คุณค่าของสุภาษิตและคำพังเพย เวลา ๑ ชั่วโมง วันที่สอน ๔ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๑๓.๕๐-๑๔.๔๐ น. สอนชั้น ม.๑/๕ ๕ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๑๒.๕๕-๑๓.๔๕ น. สอนชั้น ม.๑/๖ เวลา ๑๒.๕๕-๑๓.๔๕ น. สอนชั้น ม.๑/๔ ครูผู้สอน นางสาวศรีเพรชรี ภักดีปัญญา โรงเรียนท่าบ่อ ๑.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ พลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ม. ๑/๖ จำแนกและใช้สำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต ๒. สาระสำคัญ สำนวนที่มีใช้ในชีวิตประจำวันควรใช้ให้เหมาะกับสถานการณ์และบริบทต่างๆ เพื่อให้การ สื่อสารมีประสิทธิผล และผู้ฟังหรือผู้อ่านก็จะสามารถตีความและเข้าใจสำนวนนั้นได้อย่างถูกต้อง ๓.จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรียนบอกคุณค่าของสำนวน สุภาษิต และคำพังเพยได้ (K) ๓.๒ นักเรียนสามารถวิเคราะห์ความหมายของสำนวนที่เป็นสุภาษิตและคำพังเพยได้(P) ๓.๓ นักเรียนตระหนักถึงคุณค่าของสำนวนไทย (A) ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ คุณค่าของสุภาษิต และคำพังเพย ๕. สมรรถนะสำคัญ ๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๕.๒ ความสามารถในการคิด ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ มีวินัย ๖.๒ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๓ มุ่งมั่นในการทำงาน
๗. ภาระงาน ๗.๑ กิจกรรมจิ๊กซอว์หรรษา ๘. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๘.๑. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๘.๒.๑ ให้นักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นเรื่อง “คุณค่าของสำนวนไทย” จากนั้นครูเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน ๘.๒ ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๘.๒.๑ นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น ๖ กลุ่ม เล่นกิจกรรม “จิ๊กซอว์หรรษา” ดังนี้ -ครูจะมีจิ๊กซอว์ให้นักเรียนทำกิจกรรม ๖ ชุด พร้อมความหมาย -นักเรียนแต่ละกลุ่มจักสลากหมายเลขเพื่อที่จะได้เลือกภาพจิ๊กซอว์ -นักเรียนแต่ละกลุ่มต่อจิ๊กซอว์เสร็จจึงจะมีสิทธิ์ไปเลือกหาความหมายให้ตรงกับ ภาพของตัวเอง กลุ่มไหนต่อเสร็จก่อนและหาความหมายได้ตรงกับภาพเป็นฝ่ายชนะ ๘.๒.๒ นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอภาพพร้อมความหมายในกลุ่มของตน และครู ตรวจสอบความถูกต้อง ๘.๒.๓ นักเรียนจดบันทึกสำนวนสุภาษิต และคำพังเพยของทุกกลุ่ม จากนั้นให้นักเรียน บอกว่าจะนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไร ๘.๓ ขั้นสรุป ๘.๓.๑ นักเรียนและครูร่วมกันสรุปคุณค่าของสำนวนไทย ๙. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๙.๑ จิ๊กซอว์หรรษา ๑๐.การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ๑ นักเรียนบอกคุณค่าของสำนวน สุภาษิต และคำพังเพยได้ (K) เขียนการนำ สำนวนสุภาษิต คำพังเพยไป ประยุกต์ใช้ ตรวจสมุด นักเรียนตอบคำถามได้ถูกต้อง ร้อยละ ๗๐ ๒ นักเรียนสามารถวิเคราะห์ ความหมายของสำนวนที่เป็นสุภาษิต และคำพังเพยได้(P) กิจกรรมจิ๊กซอว์ หรรษา กิจกรรมจิ๊ก ซอว์หรรษา นักเรียนตอบคำถามได้ถูกต้อง ร้อยละ ๘๐
๓ นักเรียนตระหนักถึงคุณค่าของ สำนวนไทย (A) ตอบคำถาม ตรวจสมุด นักเรียนตอบคำถามผ่านเกณฑ์ใน ระดับดี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ อ่านคิดพินิจคุณค่า เวลา ๕ ชั่วโมง เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากเพลง เวลา ๑ ชั่วโมง วันที่สอน ๕ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๑๒.๐๐-๑๒.๕๐ น. สอนชั้น ม.๑/๖ เวลา ๑๒.๕๕-๑๓.๔๕ น. สอนชั้น ม.๑/๕ ๗ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๐๙.๑๕-๑๐.๐๕ น. สอนชั้น ม.๑/๔ ครูผู้สอน นางสาวศรีเพรชรี ภักดีปัญญา โรงเรียนท่าบ่อ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๑/๒ จับใจความสำคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเ อ ียด จากเรื่องที่อ่าน ๒. สาระสำคัญ การอ่านจับใจความสำคัญจากเพลง เป็นการอ่านที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ ข้อความหรือเรื่องราวที่ปรากฏในบทเพลง ซึ่งบทเพลงส่วนใหญ่ไม่ปรากฏตำแหน่งของใจความสำคัญ ดังนั้น ผู้อ่านจะต้องใช้วิธีการจับใจความสำคัญด้วยการสรุปความโดยใช้เทคนิคSQ๔R ผู้ที่มีทักษะการอ่าน จับใจความสำคัญสูงจะสามารถเข้าใจเนื้อหาที่ปรากฏในบทเพลงได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ ซึ่งจะเป็น พื้นฐานในการวิเคราะห์หรือตีความบทเพลงนั้น ๆ ต่อไป ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรียนสามารถบอกใจความสำคัญจากเพลงได้ (K) ๓.๒ นักเรียนสามารถอ่านจับใจความสำคัญจากเพลงได้ถูกต้อง (P) ๓.๓ นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการทำกิจกรรม (A) ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ การอ่านจับใจความสำคัญจากเพลง ๕. สมรรถนะสำคัญของนักเรียน ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๒ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ มีวินัย ๖.๒ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๓ มุ่งมันในการทำงาน ๗.ภาระงาน ๗.๑ แบบฝึกหัดที่ ๑ เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากเพลง ๗.๒ สมุดบันทึกการอ่าน ๘. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (โดยใช้เทคนิค SQ๔R) ๘.๑ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๘.๑.๑ นักเรียนทำกิจกรรม “แผ่นป้ายปริศนา” โดยจะมีแผ่นป้ายปริศนาอยู่ ๓ แผ่น ป้าย และให้นักเรียนสุ่มเปิดแต่ละหมายเลข ให้นักเรียนดูคำใบ้จากแผ่นป้ายและช่วยกันคาดเดาและบอก ชื่อเพลงที่ได้ฟังให้ถูกต้อง ๘.๑.๒ นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น ๕ กลุ่ม โดยคละความสามารถ และกำหนดให้แต่ละกลุ่มมี สมาชิกเท่า ๆ กัน จากนั้นครูจึงเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน ๘.๒ ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ ๑ Survey (S) การอ่านสำรวจ ๘.๒.๑ นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านเนื้อเพลง เรือเล็กควรออกจากฝั่ง อย่างคร่าว ๆ จำนวน ๑ รอบ ๘.๒.๒ นักเรียนอาสาสมัครจำนวน ๑ คน เล่าเรื่องย่อหรือเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นใน เพลงให้สมาชิกในชั้นเรียนฟัง ขั้นที่ ๒ Question (Q) การตั้งคำถาม ๘.๒.๓ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันตั้งคำถามจากเนื้อเพลง เรือเล็กควรออกจากฝั่ง ซึ่ง คำถามจะต้องสัมพันธ์กับเนื้อเพลงที่อ่านและครอบคลุมใจความสำคัญของบทเพลง โดยมีครูเป็นผู้บันทึก คำถามลงบนกระดาน จากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่มจึงช่วยกันบันทึกคำถามลงในแบบฝึกหัดที่ ๑ ตอนที่ ๑ ขั้นที่ ๓ Read (R) การอ่านอย่างละเอียด ๘.๒.๔ นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านเนื้อเพลง เรือเล็กควรออกจากฝั่ง อีกครั้งอย่างละเอียด เพื่อจับใจความสำคัญโดยขีดเส้นใต้คำหรือประโยคที่สำคัญไว้ ๘.๒.๕ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันหาคำตอบจากคำถามที่บันทึกไว้บนกระดาน หรือแบบฝึกหัดที่ ๑ ตอนที่ ๑ โดยนักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคำตอบ
