The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัดเเพร่ปีการศึกษา 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัดเเพร่ปีการศึกษา 2566

ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัดเเพร่ปีการศึกษา 2566

1


ก คำนำ สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดแพร่ สังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นตามคําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 19/2560 เรื่องการปฏิรูปการศึกษา ในส่วนภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2560 (ข้อ 11) เพื่อปฏิบัติราชการตามอํานาจ หน้าที่ นโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ต่าง ๆ ที่มอบนโยบาย และให้มีอํานาจหน้าที่ในเขตจังหวัด รวมทั้งให้มีอํานาจหน้าที่จัดระบบ ส่งเสริม และ ประสานงานเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดแพร่ ได้ดําเนินงานขับเคลื่อนงานตามนโยบายและภารกิจ ของกระทรวงศึกษาธิการในระดับพื้นที่จังหวัดแพร่ เกี่ยวกับการบริหารและจัดการศึกษาตามที่กฎหมาย กําหนดและตามกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา พ.ศ. 2560 กําหนดให้สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดมีอํานาจหน้าที่ คือ ศึกษา วิเคราะห์ และประมวลผล ข้อมูลสารสนเทศ ด้านการศึกษาในภาพรวมของจังหวัดให้สอดคล้องกับนโยบาย ตลอดจนพัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศและแผนพัฒนาการศึกษาของจังหวัด กําหนดขอบเขตข้อมูลเฉพาะกิจสําหรับการบริหารจัดการ ในจังหวัด ซึ่งสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดแพร่ ได้ดําเนินการประสานกับทุกหน่วยงานทางการศึกษา หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และทุกภาคส่วนในระดับจังหวัดร่วมเป็นเครือข่ายในการจัดเก็บข้อมูล เพื่อรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลเฉพาะกิจ ให้มีความสมบูรณ์ ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน เรียบร้อยแล้ว สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดแพร่ขอขอบคุณทุกภาคส่วนที่ให้ความร่วมมือ และให้ ความอนุเคราะห์ข้อมูล อีกทั้งร่วมดําเนินการสํารวจ รวบรวม และจัดทําข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา ประจําปีการศึกษา 2566 ให้สําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารข้อมูลสารสนเทศ ด้านการศึกษา ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานทางการศึกษา หน่วยงานต่าง ๆ ภาคีเครือข่าย ตลอดจน ผู้ที่เกี่ยวข้องใช้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผนการบริหารจัดการศึกษา หรือวางแผนและบริหาร จัดการของ องค์กรให้มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลตามสมควร ต่อไป กลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแพร่


ข สารบัญ หน้า คำนำ ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ง สารบัญภาพแผนภูมิ ฉ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปจังหวัดแพร่ √ ข้อมูลทั่วไปจังหวัดแพร่ 2 √ ข้อมูลประชากร 5 √ ยุทธศาสตร์สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแพร่ 6 √ นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ 8 ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานด้านการศึกษาจังหวัดแพร่ √ ข้อมูลด้านการศึกษาในจังหวัดแพร่ 10 √ ข้อมูลจำนวนสถานศึกษา จำนวนห้องเรียน จำนวนครู จำนวนนักเรียน 10 √ ข้อมูลจำนวนผู้บริหารสถานศึกษา 14 √ ข้อมูลจำนวนนักเรียนระดับก่อนปฐมวัย 15 √ ข้อมูลจำนวนนักเรียนระดับประถมศึกษา 16 √ ข้อมูลจำนวนนักเรียนระดับมัธยมศึกษา 17 √ ข้อมูลจำนวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 18 √ ข้อมูลจำนวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา 19 √ ข้อมูลจำนวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี 20 √ ข้อมูลจำนวนนักเรียน Home School 21 √ ข้อมูลจำนวนนักเรียนมูลนิธิบ้านแห่งความเมตตา 22 ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านคุณภาพการศึกษา ผลการประเมินความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) √ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 24 จำแนกตามระดับสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแพร่ สำนักงานศึกษาธิการภาค 16 √ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 25 คิดเป็นร้อยละของนักเรียนที่ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป √ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 26 จำแนกตามสังกัดหน่วยงานทางการศึกษาในจังหวัดแพร่ √ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 27 จำแนกตามระดับคุณภาพ √ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 28 จำแนกตามด้านความสามารถและมาตรฐานการเรียนรู้


ค สารบัญ(ต่อ) หน้า √ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 31 จำแนกตามรายด้านความสามารถ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) √ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 32 √ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 34 เทียบกับระดับประเทศ ระดับภาคเหนือ และระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 √ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 38 ระดับจังหวัดแพร่และระดับประเทศ √ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 41 ระดับจังหวัดแพร่ระหว่างปีการศึกษา 2564 กับปีการศึกษา 2565 √ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 47 ตามสังกัดหน่วยงานทางการศึกษาในจังหวัดแพร่ √ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 51 ระหว่างปีการศึกษา 2564 กับปีการศึกษา 2565 ตามสังกัด หน่วยงานทางการศึกษาในจังหวัดแพร่ √ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 56 จำแนกตามขนาดโรงเรียนในจังหวัดแพร่ √ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 60 จำแนกตามที่ตั้งโรงเรียนในจังหวัดแพร่ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) √ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าการทดสอบ 64 √ สรุปผลการทดสอบ 65 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) √ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าการทดสอบ 76 √ สรุปผลการทดสอบ 77 ภาคผนวก 82


ง สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลจำนวน ตำบล หมู่บ้าน ชุมชน อบจ. ทม. ทต. และอบต. 5 ตารางที่ 2 แสดงข้อมูลจำนวนประชากรและครัวเรือน 5 ตารางที่ 3 แสดงข้อมูลจำนวนสถานศึกษา จำนวนห้องเรียน จำนวนครู 10 จำนวนนักเรียน ปีการศึกษา 2566 ตารางที่ 4 แสดงข้อมูลจำนวนผู้บริหารสถานศึกษา 13 ตารางที่ 5 แสดงข้อมูลจำนวนนักเรียนระดับปฐมวัย 14 ตารางที่ 6 แสดงข้อมูลจำนวนนักเรียนระดับประถมศึกษา 15 ตารางที่ 7 แสดงข้อมูลจำนวนนักเรียนระดับมัธยมศึกษา 16 ตารางที่ 8 แสดงข้อมูลจำนวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 17 ตารางที่ 9 แสดงข้อมูลจำนวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา 18 ตารางที่ 10 แสดงข้อมูลจำนวนนักศึกษาระดับปริญญา 19 ตารางที่ 11 แสดงข้อมูลจำนวนนักเรียน Home School 20 ตารางที่ 12 แสดงข้อมูลจำนวนนักเรียนมูลนิธิบ้านแห่งความเมตตา 21 ตารางที่ 13 คะแนนร้อยละของผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) 24 ตารางที่ 14 ร้อยละของนักเรียนที่ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป 25 ของผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ตารางที่ 15 คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) 26 ตารางที่ 16 จำนวนร้อยละผลประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) 27 ตารางที่ 17 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) 28 ตารางที่ 18 การเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) 31 ตารางที่ 19 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 32 ตารางที่ 20 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 34 ระดับจังหวัดแพร่ 2565 เทียบกับระดับประเทศ ระดับภาคเหนือ และระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 ตารางที่ 21 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 35 ระดับจังหวัดแพร่ ปีการศึกษา 2565 เทียบกับระดับประเทศ ระดับภาคเหนือ และสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 ตารางที่ 22 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 38 ตารางที่ 23 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 41 ระหว่างปีการศึกษา 2565 กับปีการศึกษา 2564 ตารางที่ 24 แสดงคะแนนมาตรฐานที (T-Score) 44 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET)