ขั้นที่ ๔ Record (R) การจดบันทึก ๘.๒.๖ นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกคำตอบจากคำถามที่บันทึกไว้บนกระดาน หรือแบบฝึกหัดที่ ๑ ตอนที่ ๑ ลงในแบบฝึกหัดที่ ๑ ตอนที่ ๒ โดยมีครูเป็นผู้บันทึกคำตอบลงบนกระดาน ขั้นที่ ๕ Recite (R) การเขียนสรุปใจความสำคัญ ๘.๒.๗ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนสรุปใจความสำคัญจากเพลง เรือเล็กควรออก จากฝั่ง ลงในแบบฝึกหัดที่ ๑ ตอนที่ ๓ ๘.๒.๘ นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนจำนวน ๑ คน นำเสนอผลงานการเขียนสรุป ใจความสำคัญจากเพลง เรือเล็กควรออกจากฝั่ง หน้าชั้นเรียน โดยมีครูเป็นผู้ให้คำแนะนำเพิ่มเติม ขั้นที่ ๖ Reflect (R) การวิเคราะห์ วิจารณ์ ๘.๒.๙ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสะท้อนความคิดโดยการวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดง ความคิดเห็นที่สอดคล้องและไม่สอดคล้องจากเนื้อเพลง เรือเล็กควรออกจากฝั่ง ลงในแบบฝึกหัดที่ ๑ ตอน ที่ ๔ ๘.๒.๑๐ นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนจำนวน ๑ คน นำเสนอผลงานการวิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น และสรุปใจความสำคัญจากเพลงหน้าชั้นเรียน ๘.๓ ขั้นสรุป ๘.๓.๑. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากเพลง โดย ใช้คำถาม ดังนี้ -การอ่านจับใจความสำคัญหมายถึงอะไร ๘.๓.๒ ครูมอบหมายงานให้นักเรียนอ่านจับใจความสำคัญจากเพลง ร่มสีเทา ศิลปินวัช ราวรี ใส่สมุดบันทึกการอ่านเป็นการบ้าน ๙. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๙.๑ PowerPoint เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญ ๙.๒ ชุดกิจกรรม แผ่นป้ายปริศนา ๙.๓ เนื้อเพลง เรือเล็กควรออกจากฝั่ง ศิลปิน บอดี้สแลม ๑๐. การวัดและการประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัดและ ประเมินผล เครื่องมือที่ใช้วัด และประเมินผล เกณฑ์ที่ใช้วัด และประเมินผล ๑.นักเรียนสามารถบอก ใจความสำคัญจากเพลงได้ (K) แบบฝึกหัด แบบฝึกหัดเพลง นักเรียนสามารถตอบคำถามได้ ถูกต้องร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
นักเรียนสามารถอ่านจับ ใจความสำคัญจากเพลงได้ ถูกต้อง (P) จับใจความ สำคัญจากเพลง สมุดบันทึกการอ่าน นักเรียนทำคะแนนรวม ได้มากกว่า ๘ คะแนนขึ้นไป นักเรียนมีความกระตือรือร้น ในการทำกิจกรรม (A) การสังเกต พฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนทำคะแนนรวมได้ มากกว่าร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป
แบบสังเกตพฤติกรรม คำชี้แจง ให้ครูเขียนคะแนนลงในช่องรายการการประเมินที่นักเรียนปฏิบัติได้เลขที่ ประเด็นการประเมิน ชื่อ-สกุล สนใจกิจกรรม (๓) มีสมาธิ (๓) กระตือรือร้น (๓) ให้ความร่วมมือ (๓) เคารพกฎระเบียบ (๓) มีมารยาท (๓) รวม (๑๘) ผลการประเมิน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๘ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑
๒๒ เกณฑ์การให้คะแนน ๓ = ดีมาก, ๒ = พอใช้, ๑ = ปรับปรุง ลงชื่อ……………………………………….. (นายศรีเพรชรี ภักดีปัญญา) วันที่……..เดือน…………..พ.ศ. ………. เกณฑ์การให้คะแนนแบบสังเกตพฤติกรรม (rubrics) ประเด็น การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน ๓ ๒ ๑ ๑. สนใจกิจกรรม นักเรียนมีความสนใจ ตั้งใจฟังกฎระเบียบ และคำสั่งเป็นอย่างดี ถามเมื่อเกิดข้อสงสัย เกี่ยวกับงาน สนใจงานแต่ ไม่สามารถปฏิบัติตาม คำชี้แจงได้ครบถ้วน ทำได้เพียงบางข้อ เท่านั้น ไม่สนใจ เหม่อลอย และไม่สามารถปฏิบัติ ตามคำสั่งได้ สนใจ สิ่งที่อยู่นอกห้องเรียน ๒. มีสมาธิ ตั้งใจฟัง เงียบ สบสายตาครู ไม่ว่อกแว่ก ตั้งใจฟัง เงียบ สบสายตาครูบ้าง และวอกแวก เป็นส่วนน้อย เหม่อลอย สายตา ว่อกแว่ก ชวนเพื่อน คุยเสียงดัง ๓. กระตือรือร้น มีความกระตือรือร้น ต้องการทำกิจกรรม และปฏิบัติตาม ด้วยความตั้งใจ ไม่แสดงความรู้สึกดีใจ หรือเบื่อหน่าย แต่ปฏิบัติตามทุกอย่าง ไม่มีความกระตือรือร้น แสดงสีหน้าหรืออาการ ทางลบ ไม่พอใจ เบื่อหน่าย ๔. ให้ความร่วมมือ ให้ความร่วมมือ ในทุกขั้นตอน แสดงสีหน้าที่พอใจ ให้ความร่วมมือ ในการทำกิจกรรม แสดงสีหน้าเบื่อหน่าย ในบางครั้ง ไม่ให้ความร่วมมือ เฉยชาและแสดงสีหน้า ไม่พอใจ ๕. เคารพกฎกติกา ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติ ในชั้นเรียนรายวิชา ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติ ในชั้นเรียนรายวิชา ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติ ในชั้นเรียนรายวิชา
ภาษาไทย ได้ครบ ๑๐ ข้อ ภาษาไทย ได้เพียง ๘ ข้อ ภาษาไทย ได้น้อยกว่า ๘ ข้อ ๖. มีมารยาท มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ใช้ถ้อยคำที่สุภาพ ไม่แสดงกิริยาที่ ก้าวร้าวรุนแรง มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ใช้ถ้อยคำที่ไม่สุภาพ บ้างเล็กน้อย แต่ไม่ แสดงกิริยาที่ก้าวร้าว รุนแรง ไม่มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ใช้ถ้อยคำที่ไม่สุภาพ และแสดงกิริยา ที่ก้าวร้าวรุนแรง เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ : เกณฑ์การผ่านตั้งแต่ระดับ ดีมาก ขึ้นไป ช่วงชั้นคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๓ – ๑๘ ดีมาก ๘ – ๑๒ พอใช้ ๐ – ๖ ปรับปรุง
สื่อแผ่นป้ายปริศนา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๗ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ อ่านคิดพินิจคุณค่า เวลา ๕ ชั่วโมง เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากนิทาน เวลา ๑ ชั่วโมง วันที่สอน ๖ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๐๘.๒๐-๐๙.๑๐ น. สอนชั้น ม.๑/๖ เวลา ๑๐.๑๐-๑๑.๐๐ น. สอนชั้น ม.๑/๕ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๑๒.๕๕-๑๓.๔๕ น. สอนชั้น ม.๑/๔ ครูผู้สอน นางสาวศรีเพรชรี ภักดีปัญญา โรงเรียนท่าบ่อ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ๑.๑ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ๑.๒ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๑/๒ จับใจความสำคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียด จากเรื่องที่อ่าน ๒. สาระสำคัญ การอ่านจับใจความสำคัญจากนิทาน เป็นการอ่านที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ ข้อความหรือเรื่องราวที่ปรากฏในนิทาน ซึ่งนิทานบางเรื่องไม่ปรากฏตำแหน่งของใจความสำคัญ ดังนั้น ผู้อ่านจะต้องใช้วิธีการจับใจความสำคัญด้วยการสรุปความโดยใช้เทคนิค SQ๔R ผู้ที่มีทักษะการอ่านจับ ใจความสำคัญสูงจะสามารถเข้าใจเนื้อหาที่ปรากฏในนิทานได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ ซึ่งจะเป็นพื้นฐาน ในการวิเคราะห์หรือตีความนิทานนั้น ๆ ต่อไป ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรียนสามารถบอกใจความสำคัญ ข้อคิดจากนิทานได้ (K) ๓.๒ นักเรียนสามารถอ่านจับใจความสำคัญจากนิทานได้ถูกต้อง (P) ๓.๓ นักเรียนเห็นความสำคัญของการอ่านจับใจความสำคัญ (A) ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ การอ่านจับใจความสำคัญจากนิทาน ๕. สมรรถนะสำคัญของนักเรียน ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๒ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ มีวินัย ๖.๑ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๒ มุ่งมันในการทำงาน ๗. ภาระงาน/ชิ้นงาน ๗.๑ แบบฝึกหัดที่ ๒ เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากนิทาน ๑ ๗.๒ สมุดบันทึกการอ่าน เรื่อง นิทาน ๘. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (โดยใช้เทคนิค SQ๔R) ๘.๑ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๘.๑.๑ นักเรียนทำกิจกรรม “นิทานในความทรงจำ” โดยให้นักเรียนช่วยกันเล่านิทาน เรื่อง ที่นักเรียนรู้จัก แล้วจึงอธิบายเชื่อมโยงให้เห็นความสำคัญของการอ่านจับใจความสำคัญ ๘.๑.๒ นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น ๕ กลุ่ม โดยคละความสามารถ และกำหนดให้แต่ละกลุ่มมีสมาชิก เท่า ๆ กัน จากนั้นครูจึงเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน ๘.๒ ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ ๑ Survey (S) การอ่านสำรวจ ๘.๒.๑ นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านนิทานเรื่องคนเลี้ยงลิงอย่างคร่าว ๆ จำนวน ๑ รอบ ๘.๒.๒ นักเรียนอาสาสมัครจำนวน ๑ คน เล่าเรื่องย่อหรือเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นใน นิทานเรื่อง คนเลี้ยงลิง ให้สมาชิกในชั้นเรียนฟัง ขั้นที่ ๒ Question (Q) การตั้งคำถาม ๘.๒.๓ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันตั้งคำถามจากนิทานเรื่อง คนเลี้ยงลิง ซึ่งคำถามจะต้องสัมพันธ์กับเนื้อเรื่องที่อ่านและครอบคลุมใจความสำคัญของนิทาน โดยมีครู เป็นผู้บันทึกคำถามลงบนกระดาน จากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่มจึงช่วยกันบันทึกคำถามลงในแบบฝึกหัดที่ ๒ ตอนที่ ๑ ขั้นที่ ๓ Read (R) การอ่านอย่างละเอียด ๘.๒.๔ นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านนิทานเรื่อง คนเลี้ยงลิง อีกครั้งอย่างละเอียด เพื่อจับใจความสำคัญโดยขีดเส้นใต้คำหรือประโยคที่สำคัญไว้ ๘.๒.๕ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันหาคำตอบจากคำถามที่บันทึกไว้บนกระดาน หรือแบบฝึกหัดที่ ๒ ตอนที่ ๑ โดยนักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคำตอบ
ขั้นที่ ๔ Record (R) การจดบันทึก ๘.๒.๖ นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกคำตอบจากคำถามที่บันทึกไว้บนกระดาน หรือแบบฝึกหัดที่ ๒ ตอนที่ ๑ ลงในแบบฝึกหัดที่ ๒ ตอนที่ ๒ โดยมีครูเป็นผู้บันทึกคำตอบลงบนกระดาน ขั้นที่ ๕ Recite (R) การเขียนสรุปใจความสำคัญ ๘.๒.๗ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนสรุปใจความสำคัญจากนิทานเรื่อง คนเลี้ยงลิง ลง ในแบบฝึกหัดที่ ๒ ตอนที่ ๓ ๘.๒.๘ นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนจำนวน ๑ คน นำเสนอผลงานการเขียนสรุป ใจความสำคัญจากนิทานเรื่อง คนเลี้ยงลิง หน้าชั้นเรียน โดยมีครูเป็นผู้ให้คำแนะนำเพิ่มเติม ขั้นที่ ๖ Reflect (R) การวิเคราะห์ วิจารณ์ ๘.๒.๙ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสะท้อนความคิดโดยการวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดง ความคิดเห็นที่สอดคล้องและไม่สอดคล้องจากนิทานเรื่อง คนเลี้ยงลิง ลงในแบบฝึกหัดที่ ๒ตอนที่ ๔ ๘.๒.๑๐ นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนจำนวน ๑ คน นำเสนอผลงานการวิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น และสรุปใจความสำคัญจากนิทานหน้าชั้นเรียน ๘.๓ ขั้นสรุป ๘.๓.๑. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากนิทานโดย ใช้คำถาม ดังนี้ - การอ่านจับใจความสำคัญโดยใช้เทคนิค SQ๔R มีหลักการอย่างไร - การอ่านจับใจความสำคัญมีความสำคัญอย่างไร ๘.๓.๒. ๘.๓.๒ ครูมอบหมายงานให้นักเรียนอ่านจับใจความสำคัญจากนิทานอิสป เรื่อง ห่านกับไข่ทองคำ ใส่สมุดบันทึกการอ่านเป็นการบ้าน ๙. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๙.๑ PowerPoint เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญ ๙.๒ ชุดกิจกรรม นิทานในความทรงจำ ๙.๓ นิทาน เรื่อง คนเลี้ยงลิง ๑๐. การวัดและการประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน ๑.นักเรียนสามารถบอกใจความ สำคัญ ข้อคิดจากนิทานได้(K) การตอบคำถาม แบบฝึกหัด นักเรียนสามารถตอบคำถาม ได้ถูกต้องร้อยละ ๗๐
๒.นักเรียนสามารถอ่านจับใจความ สำคัญจากนิทานได้ถูกต้อง (P) อ่านจับใจความ สำคัญ สมุดบันทึกการอ่าน นักเรียนทำคะแนนรวมได้ มากกว่า ๑๔ คะแนนขึ้นไป ๓.นักเรียนเห็นความสำคัญของการ อ่านจับใจความสำคัญ (A) การตอบคำถาม คำถามในชั้นเรียน นักเรียนสามารถตอบคำถาม ได้ถูกต้อง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ อ่านคิดพินิจคุณค่า เวลา ๕ ชั่วโมง เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากข่าว เวลา ๑ ชั่วโมง วันที่สอน ๑๑ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๑๓.๕๐-๑๔.๔๐ น. สอนชั้น ม.๑/๕ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๑๒.๕๕-๑๓.๔๕ น. สอนชั้น ม.๑/๖ เวลา ๑๒.๕๕-๑๓.๔๕ น. สอนชั้น ม.๑/๔ ผู้สอน นางสาวศรีเพรชรี ภักดีปัญญา โรงเรียนท่าบ่อ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๒/๒ จับใจความสำคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเ อ ียด จากเรื่องที่อ่าน ๒. สาระสำคัญ การอ่านจับใจความสำคัญจากข่าว เป็นการอ่านที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ ข้อความหรือเรื่องราวที่ปรากฏในข่าว ซึ่งข่าวบางเรื่องไม่ปรากฏตำแหน่งของใจความสำคัญ ดังนั้น ผู้อ่าน จะต้องใช้วิธีการจับใจความสำคัญด้วยการสรุปความโดยใช้เทคนิค SQ๔R ผู้ที่มีทักษะ การอ่านจับใจความสำคัญสูงจะสามารถเข้าใจเนื้อหาที่ปรากฏในข่าวได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ ซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการวิเคราะห์หรือตีความข่าวนั้น ๆ ต่อไป ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรียนสามารถบอกใจความสำคัญจากข่าวได้ (K) ๓.๒ นักเรียนสามารถอ่านจับใจความสำคัญจากข่าวได้ถูกต้อง (P) ๓.๓ นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการทำกิจกรรม (A) ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ การอ่านจับใจความสำคัญจากข่าว ๕. สมรรถนะสำคัญของนักเรียน ๕.๑ ความสามารถในการคิด