จ สารบัญตาราง(ต่อ) หน้า ตารางที่ 25 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 47 จำแนกตามสังกัด หน่วยงานทางการศึกษาในจังหวัดแพร่ ตารางที่ 26 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 52 เปรียบเทียบปีการศึกษา 2565 กับปีการศึกษา 2564 ตารางที่ 27 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 57 ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามขนาดโรงเรียน ตารางที่ 28 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 60 จำแนกตามที่ตั้งในโรงเรียน ตารางที่ 29 จำนวนผู้เรียนชั้นประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย 64 ที่เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) ตารางที่ 30 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) 65 ปีการศึกษา 2565 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแพร่ เทียบกับระดับ สำนักงานศึกษาธิการภาค 16 (ศธภ.16) และระดับประเทศ ตารางที่ 31 คะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ 69 ด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) เปรียบเทียบปีการศึกษา 2565 กับปีการศึกษา 2564 ตารางที่ 32 คะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ 72 ด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) จำแนกตามศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ตารางที่ 33 คะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ 73 ด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET)ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ปีการศึกษา 2565 ตารางที่ 34 คะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ 74 ด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET)ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ปีการศึกษา 2565 ตารางที่ 35 จำนวนผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) 76 ตารางที่ 36 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) 77 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 3 (ปวช.) วิชาความรู้ด้านสมรรถนะทั่วไป เปรียบเทียบกับระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 และระดับประเทศ ตารางที่ 37 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) 78 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 3 (ปวช.) ระดับจังหวัดแพร่ เปรียบเทียบปีการศึกษา 2565 กับปีการศึกษา 2564 ตารางที่ 38 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) 79 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 3 (ปวช.) วิชาความรู้ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป


ฉ สารบัญแผนภูมิ หน้า ภาพแผนภูมิที่ 1 ผู้บริหารสถานศึกษา ปีการศึกษา 2566 13 ภาพแผนภูมิที่ 2 นักเรียนก่อนปฐมวัย ปีการศึกษา 2566 14 ภาพแผนภูมิที่ 3 นักเรียนประถมศึกษา ปีการศึกษา 2566 15 ภาพแผนภูมิที่ 4 นักเรียนมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2566 16 ภาพแผนภูมิที่ 5 นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีการศึกษา 2566 17 ภาพแผนภูมิที่ 6 นักศึกษาระดับอนุปริญญา ปีการศึกษา 2566 18 ภาพแผนภูมิที่ 7 นักศึกษาระดับปริญญา ปีการศึกษา 2566 19 ภาพแผนภูมิที่ 8 นักเรียน Home School ปีการศึกษา 2566 20 ภาพแผนภูมิที่ 9 นักเรียนมูลนิธิบ้านแห่งความเมตตา ปีการศึกษา 2566 21 ภาพแผนภูมิที่ 10 คะแนนเฉลี่ยร้อยละผลของการประเมินคุณภาพ (NT) 24 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2566 ภาพแผนภูมิที่ 11 ร้อยละของนักเรียนที่ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป 25 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2566 ภาพแผนภูมิที่ 12 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) 26 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2566 ภาพแผนภูมิที่ 13 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) 27 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2566 จำแนกตามระดับคุณภาพด้านความสามารถ ภาพแผนภูมิที่ 14 การเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) 31 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2566 ระหว่างปีการศึกษา 2565 กับปีการศึกษา 2564 ภาพแผนภูมิที่ 15 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 33 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ภาพแผนภูมิที่ 16 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 33 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 ภาพแผนภูมิที่ 17 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ภาพแผนภูมิที่ 18 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 37 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ กับระดับประเทศ ระดับภาคเหนือ และระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 ภาพแผนภูมิที่ 19 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ กับระดับประเทศ ระดับภาคเหนือ และระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16


ช สารบัญแผนภูมิ(ต่อ) หน้า ภาพแผนภูมิที่ 20 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 38 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ กับระดับประเทศ ระดับภาคเหนือ และระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 ภาพแผนภูมิที่ 21 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 39 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ระดับจะงหวัดแพร่ เทียบกับระดับประเทศ ภาพแผนภูมิที่ 22 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 40 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3ปีการศึกษา 2565 ระดับจะงหวัดแพร่ เทียบกับระดับประเทศ ภาพแผนภูมิที่ 23 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 40 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ระดับจะงหวัดแพร่ เทียบกับระดับประเทศ ภาพแผนภูมิที่ 24 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 42 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ระหว่างปีการศึกษา 2565 กับปีการศึกษา 2564 ภาพแผนภูมิที่ 25 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 43 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3ปีการศึกษา 2565 ระหว่างปีการศึกษา 2565 กับปีการศึกษา 2564 ภาพแผนภูมิที่ 26 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 43 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ระหว่างปีการศึกษา 2565 กับปีการศึกษา 2564 ภาพแผนภูมิที่ 27 การเปรียบเทียบคะแนนมาตรฐานที (T-Score) การทดสอบทางการศึกษา 45 ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2565 กับปีการศึกษา 2564 ภาพแผนภูมิที่ 28 การเปรียบเทียบคะแนนมาตรฐานที (T-Score) การทดสอบทางการศึกษา 46 ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างปีการศึกษา 2565 กับปีการศึกษา 2564 ภาพแผนภูมิที่ 29 การเปรียบเทียบคะแนนมาตรฐานที (T-Score) การทดสอบทางการศึกษา 46 ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2565 กับปีการศึกษา 2564 ภาพแผนภูมิที่ 30 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) 50 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ตามสังกัดหน่วยงานทางการศึกษาในจังหวัดแพร่


ซ สารบัญแผนภูมิ(ต่อ) หน้า ภาพแผนภูมิที่ 31 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) 51 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 ตามสังกัดหน่วยงานทางการศึกษาในจังหวัดแพร่ ภาพแผนภูมิที่ 32 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) 51 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ตามสังกัดหน่วยงานทางการศึกษาในจังหวัดแพร่ ภาพแผนภูมิที่ 33 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) 59 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามขนาดโรงเรียนในจังหวัดแพร่ ภาพแผนภูมิที่ 34 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) 59 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามขนาดโรงเรียนในจังหวัดแพร่ ภาพแผนภูมิที่ 35 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) 60 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามขนาดโรงเรียนในจังหวัดแพร่ ภาพแผนภูมิที่ 36 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) 62 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามที่ตั้งโรงเรียนในจังหวัดแพร่ ภาพแผนภูมิที่ 37 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) 62 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามที่ตั้งโรงเรียนในจังหวัดแพร่ ภาพแผนภูมิที่ 38 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) 63 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามที่ตั้งโรงเรียนในจังหวัดแพร่ ภาพแผนภูมิที่ 39 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) 67 ชั้นประถมศึกษา ปีการศึกษา 2565 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแพร่ เปรียบเทียบกับ สำนักงานศึกษาธิการภาค 16 และระดับประเทศ ภาพแผนภูมิที่ 40 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) 67 ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ปีการศึกษา 2565 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแพร่ เปรียบเทียบกับ สำนักงานศึกษาธิการภาค 16 และระดับประเทศ ภาพแผนภูมิที่ 41 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) 68 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ปีการศึกษา 2565 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแพร่ เปรียบเทียบกับ สำนักงานศึกษาธิการภาค 16 และระดับประเทศ


ฌ สารบัญแผนภูมิ(ต่อ) หน้า ภาพแผนภูมิที่ 42 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ 70 (N-NET) ชั้นประถมศึกษา 2565 เปรียบเทียบกับ ปีการศึกษา 2564 ภาพแผนภูมิที่ 43 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ 71 (N-NET) ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 2565 เปรียบเทียบกับ ปีการศึกษา 2564 ภาพแผนภูมิที่ 44 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ 71 (N-NET) ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 2565 เปรียบเทียบกับ ปีการศึกษา 2564 ภาพแผนภูมิที่ 45 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ 73 (N-NET)ชั้นประถมศึกษา จำแนกตามศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนในจังหวัดแพร่ ภาพแผนภูมิที่ 46 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ 74 (N-NET)ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำแนกตามศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนในจังหวัดแพร่ ภาพแผนภูมิที่ 47 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ 75 (N-NET)ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจำแนกตามศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนในจังหวัดแพร่ ภาพแผนภูมิที่ 48 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) 78 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 3 (ปวช.) จังหวัดแพร่ ปีการศึกษา 2565 วิชาความรู้ด้านสมรรถนะหลัก และสมรรถนะทั่วไป จำแนกตามองค์ประกอบ เปรียบเทียบกับระดับ สำนักงานศึกษาธิการภาค 16 และระดับประเทศ ภาพแผนภูมิที่ 49 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) 79 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 3 (ปวช.) ระดับจังหวัดแพร่ เปรียบเทียบปีการศึกษา 2565 กับปีการศึกษา 2564 ภาพแผนภูมิที่ 50 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) 81 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 3 (ปวช.) ปีการศึกษา 2565 วิชาความรู้ด้านสมรรถนะทั่วไป จำแนกตามองค์ประกอบ ตามผลการทดสอบของสถานศึกษาในจังหวัดแพร่