๕.๒ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๒ มุ่งมันในการทำงาน ๖.๓ มีวินัย ๗. ภาระงาน ๗.๑ แบบฝึกหัดที่ ๓ เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากข่าว ๗.๒ สมุดบันทึกการอ่าน ๘. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (โดยใช้เทคนิค SQ๔R) ๘.๑ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๘.๑.๑ นักเรียนรับชมวิดีโอความยาว 3 นาทีเกี่ยวกับข่าว “ปวดหัวแบบไหนอันตราย หมอแนะสังเกต 6 อาการ เสี่ยงเป็นเนื้องอกสมอง” ๘.๑.๒ นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น ๕ กลุ่ม โดยคละความสามารถที่หลากหลาย และ กำหนดให้แต่ละกลุ่มมีสมาชิกเท่า ๆ กัน จากนั้นครูจึงเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน ๘.๒ ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ ๑ Survey (S) การอ่านสำรวจ ๘.๒.๑ นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านข่าว “ปวดหัวแบบไหนอันตราย หมอแนะสังเกต 6 อาการ เสี่ยงเป็นเนื้องอกสมอง” อย่างคร่าว ๆ จำนวน ๑ รอบ ๘.๒.๒ นักเรียนอาสาสมัครจำนวน ๑ คน เล่าเรื่องย่อหรือเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นใน ข่าว “ปวดหัวแบบไหนอันตราย หมอแนะสังเกต 6 อาการ เสี่ยงเป็นเนื้องอกสมอง” ให้สมาชิก ในชั้นเรียนฟัง ขั้นที่ ๒ Question (Q) การตั้งคำถาม ๘.๒.๓ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันตั้งคำถามจากข่าว “ปวดหัวแบบไหนอันตราย หมอ แนะสังเกต 6 อาการ เสี่ยงเป็นเนื้องอกสมอง” ซึ่งคำถามจะต้องสัมพันธ์กับเนื้อเรื่องที่อ่าน และครอบคลุมใจความสำคัญของนิทาน โดยมีครูเป็นผู้บันทึกคำถามลงบนกระดาน จากนั้นนักเรียนแต่ละ กลุ่มจึงช่วยกันบันทึกคำถามลงในแบบฝึกหัดที่ ๓ ตอนที่ ๑ ขั้นที่ ๓ Read (R) การอ่านอย่างละเอียด ๘.๒.๔ นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านข่าว “ปวดหัวแบบไหนอันตราย หมอแนะสังเกต ๖ อาการ เสี่ยงเป็นเนื้องอกสมอง” อีกครั้งอย่างละเอียด เพื่อจับใจความสำคัญโดยขีดเส้นใต้คำ หรือประโยคที่สำคัญไว้
๘.๒.๕ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันหาคำตอบจากคำถามที่บันทึกไว้บนกระดาน หรือแบบฝึกหัดที่ ๓ ตอนที่ ๑ โดยนักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคำตอบ ขั้นที่ ๔ Record (R) การจดบันทึก ๘.๒.๖ นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกคำตอบจากคำถามที่บันทึกไว้บนกระดาน หรือแบบฝึกหัดที่ ๖ ตอนที่ ๑ ลงในแบบฝึกหัดที่ ๖ ตอนที่ ๒ โดยมีครูเป็นผู้บันทึกคำตอบลงบนกระดาน ขั้นที่ ๕ Recite (R) การเขียนสรุปใจความสำคัญ ๘.๒.๗ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนสรุปใจความสำคัญจากข่าว“ปวดหัวแบบไหน อันตราย หมอแนะสังเกต ๖ อาการ เสี่ยงเป็นเนื้องอกสมอง” ลงในแบบฝึกหัดที่ ๓ ตอนที่ ๓ ๘.๒.๘ นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนจำนวน ๑ คน นำเสนอผลงานการเขียนสรุป ใจความสำคัญจากข่าวหมู่บ้านน้ำตกน้ำท่วมจนโดนลืม“ปวดหัวแบบไหนอันตราย หมอแนะสังเกต ๖ อาการ เสี่ยงเป็นเนื้องอกสมอง” หน้าชั้นเรียน โดยมีครูเป็นผู้ให้คำแนะนำเพิ่มเติม ขั้นที่ ๖ Reflect (R) การวิเคราะห์ วิจารณ์ ๘.๒.๙ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสะท้อนความคิดโดยการวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดง ความคิดเห็นที่สอดคล้องและไม่สอดคล้อง“ปวดหัวแบบไหนอันตราย หมอแนะสังเกต ๖ อาการ เสี่ยงเป็น เนื้องอกสมอง” ลงในแบบฝึกหัดที่ ๓ ตอนที่ ๔ ๘.๒.๑๐ นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนจำนวน ๑ คน นำเสนอผลงานการวิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น และสรุปใจความสำคัญจากข่าวหน้าชั้นเรียน ๘.๓ ขั้นสรุป ๘.๓.๑. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากข่าวโดย ใช้คำถาม ดังนี้ ๑. การอ่านจับใจความสำคัญมีจุดมุ่งหมายเพื่ออะไร ๘.๓.๒. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนอ่านจับใจความและจดบันทึกใส่สมุดรักการอ่าน จากข่าว ๙. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๙.๑ PowerPoint เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญ ๙.๒ วิดีโอข่าว“ปวดหัวแบบไหนอันตราย หมอแนะสังเกต 6 อาการ เสี่ยงเป็นเนื้องอกสมอง” ๙.๓ ข่าว“ปวดหัวแบบไหนอันตราย หมอแนะสังเกต 6 อาการ เสี่ยงเป็นเนื้องอกสมอง”
๑๐. การวัดและการประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน ๑.นักเรียนสามารถบอกใจความ สำคัญของข่าวได้ (K) การตอบคำถาม แบบฝึกหัด นักเรียนสามารถตอบคำถาม ได้ถูกต้องร้อยละ ๗๐ ๒.นักเรียนสามารถอ่านจับใจความ สำคัญจากข่าวได้ถูกต้อง (P) อ่านจับใจความ ข่าว สมุดบันทึกการ อ่าน นักเรียนทำคะแนนรวม ได้มากกว่า ๑๔คะแนนขึ้นไป ๓.นักเรียนมีความกระตือรือร้นใน การทำกิจกรรม (A) การสังเกต พฤติกรรม แบบสังเกต พฤติกรรม นักเรียนทำคะแนนรวมได้ มากกว่าร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๙ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ อ่านคิดพินิจคุณค่า เวลา ๕ ชั่วโมง เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากบทความ เวลา ๑ ชั่วโมง วันที่สอน ๑๓ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๑๒.๐๐-๑๒.๕๐ น. สอนชั้น ม.๑/๖ เวลา ๑๒.๕๕-๑๓.๔๕ น. สอนชั้น ม.๑/๕ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๐๙.๑๕-๑๐.๐๕ น. สอนชั้น ม.๑/๔ ผู้สอน นางสาวศรีเพรชรี ภักดีปัญญา โรงเรียนท่าบ่อ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ๑.๑ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ๑.๒ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๒/๒ จับใจความสำคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียด จากเรื่องที่อ่าน ๒. สาระสำคัญ การอ่านจับใจความสำคัญจากบทความ เป็นการอ่านที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับข้อความหรือเรื่องราวที่ปรากฏในบทความ ซึ่งบทความบางเรื่องไม่ปรากฏตำแหน่ง ของใจความสำคัญ ดังนั้น ผู้อ่านจะต้องใช้วิธีการจับใจความสำคัญด้วยการสรุปความโดยใช้เทคนิค SQ๔R ผู้ที่มีทักษะการอ่านจับใจความสำคัญสูงจะสามารถเข้าใจเนื้อหาที่ปรากฏในบทความ ได้ อย่างรวดเร็วและแม่นยำ ซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการวิเคราะห์หรือตีความบทความนั้น ๆ ต่อไป ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรียนสามารถบอกใจความสำคัญของบทความได้ (K) ๓.๒ นักเรียนสามารถอ่านจับใจความสำคัญจากบทความได้ถูกต้อง (P) ๓.๓ นักเรียนเห็นความสำคัญของการอ่านจับใจความสำคัญ (A) ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ การอ่านจับใจความสำคัญจากบทความ ๕. สมรรถนะสำคัญของนักเรียน ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๒ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๒ มุ่งมันในการทำงาน ๖.๓ มีวินัย ๗. ภาระงาน ๗.๑ แบบฝึกหัดที่ ๔ เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากบทความ ๑ ๗.๒ สมุดบันทึกการอ่าน ๘. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (โดยใช้เทคนิค SQ๔R) ๘.๑ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๘.๑.๑ นักเรียนทำกิจกรรม “คาดเดา เล่าลือ” โดยให้นักเรียนช่วยกันคาดเดา เรื่องหรือสาระสำคัญของบทความจากภาพที่ครูกำหนดให้ แล้วจึงอธิบายเชื่อมโยงให้เห็นความสำคัญของ การอ่านจับใจความสำคัญ ๘.๑.๒ นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น ๕ กลุ่ม โดยคละความสามารถ และกำหนดให้แต่ละกลุ่มมี สมาชิกเท่า ๆ กัน จากนั้นครูจึงเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน ๘.๒ ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ ๑ Survey (S) การอ่านสำรวจ ๘.๒.๑ นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านบทความ เรื่อง ลดอ้วน (ได้) โดยไม่พึ่งยา อย่าง คร่าว ๆ จำนวน ๑ รอบ ๘.๒.๒ นักเรียนอาสาสมัครจำนวน ๑ คน เล่าเรื่องย่อหรือสาระสำคัญที่เกิดขึ้น ในบทความ เรื่อง ลดอ้วน (ได้) โดยไม่พึ่งยา ให้สมาชิกในชั้นเรียนฟัง ขั้นที่ ๒ Question (Q) การตั้งคำถาม
๘.๒.๓ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันตั้งคำถามจากบทความ เรื่อง ลดอ้วน (ได้) โดยไม่พึ่งยา ซึ่งคำถามจะต้องสัมพันธ์กับเนื้อเรื่องที่อ่านและครอบคลุมใจความสำคัญของบทความ โดยมี ครูเป็นผู้บันทึกคำถามลงบนกระดาน จากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่มจึงช่วยกันบันทึกคำถาม ลงในแบบฝึกหัดที่ ๔ ตอนที่ ๑ ขั้นที่ ๓ Read (R) การอ่านอย่างละเอียด ๘.๒.๔ นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านบทความ เรื่อง ลดอ้วน (ได้) โดยไม่พึ่งยา อีกครั้งอย่าง ละเอียด เพื่อจับใจความสำคัญโดยขีดเส้นใต้คำหรือประโยคที่สำคัญไว้ ๘.๒.๕ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันหาคำตอบจากคำถามที่บันทึกไว้บนกระดาน หรือแบบฝึกหัดที่ ๔ ตอนที่ ๑ โดยนักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคำตอบ ขั้นที่ ๔ Record (R) การจดบันทึก ๘.๒.๖ นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกคำตอบจากคำถามที่บันทึกไว้บนกระดาน หรือแบบฝึกหัดที่ ๔ ตอนที่ ๑ ลงในแบบฝึกหัดที่ ๔ ตอนที่ ๒ โดยมีครูเป็นผู้บันทึกคำตอบลงบนกระดาน ขั้นที่ ๕ Recite (R) การเขียนสรุปใจความสำคัญ ๘.๒.๗ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนสรุปใจความสำคัญจากบทความ เรื่อง ลดอ้วน (ได้) โดยไม่พึ่งยา ลงในแบบฝึกหัดที่ ๔ ตอนที่ ๓ ๘.๒.๘ นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนจำนวน ๑ คน นำเสนอผลงานการเขียนสรุป ใจความสำคัญจากบทความ เรื่อง ลดอ้วน (ได้) โดยไม่พึ่งยา หน้าชั้นเรียน โดยมีครูเป็นผู้ให้คำแนะนำ เพิ่มเติม ขั้นที่ ๖ Reflect (R) การวิเคราะห์ วิจารณ์ ๘.๒.๙ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสะท้อนความคิดโดยการวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดง ความคิดเห็นที่สอดคล้องและไม่สอดคล้องจากบทความ เรื่อง ลดอ้วน (ได้) โดยไม่พึ่งยา ลงในแบบฝึกหัดที่ ๔ ตอนที่ ๔ ๘.๒.๑๐ นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนจำนวน ๑ คน นำเสนอผลงานการวิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น และสรุปใจความสำคัญจากบทความหน้าชั้นเรียน ๘.๓ ขั้นสรุป ๘.๓.๑. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญ จากบทความโดยใช้คำถาม ดังนี้ ๑. การอ่านจับใจความสำคัญโดยใช้เทคนิค SQ๔R มีหลักการอย่างไร ๒. การอ่านจับใจความสำคัญมีความสำคัญอย่างไร ๘.๓.๒. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนเขียนบันทึกการอ่านจับใจความสำคัญจากบทความ
๙. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๙.๑ PowerPoint เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญ ๙.๒ ชุดกิจกรรม คาดเดา เล่าลือ ๙.๓ บทความ เรื่อง ลดอ้วน (ได้) โดยไม่พึ่งยา ๑๐. การวัดและการประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์ประเมินผล ๑.นักเรียนสามารถบอกใจความสำคัญ ของบทความได้ (K) การตอบคำถาม แบบฝึกหัด ผ่านเมื่อนักเรียนสามารถตอบ คำถามได้ถูกต้อง นักเรียนสามารถอ่านจับใจความ สำคัญจากบทความได้ถูกต้อง (P) บันทึกการอ่าน จับใจความจาก บทความ สมุดบันทึกการ อ่าน ผ่านเมื่อนักเรียนทำคะแนนรวม ได้มากกว่า ๑๔ คะแนนขึ้นไป นักเรียนเห็นความสำคัญของการอ่าน จับใจความสำคัญ (A) การตอบคำถาม คำถาม ผ่านเมื่อนักเรียน สามารถตอบคำถาม ได้ถูกต้อง
ภาพประกอบกิจกรรม คาดเดา เล่าลือ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒๐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ อ่านคิดพินิจ เวลา ๕ ชั่วโมง เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากเรื่องสั้น เวลา ๑ ชั่วโมง วันที่สอน ๑๔ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๐๘.๒๐-๐๙.๑๐ น. สอนชั้น ม.๑/๖ เวลา ๑๐.๑๐-๑๑.๐๐ น. สอนชั้น ม.๑/๕ ๑๘ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๑๒.๕๕-๑๓.๔๕ น. สอนชั้น ม.๑/๔ ผู้สอน นางสาวศรีเพรชรี ภักดีปัญญา โรงเรียนท่าบ่อ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๒/๒ จับใจความสำคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเ อ ียด จากเรื่องที่อ่าน ๒. สาระสำคัญ การอ่านจับใจความสำคัญจากเรื่องสั้น เป็นการอ่านที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ ข้อความหรือเรื่องราวที่ปรากฏในเรื่องสั้น ซึ่งเรื่องสั้นบางเรื่องไม่ปรากฏตำแหน่งของใจความสำคัญ ดังนั้น ผู้อ่านจะต้องใช้วิธีการจับใจความสำคัญด้วยการสรุปความโดยใช้เทคนิค SQ๔R ผู้ที่มีทักษะการอ่านจับ ใจความสำคัญสูงจะสามารถเข้าใจเนื้อหาที่ปรากฏในเรื่องสั้นได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ ซึ่งจะเป็นพื้นฐาน ในการวิเคราะห์หรือตีความเรื่องสั้นนั้น ๆ ต่อไป ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรียนสามารถบอกเรื่องย่อของเรื่องสั้นได้ (K) ๓.๒ นักเรียนสามารถอ่านจับใจความสำคัญจากเรื่องสั้นได้ถูกต้อง (P) ๓.๓ นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการทำกิจกรรม (A) ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ การอ่านจับใจความสำคัญจากเรื่องสั้น ๕. สมรรถนะสำคัญของนักเรียน ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๒ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๒ มุ่งมันในการทำงาน ๗. ภาระงาน/ชิ้นงาน ๗.๑ แบบฝึกหัดที่ ๕ เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากเรื่องสั้น ๗.๑ สมุดบันทึกการอ่าน ๘. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (โดยใช้เทคนิค SQ๔R) ขั้นที่ ๑ Survey (S) การอ่านสำรวจ ๘.๒.๑ นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านเรื่องสั้น เรื่อง ปลาหางแหว่ง ของมาลา คำจันทร์ อย่าง คร่าว ๆ จำนวน ๑ รอบจากที่ครูมอบหมายให้ไปอ่านล่วงหน้า ๘.๒.๒ นักเรียนอาสาสมัครจำนวน ๑ คน เล่าเรื่องย่อหรือเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นใน เรื่องสั้น เรื่อง ปลาหางแหว่ง ให้สมาชิกในชั้นเรียนฟัง ขั้นที่ ๒ Question (Q) การตั้งคำถาม ๘.๒.๓ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันตั้งคำถามจากเรื่องสั้น เรื่อง ปลาหางแหว่ง ซึ่งคำถามจะต้องสัมพันธ์กับเนื้อเรื่องที่อ่านและครอบคลุมใจความสำคัญของเรื่องสั้น โดยมีครู เป็นผู้บันทึกคำถามลงบนกระดาน จากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่มจึงช่วยกันบันทึกคำถามลงในแบบฝึกหัดที่ ๘ ตอนที่ ๑ ขั้นที่ ๓ Read (R) การอ่านอย่างละเอียด ๘.๒.๔ นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านเรื่องสั้น เรื่อง ปลาหางแหว่ง อีกครั้งอย่างละเอียด เพื่อจับใจความสำคัญโดยขีดเส้นใต้คำหรือประโยคที่สำคัญไว้ ๘.๒.๕ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันหาคำตอบจากคำถามที่บันทึกไว้บนกระดาน หรือแบบฝึกหัดที่ ๘ ตอนที่ ๑ โดยนักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคำตอบ ขั้นที่ ๔ Record (R) การจดบันทึก ๘.๒.๖ นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกคำตอบจากคำถามที่บันทึกไว้บนกระดาน หรือแบบฝึกหัดที่ ๕ ตอนที่ ๑ ลงในแบบฝึกหัดที่ ๕ ตอนที่ ๒ โดยมีครูเป็นผู้บันทึกคำตอบลงบนกระดาน ขั้นที่ ๕ Recite (R) การเขียนสรุปใจความสำคัญ ๘.๒.๗ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนสรุปใจความสำคัญจากเรื่องสั้น เรื่อง ปลาหางแหว่ง ลงในแบบฝึกหัดที่ ๕ ตอนที่ ๓ ๘.๒.๘ นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนจำนวน ๑ คน นำเสนอผลงานการเขียนสรุป ใจความสำคัญจากเรื่องสั้น เรื่อง ปลาหางแหว่ง หน้าชั้นเรียน โดยมีครูเป็นผู้ให้คำแนะนำเพิ่มเติม