๑ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปจังหวัดแพร่


๒ ข้อมูลทั่วไปจังหวัดแพร่ ตราประจำจังหวัดแพร่ ตราประจำจังหวัดแพร่เป็นรูปม้ายืน และมีโบราณสถานที่สำคัญของจังหวัดแพร่คือ พระธาตุช่อแฮ ประกอบอยู่บนหลังม้า ต้นไม้ประจำจังหวัดแพร่ คือ ต้นยมหิน มีลำต้นตรง สูงประมาณ 15-25 เมตร เปลือกนอกมีสีน้ำตาลถึงสีน้ำตาลดำ ใบประกอบแบบ ขนนก ปลายคี่ ยาวประมาณ 30-50 ซม. มีใบย่อยที่ออกตรงข้ามกัน 4-10 คู่ และที่ ปลายก้านอีก 1 ใบ ดอกมีลักษณะเป็นช่อ มีกลิ่นหอม มีความยาว 1.5 ซม. ผลเป็นแบบผลแห้ง มีเปลือกแข็ง สีน้ำตาล รูปทรงแบบไข่ ขนาดยาว 2.5-5.0 ซม. เมื่อแก่จะ มีสีดำ เมล็ดมีลักษณะแบนเป็นแผ่นบางๆ สีน้ำตาล ธงจังหวัดแพร่ ธงพื้นสีน้ำตาล-แดง แบ่งตามแนวตั้ง ตรงกลางเป็นรูปวัดพระธาตุช่อแฮ


๓ คำขวัญประจำจังหวัดแพร่ “หม้อห้อม ไม้สัก ถิ่นรักพระลอ ช่อแฮศรีเมือง ลือเลื่องแพะเมืองผี คนแพร่นี้ใจงาม” สภาพทางภูมิศาสตร์ พื้นที่จังหวัดแพร่ล้อมรอบด้วยภูเขาทั้ง 4 ทิศ พื้นที่ส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 80 เป็นภูเขา มีพื้นที่ราบ เพียงร้อยละ 20 โดยลาดเอียงไปทางทิศใต้ตามแนวไหลของแม่น้ำยมคล้ายก้นกระทะ พื้นที่ราบของจังหวัด จะอยู่ระหว่างหุบเขามี 2 แปลงใหญ่ คือ ที่ราบบริเวณพื้นที่อำเภอร้องกวาง อำเภอเมืองแพร่ อำเภอสูงเม่น และ อำเภอเด่นชัย และอีกหนึ่งแปลงคือ บริเวณที่ตั้งอำเภอลองและอำเภอวังชิ้น ซึ่งที่ราบดังกล่าวใช้เป็น ที่อยู่อาศัย และทำการเกษตร สถานที่ตั้ง อาณาเขต จังหวัดแพร่เป็น 1 ใน 17 จังหวัดภาคเหนือของประเทศไทย ตั้งอยู่ระหว่างเส้นรุ้งเหนือที่ 14.70 ถึง 18.44 องศา กับเส้นแวงที่ 99.58 ถึง 100.32 องศา อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลประมาณ 155 เมตร อยู่ห่างจาก กรุงเทพมหานครตามทางหลวง หมายเลข 11 และ 101 ประมาณ 551 กิโลเมตร และทางรถไฟ 550 กิโลเมตร (ถึงสถานีรถไฟเด่นชัย) มีเนื้อที่ประมาณ 6,538.59 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 4,086,625 ไร่ และมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ ทิศเหนือ เขตอำเภอสองและอำเภอร้องกวาง ติดต่อกับ จังหวัดลำปาง น่าน และพะเยา ทิศตะวันออก เขตอำเภอเมืองแพร่และอำเภอร้องกวาง ติดต่อกับ จังหวัดน่านและอุตรดิตถ์ ทิศใต้เขตอำเภอเด่นชัยและอำเภอวังชิ้น ติดต่อกับ จังหวัดอุตรดิตถ์และสุโขทัย ทิศตะวันตก เขตอำเภอสอง อำเภอลอง และอำเภอวังชิ้น ติดต่อกับ จังหวัดลำปาง ที่มา : หนังสือประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาคจังหวัดแพร่


๔ ลักษณะภูมิอากาศ 1) ฤดูกาล ลักษณะภูมิอากาศของจังหวัดแพร่จัดอยู่ในลักษณะแบบฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดู หรือแบบ ทุ่งหญ้าเมืองร้อน (TropicalSavanna) บริเวณดังกล่าวอยู่ในเขตร่องอากาศเขตร้อน (Intertropical Convergence Zone) ปริมาณและการกระจายของฝนจะได้รับอิทธิพลจากลม มรสุม 2 ประเภท คือลมมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ทำให้มีฝนตกชุกและลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ที่นำเอาอากาศหนาวและแห้งแล้งจาก ประเทศจีนมาปกคลุมทั่วบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย นอกจากนี้ลักษณะพื้นที่ของจังหวัดแพร่ที่เป็นแอ่ง คล้ายก้นกระทะและลักษณะภูมิประเทศ เป็นภูเขา จึงทำให้สภาพอากาศแตกต่างกันมาก ลักษณะภูมิอากาศ ของจังหวัดแพร่แบ่งเป็น 3 ฤดูกาล ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม 2) ปริมาณน้ำฝน ของจังหวัดแพร่ในคาบ 5 ปีระหว่างปีพ.ศ. 2560-2564 มีค่าเฉลี่ยประมาณ 1,168.16 ม.ม. ปริมาณฝนตกมากที่สุด ในปี2560 วัดได้1,413.7 ม.ม. จำนวนวันที่ฝนตก 137 วัน ปริมาณฝนตกน้อยที่สุด ในปี2562 วัดได้999.9 ม.ม. จำนวนวันที่ฝนตก 100 วัน 3) อุณหภูมิของจังหวัดแพร่ในคาบ 5 ปีระหว่างปีพ.ศ. 2560 - 2564 มีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 25.65 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ยต่ำสุดต่อปีประมาณ 19.01 องศาเซลเซียส เมื่อปี2562 อุณหภูมิ เฉลี่ยสูงสุดต่อปีประมาณ 38.12 องศาเซลเซียส เมื่อปี2562 อุณหภูมิต่ำสุดวัดได้8.2 องศาเซลเซียส เมื่อเดือน ธันวาคม ปี2560, 2562 อุณหภูมิสูงสุดวัดได้43.1 องศาเซลเซียส เมื่อเดือนเมษายน ปี2563 ที่มา : สถานีอุตุนิยมวิทยาแพร่, ข้อมูล ณ วันที่ 27 ตุลาคม 2564 ด้านการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง จังหวัดแพร่แบ่งเขตการปกครองออกเป็น - 8 อำเภอ 78 ตำบล 708 หมู่บ้าน 18 ชุมชน - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 84 แห่ง ประกอบด้วยองค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลเมือง 1 แห่ง เทศบาลตำบล 25 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล 57 แห่ง


๕ ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลจำนวน ตำบล หมู่บ้าน ชุมชน อบจ. ทม. ทต. และอบต. ที่มา : ที่ทำการปกครองจังหวัดแพร่, ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2565 ข้อมูลประชากร จังหวัดแพร่มี ประชากร จำนวน 432,014 คน จำแนกเป็น ชาย 207,853 คน (ร้อยละ 48.11) หญิง 224,161 คน (ร้อยละ 51.89) ตารางที่ 2 แสดงข้อมูลจำนวนประชากรและครัวเรือน ที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ข้อมูล ณ ธันวาคม 2565