ขั้นที่ ๖ Reflect (R) การวิเคราะห์ วิจารณ์ ๘.๒.๙ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสะท้อนความคิดโดยการวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดง ความคิดเห็นที่สอดคล้องและไม่สอดคล้องจากเรื่องสั้น เรื่อง ปลาหางแหว่ง ลงในแบบฝึกหัดที่ ๕ตอนที่ ๔ ๘.๒.๑๐ นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนจำนวน ๑ คน นำเสนอผลงานการวิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น และสรุปใจความสำคัญจากเรื่องสั้นหน้าชั้นเรียน ๘.๓ ขั้นสรุป ๘.๓.๑. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญ จากเรื่องสั้นโดยใช้คำถาม ดังนี้ ๑. การอ่านจับใจความสำคัญหมายถึงอะไร ๙. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๙.๑ PowerPoint เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญ ๙.๓ เรื่องสั้น เรื่อง ปลาหางแหว่ง (มาลา คำจันทร์) ๑๐. การวัดและการประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน ๑.นักเรียนสามารถบอกใจความ สำคัญของเรื่องสั้นได้ (K) การตอบคำถาม แบบฝึกหัด นักเรียนสามารถตอบคำถามได้ ถูกต้องร้อยละ ๗๐ ๒.นักเรียนสามารถอ่านจับ ใจความสำคัญจากเรื่องสั้นได้ ถูกต้อง (P) ตรวจแบบฝึกหัดที่ ๕ เรื่อง การอ่าน จับใจความสำคัญ จากเรื่องสั้น แบบฝึกหัดที่ ๕ เรื่อง การอ่านจับ ใจความสำคัญ จากเรื่องสั้น นักเรียนทำคะแนนรวม ได้มากกว่า ๗ คะแนนขึ้นไป ๓.นักเรียนมีความกระตือรือร้น ในการทำกิจกรรม (A) การสังเกต พฤติกรรม แบบสังเกต พฤติกรรม นักเรียนทำคะแนนรวมได้ มากกว่าร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ การพูดประเภทต่างๆ เวลา ๕ ชั่วโมง เรื่อง การพูดแสดงความคิดเห็น เวลา ๑ ชั่วโมง วันที่สอน ๑๘ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๑๓.๕๐-๑๔.๔๐ น. สอนชั้น ม.๑/๕ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๑๒.๕๕-๑๓.๔๕ น. สอนชั้น ม.๑/๖ เวลา ๑๒.๕๕-๑๓.๔๕ น. สอนชั้น ม.๑/๔ ครูผู้สอน นางสาวศรีเพรชรี ภักดีปัญญา โรงเรียนท่าบ่อ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ม.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู ม.๑/๖ มีมารยาทในการฟังการดูและการพูด ๒. สาระสำคัญ พูดแสดงความคิดเห็นจะต้องมีลักษณะที่ดีดังต่อไปนี้ ระบุข้อเท็จจริง ถูกต้องตรงประเด็น เชื่อถือได้ ครอบคลุมเนื้อหาข้อคิดเห็นอยู่บนหลักของเหตุผลตรงประเด็นไม่กระทบผู้อื่น บทสรุป ชัดเจน ถูกต้องครอบคลุมเนื้อหา การใช้น้ำเสียงกิริยาการพูดแสดงมิตรไมตรี รักษาเวลาตามที่กำหนดเหมาะสม ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของการพูดแสดงความคิดเห็นได้(K) ๓.๒. นักเรียนสามารถพูดแสดงความคิดเห็นได้ (P) ๓.๓. นักเรียนมีความกระตือรือร้นต่อกิจกรรมการเรียนการสอน (A) ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑. การพูดแสดงความคิดเห็น ๔.๒. มารยาทในการพูด ๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕.๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒. ความสามารถในการคิด ๕.๓. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑. มีวินัย ๖.๒. ใฝ่เรียนรู้ ๖.๓. มุ่งมั่นในการทำงาน ๗. ภาระงาน/ชิ้นงาน ๗.๑ นักเรียนพูดแสดงความคิดเห็นจากนิทานชาดกที่ครูให้อ่าน ๗.๒ นักเรียนทำแบบฝึกหัดเรื่อง การพูดแสดงความคิดเห็น ๘. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๘.๑ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๘.๑.๑ นักเรียนชมวิดีโอเรื่อง “กบหูหนวก” ที่ครูเปิดให้ดู ๘.๑.๒ นักเรียนตอบคำถามครู ดังนี้ ๘.๑.๒.๑ วิดีโอที่ครูนำมาให้ดูเป็นวิดีโอเกี่ยวกับอะไร ๘.๑.๒.๒ นักเรียนคิดว่าวิดีโอที่รับชมไปดีหรือไม่ดีอย่างไรบ้าง ๘.๑.๓. นักเรียนและครูแสดงความคิดเห็นร่วมกัน ๘.๒ ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๘.๒.๑ นักเรียนศึกษาเรื่องการพูดแสดงความคิดเห็นจากใบความรู้ที่ครูแจกให้ แล้วร่วมกัน สรุปความเข้าใจ โดยมีครูเป็นผู้อธิบายเพิ่มเติมในประเด็นต่าง ๆ ๘.๒.๒ แบ่งกลุ่มออกเป็น ๕ กลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษานิทานชาดกเรื่อง “กกัณฏก ชาดก...ว่าด้วยกิ้งก่าได้ทรัพย์” ๘.๒.๓ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนแสดงความคิดเห็นจากนิทานชาดกลงในกระดาษชาร์ต โดยใช้เวลา ๑๕ นาที ๘.๒.๔ นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงานของกลุ่มตนเองหน้าชั้นเรียน ๘.๓ ขั้นสรุป ๘.๓.๑ นักเรียนและครูสรุปความรู้เรื่องการพูดแสดงความคิดเห็น ว่าเป็นการใช้ความคิด พิจารณาประเด็นต่าง ๆ โดยเป็นความคิดที่แปลกใหม่ น่าสนใจ และสร้างสรรค์สังคม ผู้พูดจึงต้องศึกษา
เรื่องนั้นอย่างละเอียด แล้วจึงวิเคราะห์ วิจารณ์หรือประเมินค่าเรื่องนั้นอย่างมีหลักเกณฑ์ เพื่อให้ผู้ฟังได้รับ ประโยชน์ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตจริง ๘.๓.๒ นักเรียนทำใบงานตามที่ครูมอบหมาย ส่งในชั่วโมงถัดไป ๙. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๙.๑ คลิปวิดีโอเรื่อง กบหูหนวก จำนวน ๑ คลิป ๙.๒ กระดาษชาร์ต จำนวน ๕ แผ่น ๑๐. การวัดและการประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือในการวัด เกณฑ์การวัดและประเมินผล ๑. นักเรียนสามารถอธิบาย ความหมายของการพูดแสดงความ คิดเห็นได้(K) - การตอบคำถาม - การถาม-ตอบ นักเรียนตอบคำถามได้ถูกต้อง ร้อยละ ๘๐ ๒. นักเรียนสามารถพูดแสดงความ คิดเห็นได้ (P) - การทำใบงาน ( ก า ร พ ู ด แ ส ด ง ความคิดเห็น) - การพูดแสดง ความคิดเห็น - ใบงานเรื่อง การพูด แสดงความคิดเห็น - การพูดแสดงความ คิดเห็นจากนิทานชาดก ที่หน้าชั้นเรียน - นักเรียนตอบคำถามได้ ถูกต้องมากกว่าร้อยละ ๗๐ - นักเรียนพูดแสดงความ คิดเห็นได้ตรงประเด็นและ สร้างสรรค์ ๓. นักเรียนมีความกระตือรือร้นต่อ กิจกรรมการเรียนการสอน (A) - ก า ร ส ั ง เ ก ต พฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนผ่านการประเมินอยู่ใน เกณฑ์ดีขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ การพูดประเภทต่างๆ เวลา ๕ ชั่วโมง เรื่อง การพูดรายงาน เวลา ๑ ชั่วโมง วันที่สอน ๒๐ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๑๒.๐๐-๑๒.๕๐ น. สอนชั้น ม.๑/๖ เวลา ๑๒.๕๕-๑๓.๔๕ น. สอนชั้น ม.๑/๕ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๐๙.๑๕-๑๐.๐๕ น. สอนชั้น ม.๑/๔ ครูผู้สอน นางสาวศรีเพรชรี ภักดีปัญญา โรงเรียนท่าบ่อ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็นวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณค่า และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตัวชี้วัด ม.๑/๕ พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและสนทนา ม.๑/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ๒. สาระสำคัญ ในการพูดรายงานเราสามารถเลือกฟังและดูสื่อต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณ จะทำให้เราพูดแสดง ความคิด และความรู้สึกต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์ ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนบอกหลักของการพูดรายงานได้(K) ๒. นักเรียนพูดรายงานได้ถูกต้อง (P) ๓. นักเรียนมีความกระตือรือร้นต่อกิจกรรมการเรียนการสอน (A) ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑. การพูดรายงาน ๔.