๖ ด้านสังคม ศาสนา จังหวัดแพร่ มีประชาชนที่ นับถือศาสนาพุทธ จำนวน 305,845 คน คิดเป็นร้อยละ 99.35 มีศาสนสถาน จำนวน 414 แห่ง แยกเป็น พระอารามหลวง จำนวน 2 แห่ง วัดราษฎร์ จำนวน 376 แห่ง โบสถ์ จำนวน 35 แห่ง และมัสยิด จำนวน 2 แห่ง มีวัดที่่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา จำนวน 335 แห่ง แยกเป็น มหานิกาย จำนวน 332 แห่ง ธรรมยุตนิกาย จำนวน 3 แห่ง และวัดที่ ยังไม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา จำนวน 43 แห่ง แยกเป็น มหานิกาย จำนวน 36 แห่ง ธรรมยุตนิกาย จำนวน 7 แห่ง มีวัดร้าง จำนวน 15 แห่ง ศาสนสมบัติกลาง จำนวน 1 แห่ง ที่ พักสงฆ์ จำนวน 70 แห่ง มีพระภิกษุ จำนวน 1,191 รูป และสามเณร จำนวน 616 รูป ที่มา: สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดแพร่, ข้อมูล ณ วันที่่ 22 กันยายน 2565 / สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดแพร่, ข้อมูล ณ วันที่่ 20 กันยายน 2565 ยุทธศาสตร์สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแพร่ 1. วิสัยทัศน์ (VISION) “การศึกษาของจังหวัดแพร่มีคุณภาพมุ่งสู่มาตรฐานระดับสากลบนพื้นฐานของความเป็นไทย” 2. พันธกิจ (MISSION) ๒.๑ ส่งเสริมให้คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๒.๒ สร้างความปลอดภัยในสถานศึกษาและป้องกันภัยคุกคามในชีวิตทุกรูปแบบ โดยบูรณาการความ ร่วมมือกับทุกภาคส่วน ๒.๓ พัฒนาศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่ง อนาคต ๒.๔ ส่งเสริม สนับสนุน กระบวนการจัดการศึกษาให้ทุกคนเข้าถึงโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างความเสมอภาคทางการศึกษาเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 2.5 ส่งเสริมคนทุกช่วงวัยมีจิตสำนักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ประวัติศาสตร์ ประเพณี วัฒนธรรม ภาษา มีคุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในการดำรงชีวิต 2.6 พัฒนาระบบการจัดการศึกษาให้มีเครือข่ายการบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ 4. ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัยของผู้เรียน และความมั่นคงของสังคมและ ประเทศชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย การวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสังคมแห่ง การเรียนรู้ เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันระดับประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 4 การจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิต ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา


๗ 5. เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ที่ 1 คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป้าประสงค์ที่ 2 สถานศึกษามีความปลอดภัย มีระบบป้องกันภัยคุกคามในชีวิตทุกรูปแบบ โดยบูรณา การความร่วมมือกับทุกภาคส่วน เป้าประสงค์ที่ 3 คนทุกช่วงวัยได้รับการพัฒนาศักยภาพ ทั้งด้านทักษะ ด้านความรู้ความสามารถ ในการแข่งขันพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งอนาคต เป้าประสงค์ที่ 4 ยกระดับคุณภาพ และส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาทุกระดับอย่างทั่วถึง เป้าประสงค์ที่ 5 คนทุกช่วงวัยมีจิตสำนึก รักษ์สิ่งแวดล้อม ประวัติศาสตร์ ประเพณี วัฒนธรรม ภาษา มีคุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคิดตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ ในการดำรงชีวิต เป้าประสงค์ที่ 6 เน้นการทำงานแบบบูรณาการ มีเครือข่ายการบริหารจัดการ บริหารแบบมีส่วน ร่วมจากทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ 6. เป้าหมายยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัยของผู้เรียน และความมั่นคงของสังคม และประเทศชาติ เป้าประสงค์ที่ 1 คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป้าประสงค์ที่ 2 สถานศึกษามีความปลอดภัย มีระบบป้องกันภัยคุกคามในชีวิต ทุกรูปแบบ โดยบูรณาการความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย การวิจัย นวัตกรรม และการสร้าง สังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันระดับประเทศ เป้าประสงค์ที่ 3 คนทุกช่วงวัยได้รับการพัฒนาศักยภาพ ทั้งด้านทักษะ ด้านความรู้ ความสามารถในการแข่งขันพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งอนาคต ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา เป้าประสงค์ที่ 4 ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ทุกระดับอย่างทั่วถึง ยุทธศาสตร์ที่ 4 การจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิต เป้าประสงค์ที่ 5 คนทุกช่วงวัยมีจิตสำนึก รักษ์สิ่งแวดล้อม ประวัติศาสตร์ ประเพณี วัฒนธรรม ภาษา มีคุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคิดตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิบัติในการดำรงชีวิต ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา เป้าประสงค์ที่ 6 เน้นการทำงานแบบบูรณาการ มีเครือข่ายการบริหารจัดการ บริหาร แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ


๘ นโยบายและจุดเน้นของทระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567


๙ ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านการศึกษาในจังหวัดแพร่


๑๐ ข้อมูลด้านการศึกษาในจังหวัดแพร่ จังหวัดแพร่ แบ่งเขตการปกครองเป็น 8 อำเภอ มีสถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนจัดการเรียน การสอนระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับอาชีวศึกษา ระดับอุดมศึกษา รวมไปถึงสถานศึกษา นอกระบบ โดยมีรายละเอียดจำแนกตามสังกัด/อำเภอ ดังนี้ ตารางที่ 3 แสดงข้อมูลจำนวนสถานศึกษา จำนวนห้องเรียน จำนวนครู จำนวนนักเรียน ปีการศึกษา 2566 หน่วยงาน จำนวน สถานศึกษา/แห่ง จำนวน ห้องเรียน/ห้อง จำนวนครู/ พนักงานราชการ/ อัตราจ้าง/คน จำนวน นักเรียน/คน 1. สำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาแพร่ เขต 1 104 849 677 9,641 อำเภอเมืองแพร่ 36 317 276 4,328 อำเภอร้องกวาง 29 220 152 1,968 อำเภอสอง 31 252 213 2,861 อำเภอหนองม่วงไข่ 8 60 36 484 2. สำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาแพร่ เขต 2 116 893 637 8,299 อำเภอสูงเม่น 28 206 125 1,738 อำเภอลอง 31 261 202 2,670 อำเภอเด่นชัย 17 134 111 1,412 อำเภอวังชิ้น 40 292 199 2,479 3. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแพร่ 16 416 655 13,393 อำเภอเมืองแพร่ 6 191 328 6,657 อำเภอร้องกวาง 1 34 47 1,007 อำเภอสอง 2 35 55 1,024 อำเภอหนองม่วงไข่ 1 13 18 342 อำเภอสูงเม่น 2 43 58 1,202 อำเภอลอง 1 39 59 1,236 อำเภอเด่นชัย 1 24 33 754 อำเภอวังชิ้น 2 37 57 1,171 4. สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา 6 432 204 7,410 อำเภอเมืองแพร่ 2 272 141 2,438


๑๑ หน่วยงาน จำนวน สถานศึกษา/แห่ง จำนวน ห้องเรียน/ห้อง จำนวนครู/ พนักงานราชการ/ อัตราจ้าง/คน จำนวน นักเรียน/คน อำเภอสอง 1 39 13 301 อำเภอลอง 1 46 12 297 อำเภอสูงเม่น 1 51 12 346 อำเภอเด่นชัย 1 34 26 297 5. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมศึกษาเอกชน 19 335 392 9,162 อำเภอเมืองแพร่ 8 184 160 5,380 อำเภอร้องกวาง 1 18 28 547 อำเภอสอง 1 3 3 57 อำเภอสูงเม่น 2 72 74 2,050 อำเภอลอง 4 32 102 694 อำเภอเด่นชัย 2 12 13 58 อำเภอวังชิ้น 1 14 12 376 6. สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดแพร่ 8 113 122 5,358 อำเภอเมืองแพร่ 1 22 26 1,429 อำเภอร้องกวาง 1 23 20 812 อำเภอสอง 1 10 13 574 อำเภอหนองม่วงไข่ 1 10 10 439 อำเภอสูงเม่น 1 12 18 720 อำเภอลอง 1 13 12 576 อำเภอเด่นชัย 1 6 6 362 อำเภอวังชิ้น 1 17 17 446 7. สำนักงานบริหารการศึกษาพิเศษจังหวัดแพร่ 3 183 58 886 อำเภอเมืองแพร่ 2 139 27 398 อำเภอร้องกวาง 1 44 31 488 8. สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดแพร่ 7 49 58 599 อำเภอเมืองแพร่ 2 15 20 251


๑๒ หน่วยงาน จำนวน สถานศึกษา/แห่ง จำนวน ห้องเรียน/ห้อง จำนวนครู/ พนักงานราชการ/ อัตราจ้าง/คน จำนวน นักเรียน/คน อำเภอร้องกวาง 1 6 7 64 อำเภอสอง 1 7 11 103 อำเภอสูงเม่น 1 6 4 66 อำเภอลอง 1 9 7 68 อำเภอวังชิ้น 1 6 9 47 9. กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม 5 68 206 2,462 อำเภอเมืองแพร่ 4 48 113 1,492 อำเภอร้องกวาง 1 20 93 970 10. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 162 588 1,465 8,019 -สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดแพร่ 25 230 830 4,769 อำเภอเมืองแพร่ 11 138 216 2,759 อำเภอร้องกวาง 1 17 20 302 อำเภอสอง 1 11 2 184 อำเภอหนองม่วงไข่ 2 19 93 335 อำเภอสูงเม่น 2 6 6 73 อำเภอลอง 3 19 9 445 อำเภอเด่นชัย 2 11 22 328 อำเภอวังชิ้น 3 9 12 343 -องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ 3 37 66 634 อำเภอร้องกวาง 1 12 21 206 อำเภอหนองม่วงไข่ 1 14 26 195 อำเภอเด่นชัย 1 11 19 233 -เทศบาลเมืองแพร่ 5 113 182 1,972 อำเภอเมืองแพร่ 5 113 182 1,972 -ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 129 208 387 644 อำเภอเมืองแพร่ 29 44 83 237


๑๓ หน่วยงาน จำนวน สถานศึกษา/แห่ง จำนวน ห้องเรียน/ห้อง จำนวนครู/ พนักงานราชการ/ อัตราจ้าง/คน จำนวน นักเรียน/คน อำเภอร้องกวาง 18 30 58 82 อำเภอสอง 17 26 45 63 อำเภอหนองม่วงไข่ 8 9 19 19 อำเภอสูงเม่น 13 22 56 20 อำเภอลอง 22 31 50 85 อำเภอเด่นชัย 8 17 27 81 อำเภอวังชิ้น 14 29 49 57 11. สถานรับเลี้ยงเด็กเอกชน พม. 4 12 26 150 12. สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข 1 8 24 398 อำเภอเมืองแพร่ 1 8 24 398 รวมทั้งหมด 451 3,946 4,524 73,796


๑๔ ตารางที่ 4 แสดงข้อมูลจำนวนผู้บริหารสถานศึกษา ปีการศึกษา 2566 หน่วยงาน จำนวนผู้บริหารสถานศึกษา/คน สำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาแพร่ เขต 1 79 สำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาแพร่ เขต 2 72 สำนักงานเขตพื้นที่ศึกษามัธยมศึกษาแพร่ 44 สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา 20 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมศึกษาเอกชน 39 สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดแพร่ 6 สำนักงานบริหารการศึกษาพิเศษ(จังหวัดเเพร่) 3 สำนักงานพุทธศาสนาจังหวัดเเพร่ 21 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 26 สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข 5 รวม 315 ภาพแผนภูมิที่ 1 ผู้บริหารสถานศึกษา ปีการศึกษา 2566


๑๕ 0 500 1000 1500 2000 2500 3000 3500 ส ำนักงำนเขตพื ้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำแพร่ เขต 1 ส ำนักงำนเขตพื ้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำแพร่ เขต 2 ส ำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมกำรศึกษำเอกชน ส ำนักงำนบริหำรกำรศึกษำพิเศษ (จังหวัดแพร่) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวม นักเรียนก่อนปฐมวัย จ ำนวนนักเรียนก่อนปฐมวัย/คน ศูนย์พัฒนำเด็กเล็ก จ ำนวนนักเรียนก่อนปฐมวัย/คน อนุบำล 3 จ ำนวนนักเรียนก่อนปฐมวัย/คน อนุบำล 2 จ ำนวนนักเรียนก่อนปฐมวัย/คน อนุบำล 1 ตารางที่ 5 แสดงข้อมูลจำนวนนักเรียนระดับก่อนปฐมวัย ปีการศึกษา 2566 หน่วยงาน จำนวนนักเรียนก่อนปฐมวัย/คน อนุบาล 1 อนุบาล 2 อนุบาล 3 ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 137 763 830 - สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2 57 589 655 - สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 672 822 891 250 สำนักงานบริหารการศึกษาพิเศษ (จังหวัดแพร่) 157 5 5 - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 575 644 683 3,020 รวม 1,598 2,823 3,064 3,270 ภาพแผนภูมิที่ 2 นักเรียนก่อนปฐมวัย ปีการศึกษา 2566


๑๖ 0 1,000 2,000 3,000 4,000 5,000 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ประถมศึกษำ ส ำนักงำนเขตพื ้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำแพร่ เขต 1 ส ำนักงำนเขตพื ้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำแพร่ เขต 2 ส ำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมกำรศึกษำเอกชน ส ำนักงำนบริหำรกำรศึกษำพิเศษ (จังหวัดแพร่) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวม ตารางที่ 6 แสดงข้อมูลจำนวนนักเรียนระดับประถมศึกษา ปีการศึกษา 2566 หน่วยงาน จำนวนนักเรียนระดับประถมศึกษา/คน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 1,051 1,146 1,175 1,231 1,315 1,782 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2 845 892 988 999 1,035 1,137 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 842 900 850 888 776 806 สำนักงานบริหารการศึกษาพิเศษ (จังหวัดแพร่) 18 29 33 32 60 67 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 312 304 316 358 376 403 รวม 3,068 3,271 3,362 3,508 3,562 4,195 ภาพแผนภูมิที่ 3 นักเรียนประถมศึกษา ปีการศึกษา 2566


๑๗ 0 1000 2000 3000 4000 5000 6000 ส ำนักงำนเขตพื ้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำแพร่ เขต 1 ส ำนักงำนเขตพื ้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำแพร่ ส ำนักงำนบริหำรกำรศึกษำพิเศษ (จังหวัดแพร่) ส ำนักงำนพุทธศำสนำจังหวัดแพร่ รวม มัธยมศึกษำ จ ำนวนนักเรียนระดับมัธยมศึกษำ/คน ม.6 จ ำนวนนักเรียนระดับมัธยมศึกษำ/คน ม.5 จ ำนวนนักเรียนระดับมัธยมศึกษำ/คน ม.4 จ ำนวนนักเรียนระดับมัธยมศึกษำ/คน ม.3 จ ำนวนนักเรียนระดับมัธยมศึกษำ/คน ม.2 จ ำนวนนักเรียนระดับมัธยมศึกษำ/คน ม.1 ตารางที่ 7 แสดงข้อมูลจำนวนนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2566 หน่วยงาน จำนวนนักเรียนระดับมัธยมศึกษา/คน ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 225 216 224 - - - สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2 381 354 367 - - - สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแพร่ 2,432 2,471 2,369 2,134 2,039 1,948 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 323 352 296 177 174 125 สำนักงานบริหารการศึกษาพิเศษ (จังหวัดแพร่) 74 88 113 55 65 70 สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดแพร่ - - 1,728 - - 2,883 สำนักงานพุทธศาสนาจังหวัดแพร่ 121 103 119 82 80 94 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 196 165 176 104 91 66 รวม 3,752 3,749 5,392 2,552 2,449 5,186 ภาพแผนภูมิที่ 4 นักเรียนมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2566