๒. มารยาทในการพูด ๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕.๑. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๕.๒. ความสามารถในการคิด ๕.๓. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑. มีวินัย ๖.๒. ใฝ่เรียนรู้ ๖.๓. มุ่งมั่นในการทำงาน ๗. ภาระงาน ๗.๑. นักเรียนสังเกตจุดเด่นในการพูดรายงานข่าว ๗.๒. นักเรียนสวมบทบาทในการเป็นนักข่าวเพื่อพูดหน้าชั้นเรียน ๗.๓. นักเรียนฝึกพูดรายงานจากแบบฝึกที่ครูกำหนดให้ ๘. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๘.๑ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๘.๑.๑ นักเรียนชมคลิปวิดีโอการรายงานข่าวของสำนักข่าวไทย ที่ครูนำมาให้ชม พร้อมสังเกตจุดเด่นในการพูดรายงานข่าวนั้น ๆ (ตัวอย่างการสังเกตของนักเรียน พูดฉะฉาน ออกเสียง ถูกต้อง ตามอักขระ การออกเสียงคำควบกล้ำชัดเจน และวิธีการถ่ายทอดน้ำเสียงจากเนื้อข่าว) ๘.๑.๒ นักเรียนสวมบทบาทในการเป็นนักข่าวพูดรายงานเหตุการณ์ตามหัวข้อที่ครู กำหนดคร่าว ๆ ๘.๒ ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๘.๒.๑ นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น ๕ กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กันและรับใบความรู้จากครู ๘.๒.๒ นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่องการพูดรายงาน และมารยาทในการพูดรายงาน ๘.๒.๓ นักเรียนแต่ละกลุ่มรับกระดาษบรู๊ฟไปกลุ่มละ ๑ แผ่นใหญ่ พร้อมช่วยกันเขียน แผนผังความคิด สรุปเนื้อหาเรื่องการพูดรายงาน และมารยาทในการพูดรายงาน ๘.๒.๔ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดสถานการณ์ตัวอย่างในการพูดรายงานที่ถูกต้อง กลุ่มละ ๑ สถานการณ์ เช่น สมมติบทบาทให้กลุ่มตัวเองเป็นพิธีกรรายงานข่าวบันเทิง นักเรียนก็ต้องแสดง ท่าทางให้เหมือนกับกำลังอ่านข่าวบันเทิงอยู่ เช่น แสดงท่าทางให้สนุก สดใส ร่าเริง การออกเสียงก็ต้อง ชัดเจน ทำให้ผู้ฟังรู้สึกสนุก และคล้อยตามกับสารที่เรากำลังสื่อออกมา ๘.๒.๕ นักเรียนในแต่ละกลุ่มออกมาสรุปความรู้เรื่องการพูดรายงาน และมารยาทในการ พูดรายงานพอสังเขป และแสดงสถานการณ์ตัวอย่างที่กลุ่มของตนเองคิดขึ้นมา ๘.๓ ขั้นสรุป
๘.๓.๑ นักเรียนกลุ่มผู้ชม และครูคอยสังเกตว่าแต่ละกลุ่มมีแสดงสถานการณ์ตัวอย่าง ได้ ถูกต้องตามหลักการพูดรายงาน และมารยาทในการพูดรายงานหรือไม่ ๘.๓.๒ นักเรียน และครูร่วมกันสรุปบทเรียนเรื่อง การพูดรายงาน และมารยาทในการ พูดรายงาน ว่ามีวิธีการพูดอย่างไร ถึงจะเสริมบุคลิกภาพของผู้พูด ทำให้ผู้ฟังติดตาม และรู้สึกประทับใจ ๙. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๙.๑ กระดาษบรู๊ฟ จำนวน ๕ แผ่น ๙.๒ คลิปตัวอย่างการพูดรายงานข่าว จำนวน ๑ คลิป ๙.๓ ใบความรู้ เรื่องการพูดรายงาน และมารยาทในการพูดรายงาน จำนวน ๑๐ ชุด ๑๐. การวัดและการประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือในการวัด เกณฑ์การวัดและ ประเมินผล ๑. นักเรียนบอกหลักของ การพูดรายงานได้(K) - เขียนแผนผังความคิด - แผนผังความคิด นักเรียนตอบคำถามได้ ถูกต้องร้อยละ ๘๐ ๒. นักเรียนพูดรายงานได้ ถูกต้อง (P) - การพูดรายงานจาก บทบาทสมมุติ - บทบาทสมมุติการพูด รายงานหน้าชั้นเรียน นักเรียนแสดงบทบาทสมมุติ การพูดรายงานได้ตรงตาม หลักการพูดรายงานไม่ต่ำ กว่าร้อยละ ๖๐ ๓ . น ั ก เ ร ี ย น ม ี ค ว า ม กระตือรือร้นต่อกิจกรรมการ เรียนการสอน (A) - การสังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนผ่านการประเมินอยู่ ในเกณฑ์ดีขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ การพูดประเภทต่างๆ เวลา ๕ ชั่วโมง เรื่อง การพูดสรุปใจความสำคัญ เวลา ๑ ชั่วโมง วันที่สอน ๒๑ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๑๒.๐๐-๑๒.๕๐ น. สอนชั้น ม.๑/๖ เวลา ๑๒.๕๕-๑๓.๔๕ น. สอนชั้น ม.๑/๕ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๐๙.๑๕-๑๐.๐๕ น. สอนชั้น ม.๑/๔ ครูผู้สอน นางสาวศรีเพรชรี ภักดีปัญญา โรงเรียนท่าบ่อ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็นวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณค่า และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตัวชี้วัด ม.๑/๕ พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและสนทนา ม.๑/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ๒. สาระสำคัญ การพูดสรุปความจากเรื่องที่ฟังและดูเป็นการบอกเล่าสรุปใจความ เป็นการพูดย่อความและสรุปใจความ สำคัญของเรื่องที่ฟังและดูจากสื่อต่าง ๆ เช่น สื่อออนไลน์ สื่อวิทยุ โทรทัศน์ ฯลฯ ผู้เรียนควรศึกษาขั้นตอน การพูดสรุปใจความสำคัญและการพูดแบบย่อความการพูดสรุปความต้องใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย มี สาระสำคัญครบถ้วนตรงตามข้อเท็จจริงของเรื่อง และอ้างอิงแหล่งที่มาให้ชัดเจน โดยใช้ทักษะการจับ ใจความสำคัญ ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรียนสรุปหลักการพูดสรุปความจากเรื่องที่ฟังและดู(K) ๓.๒ นักเรียนพูดสรุปความจากเรื่องที่ฟังและดู(P) ๓.๓ นักเรียนเห็นความสำคัญของการพูดสรุปความจากเรื่องที่ฟังและดูและมีมารยาทในการฟัง การดู และ การพูด(A) ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑. การพูดสรุปใจความ ๔.๒. มารยาทในการพูด
๕. สมรรถนะสำคัญ ๕.๑. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๕.๒. ความสามารถในการคิด ๕.๓. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑. มีวินัย ๖.๒. ใฝ่เรียนรู้ ๖.๓. มุ่งมั่นในการทำงาน ๗. ภาระงาน ๗.๑ เล่านิทาน ๘. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๘.๑ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๘.๑.๑ นักเรียนรับฟังเรื่องราวที่ครูเล่าผ่านกิจกรรม “เรื่องเล่าเช้านี้” แล้วให้นักเรียนพูด สรุปใจความตามหลัก ๕W๑H เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน ๘.๒ ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๘.๒.๑ นักเรียนรับฟังครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักการอ่านจับใจความโดยใช้เทคนิค ๕ W๑H ๘.๒.๒ นักเรียนรับชมคลิปวิดีโอนิทาน “เด็กขี้เกียจ” โดยมีความยาว ๑๑ นาทีหลังจาก นั้นให้นักเรียนสรุปใจความสำคัญจากนิทานตามหลัก ๕W๑H ตามใบงานที่ครูให้ ๘.๒.๓ ครูสุ่มนักเรียน ๓ คนออกมาเล่าเรื่องจากนิทานตามที่ตนสรุป ๘.๒.๔ นักเรียนและครูร่วมกันตรวจความถูกต้องและเฉลยการจับใจความจากนิทานเรื่อง เด็กขี้เกียจ ๘.๓ ขั้นสรุป ๘.๓.๑ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาในการพูดสรุปใจความสำคัญ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ การพูดประเภทต่างๆ เวลา ๕ ชั่วโมง เรื่อง การพูดประเมินค่าสื่อที่มีเนื้อหาโน้มน้าวใจ เวลา ๑ ชั่วโมง วันที่สอน ๒๕ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๑๓.๕๐-๑๔.๔๐ น. สอนชั้น ม.๑/๕ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๑๒.๕๕-๑๓.๔๕ น. สอนชั้น ม.๑/๖ เวลา ๑๒.๕๕-๑๓.๔๕ น. สอนชั้น ม.๑/๔ ครูผู้สอน นางสาวศรีเพรชรี ภักดีปัญญา โรงเรียนท่าบ่อ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความรู้ ความคิดและ ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ม.