๑๘ 0 500 1000 1500 2000 2500 ปวช.1 ปวช.2 ปวช.3 ปวส.1 ปวส.2 ปี.1 ปี.2 ประกำศนียบัตรวิชำชีพ วิทยำลัยเทคนิคเเพร่ วิทยำลัยอำชีวศึกษำเเพร่ วิทยำลัยกำรอำชีพสอง วิทยำลัยกำรอำชีพลอง วิทยำลัยสำรพัดช่ำงเเพร่ วิทยำลัยเกษตรและเทคโนโลยีเเพร่ รวม ตารางที่ 8 แสดงข้อมูลจำนวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีการศึกษา 2566 หน่วยงาน จำนวนนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ/คน ปวช.1 ปวช.2 ปวช.3 ปวส.1 ปวส.2 ป.ตรี ปี.1 ปี.2 วิทยาลัยเทคนิคเเพร่ 558 517 541 496 651 66 28 วิทยาลัยอาชีวศึกษาเเพร่ 256 234 332 336 382 13 25 วิทยาลัยการอาชีพสอง 97 91 113 90 89 - - วิทยาลัยการอาชีพลอง 143 94 109 80 85 - - วิทยาลัยสารพัดช่างเเพร่ 97 49 151 57 53 - - วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเเพร่ 189 68 40 715 697 - - รวม 1,340 1,053 1,286 1,774 1,957 79 53 ภาพแผนภูมิที่ 5 นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีการศึกษา 2566


๑๙ 0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100% ปี.1 ปี.2 ปี.3 ปี.4 อนุปริญญำ วิทยำลัยชุมชนแพร่ วิทยำลัยพยำบำลบรมรำชชนนีแพร่ รวม ตารางที่ 9 แสดงข้อมูลจำนวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา ปีการศึกษา 2566 ภาพแผนภูมิที่ 6 นักศึกษาระดับอนุปริญญา ปีการศึกษา 2566 หน่วยงาน จำนวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา/คน ปี.1 ปี.2 ปี.3 ปี.4 วิทยาลัยชุมชนแพร่ 135 55 78 - วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีแพร่ 30 - - - รวม 165 55 78 -


๒๐ 0 500 1000 ป.ตรี ป.โท ป.เอก ปริญญำ มหำวิทยำลัยรำมค ำเเหง สำขำวิทยำบริกำรเฉลิมพระเกียรติจังหวัดเเพร่ มหำวิทยำลัยแม่โจ้ -แพร่ เฉลิมพระเกียรติ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย วิทยำเขตแพร่ ศูนย์วิทยำบริกำร มหำวิทยำลัยรำชภัฏอุตรดิตถ์ วิทยำลัยพยำบำลบรมรำชชนนี แพร่ ** รวม ตารางที่ 10 แสดงข้อมูลจำนวนนักศึกษาระดับปริญญา ปีการศึกษา 2566 หน่วยงาน จำนวนนักศึกษาระดับปริญญา/คน ป.ตรี ป.โท ป.เอก ปี.1 ปี.2 ปี.3 ปี.4 ปี.1 ปี.2 ปี.1 ปี.2 มหาวิทยาลัยรามคำเเหง สาขาวิทยาบริการ เฉลิมพระเกียรติจังหวัดเเพร่ 177 134 74 117 46 - - - มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 241 267 211 179 27 26 - - มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ 223 83 104 36 49 24 5 15 ศูนย์วิทยาบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 14 23 - - - - - - วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี แพร่ ** 111 110 85 62 - - - - รวม 766 617 474 394 122 50 5 15 ภาพแผนภูมิที่ 7 นักศึกษาระดับปริญญา ปีการศึกษา 2566


๒๑ 0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 3.5 บ้ำนเรียนเอกสินทรัพย์ อ.เมืองแพร่ บ้ำนเรียนลิปดำ อ.เมืองแพร่ บ้ำนแพร่แห่ระเบิด อ.ลอง รวม Home School ระดับชั้น จ ำนวนนักเรียน/คน ตารางที่ 11 แสดงข้อมูลจำนวนนักเรียน Home School ปีการศึกษา 2566 หน่วยงาน จำนวนนักเรียน/คน ระดับชั้น บ้านเรียนเอกสินทรัพย์ อ.เมืองแพร่ 1 ป.6 บ้านเรียนลิปดา อ.เมืองแพร่ 1 ป.4 บ้านแพร่แห่ระเบิด อ.ลอง 1 ม.2 รวม 3 - ภาพแผนภูมิที่ 8 นักเรียน Home School ปีการศึกษา 2566


๒๒ ศูนย์กำรเรียนบ้ำนเมตตำแพร่ จ ำนวนนักเรียน/คน จ ำนวนผู้ดูแล/คน จ ำนวนครูปฐมวัยและประถมศึกษำ/คน ตารางที่ 12 แสดงข้อมูลจำนวนนักเรียน Home School ภายใต้มูลนิธิบ้านแห่งความเมตตา ปีการศึกษา 2566 หน่วยงาน จำนวนนักเรียน/คน จำนวนผู้ดูแล/คน จำนวนครูปฐมวัยและ ประถมศึกษา/คน ศูนย์การเรียนบ้านเมตตาแพร่ 51 4 7 ภาพแผนภูมิที่ 9 นักเรียนมูลนิธิบ้านแห่งความเมตตา ปีการศึกษา 2566


๒๓ ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านคุณภาพการศึกษา


๒๔ ผลการประเมินความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT)ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดแพร่ มีรายละเอียดดังนี้ 1. ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามระดับสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแพร่ สำนักงานศึกษาธิการภาค 16 และประเทศ รายละเอียดตามตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 13 คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามระดับ จากตารางผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแพร่ ในภาพรวม 2 ด้าน พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 53.90 เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ความสามารถด้านคณิตศาสตร์มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 49.77 และภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 58.03 เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกับคะแนนเฉลี่ยร้อยละในภาพรวม สำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัดแพร่กับแต่ละระดับ พบว่า สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า ระดับศึกษาธิการภาค ร้อยละ 3.02 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า ระดับประเทศ ร้อยละ 1.4 เพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้น จึงนำเสนอผลการประเมินตามแผนภูมิต่อไปนี้ ภาพแผนภูมิที่ 10 คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามระดับ ความสามารถ คะแนนเฉลี่ยร้อยละจำแนกตามระดับ คะแนนที่สูงกว่า / ต่ำกว่า ศึกษาธิการ จังหวัดแพร่ ศึกษาธิการ ภาค 16 ประเทศ ศึกษาธิการ ภาค 16 ประเทศ คณิตศาสตร์ 49.77 47.40 49.12 +2.37 +0.65 ภาษาไทย 58.03 54.36 55.86 +3.67 +2.17 รวม 2 ด้าน 53.90 50.88 52.50 +3.02 +1.40


๒๕ 2. ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 คิดเป็นร้อยละของนักเรียนที่ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป จำแนกตามระดับ รายละเอียดตามตาราง ต่อไปนี้ ตารางที่ 14 ร้อยละของนักเรียนที่ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป ของผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามระดับ ความสามารถ ร้อยละของนักเรียนที่ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป คะแนนที่สูงกว่า / ต่ำกว่า ศึกษาธิการ จังหวัดแพร่ ศึกษาธิการ ภาค 16 ประเทศ ศึกษาธิการ ภาค 16 ประเทศ คณิตศาสตร์ 48.97 44.49 47.77 +4.48 +1.20 ภาษาไทย 67.05 60.42 61.82 +6.63 +5.23 รวม 2 ด้าน 55.35 50.67 53.77 +4.68 +1.58 จากตารางผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 เมื่อคิดเป็นร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแพร่ ในภาพรวม 2 ด้าน มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 55.35 เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 48.97 และความสามารถด้านภาษาไทยมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 67.05 เมื่อพิจารณา เปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป ในภาพรวม 2 ด้าน ของสำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัดแพร่ เทียบกับแต่ละระดับ พบว่า สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแพร่ มีค่าเฉลี่ยร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป สูงกว่า ระดับศึกษาธิการภาค 16 ร้อยละ 4.68 และค่าเฉลี่ยร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป สูงกว่า ระดับประเทศ ร้อยละ 1.58 เพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้น จึงนำเสนอผลการประเมินตามแผนภูมิต่อไปนี้ ภาพแผนภูมิที่ 11 ร้อยละของนักเรียนที่ได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป ของผลการประเมิน คุณภาพผู้เรียน (NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามระดับ


๒๖ 3. ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามสังกัดหน่วยงานทางการศึกษาในจังหวัดแพร่ รายละเอียดตามตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 15 คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามสังกัดหน่วยงานทางการศึกษาในจังหวัดแพร่ ความสามารถ คะแนนเฉลี่ยร้อยละจำแนกสังกัด สพฐ.(แพร่) สช.(แพร่) อปท.(แพร่) คณิตศาสตร์ 50.89 51.97 39.10 ภาษาไทย 59.84 57.47 50.45 รวม 2 ด้าน 55.36 54.72 44.78 จากตารางผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามสังกัดหน่วยงานทางการศึกษาในจังหวัดแพร่ ในภาพรวมทั้ง 2 ด้าน พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ของสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.แพร่) (55.36) สูงที่สุด รองลงมา ได้แก่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนในจังหวัดแพร่ (สช.แพร่) (54.72) และสังกัดองค์การ ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.แพร่) (44.78) ตามลำดับ เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยร้อยละของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชนในจังหวัดแพร่ (สช.แพร่) สูงที่สุด (51.97) รองลงมา ได้แก่ สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.แพร่) (50.89) และสังกัดองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.แพร่) (39.10) ตามลำดับ ความสามารถด้านภาษาไทย คะแนนเฉลี่ยร้อยละของสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (สพฐ.แพร่) (59.84) สูงที่สุด รองลงมา ได้แก่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชนในจังหวัดแพร่ (สช.แพร่) (57.47) สังกัดองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.แพร่) (50.45) ตามลำดับ เพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้น จึงนำเสนอผลการประเมินตามแผนภูมิต่อไปนี้ ภาพแผนภูมิที่ 12 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามสังกัดในจังหวัดแพร่


๒๗ 4. ผลประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดแพร่ ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามระดับคุณภาพ รายละเอียดตามตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 16 จำนวนและร้อยละผลประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามระดับคุณภาพรายด้านความสามารถ ความสามารถ จำนวนและร้อยละนักเรียน จำแนกตามระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ คณิตศาสตร์ 677 24.37 801 28.84 836 30.10 463 16.67 ภาษาไทย 826 29.74 1,036 37.30 690 24.34 225 8.10 รวม 2 ด้าน 683 24.59 929 33.45 906 32.62 259 9.32 จากตาราง ผลประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 จำแนก ตามระดับคุณภาพรายด้าน พบว่า ในภาพรวม 2 ด้าน นักเรียนมีผลการประเมินมากที่สุดอยู่ในระดับดี (ร้อยละ 33.45) รองลงมาคือ ระดับพอใช้ (ร้อยละ 32.62) ระดับดีมาก (ร้อยละ 24.59) และระดับ ปรับปรุง (ร้อยละ 9.32) ตามลำดับ และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ความสามารถด้านคณิตศาสตร์นักเรียนมี ผลการประเมินมากที่สุดอยู่ในระดับพอใช้ (ร้อยละ 30.10) รองลงมาคือ ระดับดี (ร้อยละ 28.84) ระดับดี มาก (ร้อยละ 24.37) และระดับปรับปรุง (ร้อยละ 16.67) ตามลำดับ ส่วนความสามารถด้านภาษาไทย นักเรียนมีผลการประเมินมากที่สุดอยู่ในระดับดี (ร้อยละ 37.30) รองลงมาคือ ระดับดีมาก (ร้อยละ 29.74) ระดับพอใช้ (ร้อยละ 24.34) และระดับปรับปรุง (ร้อยละ 8.10) ตามลำดับ เพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจนขึ้น จึงนำเสนอตามแผนภูมิต่อไปนี้ ภาพแผนภูมิที่ 13 ผลประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัดแพร่ ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามระดับคุณภาพรายด้านความสามารถ


๒๘ 5. ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดแพร่ ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามด้านความสามารถและมาตรฐานการเรียนรู้ มีรายละเอียดตามตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 17 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัดแพร่ ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามด้านและรายองค์ประกอบ ความสามารถ คะแนนเฉลี่ย ระดับคุณภาพ ด้านคณิตศาสตร์ 49.77 ดี สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต 57.63 ดี มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการ ของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการ ดำเนินการ และนำไปใช้ 58.63 ดี 1) ป.3/2 เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์ต่าง ๆ 66.58 ดี 2) ป.3/4 เปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัวเศษเท่ากัน โดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน 60.49 ดี 3) ป.3/9 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาของจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 59.07 ดี 4) ป.3/10 หาผลบวกของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน และผลบวกไม่เกิน 1 และหาผลลบ ของเศษส่วน ที่มีตัวส่วนเท่ากัน 44.16 พอใช้ 5) ป.3/11 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน และ ผลบวกไม่เกิน 1 และโจทย์ปัญหา การลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน 65.55 ดี มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูปความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำดับและ อนุกรม และนำไปใช้ 50.36 ดี ป.3/1 ระบุจำนวนที่หายไปในแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละเท่าๆ กัน 50.36 ดี สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต 40.06 พอใช้ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการ วัดและนำไปใช้ 40.06 พอใช้ 1) ป.3/1 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน 46.33 พอใช้ 2) ป.3/2 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา 40.48 พอใช้ 3) ป.3/6 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ความยาว ที่มีหน่วยเป็น ซม. และมม. เมตรและซม. กิโลเมตรและเมตร 42.98 พอใช้ 4) ป.3/10 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัม กับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม 31.59 พอใช้ 5) ป.3/13 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุที่มีหน่วย เป็นลิตรและมิลลิลิตร 41.87 พอใช้


๒๙ ความสามารถ คะแนนเฉลี่ย ระดับคุณภาพ สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น 50.30 ดี มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติและใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา 50.30 ดี 1) ป.3/1 เขียนแผนภูมิรูปภาพ และใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของ โจทย์ปัญหา 56.10 ดี 2) ป.3/2 เขียนตารางทางเดียวจากข้อมูลที่เป็นจำนวนนับ และใช้ข้อมูลจากตารางทาง เดียวในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา 38.71 พอใช้ ด้านภาษาไทย 58.03 ดี สาระที่ 1 การอ่าน 63.10 ดี มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และ มีนิสัยรักการอ่าน 63.10 ดี 1) ป.3/2 อธิบายความหมายของคำและข้อความที่อ่าน 64.11 ดี 2) ป.3/3 ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน 64.81 ดี 3) ป.3/4 ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ 61.66 ดี 4) ป.3/5 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน 55.83 ดี 5) ป.3/7 อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำ 57.68 ดี 6) ป.3/8 อธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ 74.48 ดีมาก สาระที่ 2 การเขียน 70.85 ดีมาก มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน เรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษา ค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ 70.85 ดีมาก 1) ป.3/2 เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ได้อย่างชัดเจน 80.75 ดีมาก 2) ป.3/4 เขียนจดหมายลาครู 51.02 ดี 3) ป.3/5 เขียนเรื่องตามจินตนาการ 72.29 ดีมาก สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด 55.58 ดี มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ 55.58 ดี 1) ป.3/2 บอกสาระสำคัญจากการฟังและการดู 42.63 พอใช้ 2) ป.3/3 ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู 68.52 ดี


๓๐ ความสามารถ คะแนนเฉลี่ย ระดับคุณภาพ สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย 44.63 พอใช้ มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของ ภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ 44.63 พอใช้ 1) ป.3/1 เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ 40.06 พอใช้ 2) ป.3/2 ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค 43.59 พอใช้ 3) ป.3/4 แต่งประโยคง่ายๆ 43.08 พอใช้ 4) ป.3/5 แต่งคำคล้องจองและคำขวัญ 52.70 ดี 5) ป.3/6 เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ 45.08 พอใช้ สาระที่ 5 วรรณคดี และวรรณกรรม 60.04 ดี มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย อย่างเห็นคุณค่าและนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง 60.04 ดี 1) ป.3/1 ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรมเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน 51.36 ดี 2) ป.3/3 แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีที่อ่าน 66.54 ดี รวม 2 ด้าน 53.90 ดี จากตารางผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 จำแนก ตามรายความสามารถและรายมาตรฐาน พบว่า ในภาพรวมความสามารถด้านคณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยรวม เท่ากับ 49.77 อยู่ในระดับคุณภาพ “ดี” และความสามารถด้านภาษาไทยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 58.03 อยู่ในระดับคุณภาพ “ดี” เมื่อพิจารณารายมาตรฐาน พบว่า ความสามารถด้านคณิตศาสตร์มีทั้งหมด 4 มาตรฐาน พบว่า มาตรฐานส่วนใหญ่อยู่ในระดับ คุณภาพ “ดี” แต่ทั้งนี้พบว่า มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของ สิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้ มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับคุณภาพ “พอใช้” ความสามารถด้านภาษาไทย มีทั้งหมด 5 มาตรฐาน พบว่า มาตรฐานส่วนใหญ่อยู่ในระดับ คุณภาพ “ดี” แต่ทั้งนี้พบว่า มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และ เขียนเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี ประสิทธิภาพมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับคุณภาพ “ดีมาก” และมาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษา และหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทย ไว้เป็นสมบัติของชาติมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับคุณภาพ “พอใช้”