๑/๕ พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและสนทนา ม.๑/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ๒. สาระสำคัญ การโน้มน้าวใจ คือ การทำให้ผู้รับสารเกิดความเชื่อถือและมีความคิดคล้อยตามกับข้อมูลที่ให้หรือ การชักชวนจนปฏิบัติตาม สื่อที่มีเนื้อหาโน้มน้าวใจนี้มีทั้งรูปแบบของสื่อสิ่งพิมพ์ นิตยสาร โทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต ปัจจุบันการนำเสนอข้อมูลข่าวสารตลอดจนความรู้ต่างๆ สื่อสารได้อย่างรวดเร็วแต่บ่อยครั้ง ข้อมูลไม่ตรงกับข้อเท็จจริง บิดเบือน ดังนั้นจึงต้องรู้จักการประเมินค่าเนื้อหาที่ปรากฏในสื่อเหล่านี้ ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรียนบอกแนวทางการพูดประเมินค่าสื่อที่มีเนื้อหาโน้มน้าวใจได้ (K) ๓.๒ นักเรียนเขียนประโยคที่มีเนื้อหาโน้มน้าวใจได้ (P) ๓.๓ นักเรียนมีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด(A) ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑. การพูดประเมินค่าสื่อที่มีเนื้อหาโน้มน้าวใจ ๔.๒. มารยาทในการพูด ๕. สมรรถนะสำคัญ ๕.๑. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๕.๒. ความสามารถในการคิด ๕.๓. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑. มีวินัย ๖.๒. ใฝ่เรียนรู้ ๖.๓. มุ่งมั่นในการทำงาน ๗. ภาระงาน ๗.๑ แสดงความคิดเห็นสื่อโฆษณา ๘. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๘.๑ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๘.๑.๑ นักเรียนร่วมกันสนทนาโดยตอบคคำถามดังนี้ -สื่อที่น่าเชื่อถือเป็นอย่างไร -สื่อที่ไม่น่าเชื่อถือเป็นอย่างไร ๘.๑.๒ นักเรียนรับชมคลิปวิดีโอเกี่ยวกับสื่อโฆษณา แล้วร่วมกับแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับสื่อโฆษณา ๘.๒ ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๘.๒.๑ นักเรียนศึกษาความรู้เรื่องการพูดประเมินค่าสื่อที่มีเนื้อหาโน้มน้าวใจ ๘.๒.๒ นักเรียนและครูร่วมกันสรุปหลักการพูดประเมินค่าสื่อที่มีเนื้อหาโน้มน้าวใจโดย สรุปเป็นแผนภาพความคิด ๘.๒.๓ นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นจากประเด็น “จากข่าวที่มีผู้โทรศัพท์มาหลอก ให้หลงเชื่อด้วยวิธีการและจากสถานการณ์ต่างๆซึ่งผู้ที่หลงเชื่อก็จะได้รับความเสียหาย”โดยนักเรียน ร่วมกันคิดหาแนวทางป้องกันตนเองและคนใกล้ชิด ๘.๒.๔ นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น ๕ กลุ่ม โดยครูจะให้นักเรียนจับสลากหัวข้อในการ ออกแบบคิดสินค้าให้เนื้อหามีความน่าสนใจและโน้มน้าวใจให้ชัดเจน ๘.๒.๕ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอสินค้าของกลุ่มตนเองและเพื่อนในห้องร่วมกัน พิจารณาและพิจารณ์สินค้านั้นๆ
๘.๓ ขั้นสรุป ๘.๓.๑ นักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาการพูดประเมินค่าสื่อที่มีเนื้อหาโน้มน้าวใจ และ ประโยชน์ในการศึกษา ๙. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๙.๑ สื่อโฆษณา ๙.๒ กระดาษบรูฟ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน ๑. นักเรียนบอกแนวทางการพูด ประเมินค่าสื่อที่มีเนื้อหาโน้มน้าวใจได้ (K) คำถาม ค ำ ถ า ม ใ น ชั้ น เรียน นักเรียนตอบคำถามได้ถูกต้อง ร้อยละ ๘๐ ๒. นักเรียนเขียนประโยคที่มีเนื้อหา โน้มน้าวใจได้ (P) ใบงาน กิจกรรม ออกแบบสินค้า นักเรียนตอบคำถามได้ถูกต้อง ร้อยละ ๘๐ ๓. นักเรียนมีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด(A) สังเกต พฤติกรรม แบบสังเกต พฤติกรรม นักเรียนผ่านการประเมินร้อย ละ ๘๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ การพูดประเภทต่างๆ เวลา ๕ ชั่วโมง เรื่อง การพูดเล่าเรื่อง เวลา ๑ ชั่วโมง วันที่สอน ๒๗ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๑๒.๐๐-๑๒.๕๐ น. สอนชั้น ม.๑/๖ เวลา ๑๒.๕๕-๑๓.๔๕ น. สอนชั้น ม.๑/๕ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ ๒๕๖๖ เวลา ๐๙.๑๕-๑๐.๐๕ น. สอนชั้น ม.๑/๔ ครูผู้สอน นางสาวศรีเพรชรี ภักดีปัญญา โรงเรียนท่าบ่อ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความรู้ ความคิดและ ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ม.๑/๕ พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและสนทนา ม.๑/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ๒. สาระสำคัญ การพูดเล่าเรื่อง เป็นการพูดเพื่อถ่ายทอดเรื่องราว ประสบการณ์ หรือเหตุการณ์ต่างๆ ให้ผู้อื่น เข้าใจเรื่องราวหรือสิ่งต่างๆ ที่น่าสนใจ โดยผู้พูดอาจเล่าจากสิ่งที่ได้ฟังหรือได้ดูมา การพูดเล่าเรื่องมักจะให้ ความสนุกสนานเพลิดเพลินแก่ผู้ฟังเป็นสำคัญ ทั้งนี้อาจจะใช้ภาษาระดับกึ่งทางการหรือภาษาระดับ สนทนาเข้ามาแทรกอยู่ด้วย ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรียนบอกหลักการพูดเล่าเรื่องได้ (K) ๓.๒ นักเรียนพูดเล่าเรื่องตามหัวข้อที่ครูกำหนดตากหลักการพูดเล่าเรื่องได้ (P) ๓.๓ นักเรียนมีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด(A) ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑. การพูดประเมินค่าสื่อที่มีเนื้อหาโน้มน้าวใจ ๔.๒. มารยาทในการพูด ๕. สมรรถนะสำคัญ ๕.๑. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๕.๒. ความสามารถในการคิด ๕.๓. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑. มีวินัย ๖.๒. ใฝ่เรียนรู้ ๖.๓. มุ่งมั่นในการทำงาน ๗. ภาระงาน ๗.๑ จดบันทึกเรื่องราวเล่าเรื่องในสมุด ๘. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๘.๑ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๘.๑.๑ นักเรียนร่วมกันตอบคำถามว่า “ถ้านักเรียนมีหลักการจะพูดอย่างไรให้ดึงดูดผู้ฟัง ได้” ๘.๒ ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๘.๒.๑ นักเรียนร่วมกันศึกษาหลักการพูดเล่าเรื่อง และเขียนสรุปเนื้อหาใส่สมุด ๘.๒.๒ นักเรียนเลือกเรื่องมา ๑ เรื่อง เล่าเรื่องหรือเล่าประสบการณ์ เป็นการถ่ายทอด เรื่องราวที่ตนเองประสบพบเห็นให้ผู้อื่นได้ฟัง การเล่าเรื่องอาจช่วยให้ผู้ฟังสนุกสนานหรือ เป็นคติเตือนใจที่เป็นประโยชน์ในการดำเนินชีวิตประจำวันของผู้ฟัง ๘.๒.๓ นักเรียนเตรียมเนื้อเรื่อง โดยให้นักเรียนเขียนเรื่องราวที่จะเล่าใส่สมุดความยาวไม่ต่ำกว่า ๕ บรรทัด ๘.๒.๔ ครูสุ่มนักเรียนให้ออกมาเล่าเรื่อง ๓ คนตามเวลาที่ครูกำหนด ๘.๓ ขั้นสรุป ๘.๓.๑ นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเนื้อหาการพูดเล่าเรื่อง ๙. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๙.๑ หนังสือเรียนวิชาภาษาไทยพื้นฐานมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๑๐. การวัดและการประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ๑ นักเรียนบอกหลักการพูดเล่าเรื่อง ได้ (K) คำถาม คำถามในชั้นเรียน นักเรียนตอบคำถามได้ ถูกต้องร้อยละ ๗๐
๒ นักเรียนพูดเล่าเรื่องตามหัวข้อที่ ครูกำหนดตากหลักการพูดเล่าเรื่อง ได้ (P) การพูดเล่าเรื่อง แบบประเมินการ พูด นักเรียนตอบคำถามได้ ถูกต้องร้อยละ ๗๐ ๓ นักเรียนมีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด(A) สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต พฤติกรรม นักเรียนตอบคำถามได้ ถูกต้องร้อยละ ๗๐