๓๑ 6. การเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัดแพร่ ระหว่างปีการศึกษา 2565 กับ ปีการศึกษา 2564 จำแนกตามรายด้าน ความสามารถ รายละเอียดตามตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 18 การเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระหว่าง ปีการศึกษา 2565 กับ ปีการศึกษา 2564 จำแนกตามรายด้านความสามารถ จากตารางการเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างปี การศึกษา 2565 กับ ปีการศึกษา 2564 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแพร่ ในภาพรวมทั้ง 2 ด้าน พบว่า ในปีการศึกษา 2565 มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 0.18 และเมื่อพิจารณา รายด้าน พบว่า ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ในปีการศึกษา 2565 มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่า ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 0.54 ส่วนความสามารถด้านภาษาไทย ปีการศึกษา 2565 มีคะแนน เฉลี่ยร้อยละต่ำกว่าปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 0.17 เพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจนขึ้น จึงนำเสนอผลการเปรียบเทียบตามแผนภูมิต่อไปนี้ ภาพแผนภูมิที่ 14 การเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างปีการศึกษา 2565 กับ ปีการศึกษา 2564 จำแนกตามรายด้านความสามารถ ความสามารถ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ คะแนนที่ ปีการศึกษา 2565 ปีการศึกษา 2564 สูงกว่า / ต่ำกว่า คณิตศาสตร์ 49.77 49.23 +0.54 ภาษาไทย 58.03 58.20 -0.17 รวม 2 ด้าน 53.90 53.72 +0.18


๓๒ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ(O-NET) 1. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับจังหวัดแพร่ ปีการศึกษา 2565 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับจังหวัดแพร่ ปีการศึกษา 2565 นำเสนอ คะแนนเฉลี่ยร้อยละและระดับคุณภาพจากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)ของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในจังหวัดแพร่ รายละเอียดดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 19 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ ระดับชั้น ที่ วิชา คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ระดับคุณภาพ ป.6 1 ภาษาไทย 60.07 ดี 2 ภาษาอังกฤษ 41.43 ปานกลาง 3 คณิตศาสตร์ 33.37 พอใช้ 4 วิทยาศาสตร์ 44.64 ปานกลาง ม.3 1 ภาษาไทย 57.60 ค่อนข้างดี 2 ภาษาอังกฤษ 33.38 พอใช้ 3 คณิตศาสตร์ 26.77 พอใช้ 4 วิทยาศาสตร์ 35.93 ปานกลาง ม.6 1 ภาษาไทย 50.26 ค่อนข้างดี 2 ภาษาอังกฤษ 26.04 พอใช้ 3 คณิตศาสตร์ 25.75 พอใช้ 4 วิทยาศาสตร์ 31.54 ปานกลาง 5 สังคมศึกษาฯ 35.96 พอใช้ จากตารางผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ พบว่า - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เมื่อพิจารณาเป็นรายวิชา พบว่า วิชาภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 60.07 คุณภาพอยู่ในระดับดี วิชาภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 41.43 คุณภาพอยู่ในระดับ ปานกลาง วิชาคณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 33.37 คุณภาพอยู่ในระดับพอใช้ วิชาวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 44.64 คุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เมื่อพิจารณาเป็นรายวิชา พบว่า วิชาภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 57.60 คุณภาพอยู่ในระดับค่อนข้างดี วิชาภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 33.38 คุณภาพอยู่ใน ระดับพอใช้วิชาคณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 26.77 คุณภาพอยู่ในระดับพอใช้ วิชาวิทยาศาสตร์ มีคะแนน เฉลี่ยร้อยละ 35.93 คุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง


๓๓ - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เมื่อพิจารณาเป็นรายวิชา พบว่า วิชาภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 50.26 คุณภาพอยู่ในระดับค่อนข้างดี วิชาภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 26.04 คุณภาพอยู่ใน ระดับพอใช้วิชาคณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 25.75 คุณภาพอยู่ในระดับพอใช้ วิชาวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 31.54 คุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 35.96 คุณภาพอยู่ในระดับพอใช้ จากข้อมูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ นำเสนอในรูปแผนภูมิ ดังนี้ ภาพแผนภูมิที่ 15 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ ภาพแผนภูมิที่ 16 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่


๓๔ ภาพแผนภูมิที่ 17 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ 2. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับจังหวัดแพร่ ปีการศึกษา 2565 เทียบกับระดับประเทศ ระดับภาคเหนือ และระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับจังหวัดแพร่ นำเสนอคะแนน เฉลี่ยร้อยละของจังหวัดแพร่ เทียบกับระดับประเทศ ระดับภาคเหนือ และระดับสำนักงาน ศึกษาธิการภาค 16 ของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 ในจังหวัดแพร่ รายละเอียดดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 20 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับจังหวัดแพร่ ปีการศึกษา 2565 เทียบกับระดับประเทศ ระดับภาคเหนือ และระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 ระดับ ชั้น ที่ วิชา ระดับ ภาษา ไทย ภาษา อังกฤษ คณิต ศาสตร์ วิทยา ศาสตร์ สังคม ศึกษาฯ เฉลี่ยทุก วิชา ป.6 1 ประเทศ 53.89 37.62 28.06 39.34 53.89 2 ภาคเหนือ 55.79 38.81 29.54 41.14 55.79 3 สำนักงานศึกษาธิการภาค 16 57.04 39.63 30.81 42.10 57.04 4 จังหวัดแพร่ 60.07 41.43 33.37 44.64 60.07


๓๕ ตารางที่ 21 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับจังหวัดแพร่ ปีการศึกษา 2565 เทียบกับระดับประเทศ ระดับภาคเหนือ และระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 (ต่อ) ระดับ ชั้น ที่ วิชา ระดับ ภาษา ไทย ภาษา อังกฤษ คณิต ศาสตร์ วิทยา ศาสตร์ สังคม ศึกษาฯ เฉลี่ยทุก วิชา ม.3 1 ประเทศ 52.95 32.05 24.39 33.32 52.95 2 ภาคเหนือ 55.92 33.06 25.57 34.59 55.92 3 สำนักงานศึกษาธิการภาค 16 56.78 33.26 26.24 35.17 56.78 4 จังหวัดแพร่ 57.60 33.38 26.77 35.93 57.60 ม.6 1 ประเทศ 44.09 23.44 21.61 28.08 33.00 30.04 2 ภาคเหนือ 46.68 24.24 23.13 29.20 34.34 31.52 3 สำนักงานศึกษาธิการภาค 16 47.40 24.38 23.60 29.75 34.42 31.91 4 จังหวัดแพร่ 50.26 26.04 25.75 31.54 35.96 33.91 จากตารางผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ของผู้เรียนระดับจังหวัดแพร่ เทียบกับระดับประเทศ ระดับภาคเหนือ และระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 พบว่า - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละรวมทุกวิชาสูงสุด (60.07) รองลงมาคือ ระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 (57.04) ระดับภาคเหนือ (55.79) และระดับประเทศ (53.89) ตามลำดับ เมื่อพิจารณาเป็นรายวิชา พบว่า 1) วิชาภาษาไทย ระดับจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด (60.07) รองลงมาคือ ระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 (57.04) ระดับภาคเหนือ (55.79) และระดับประเทศ (53.89) ตามลำดับ 2) วิชาภาษาอังกฤษ ระดับจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด (41.43) รองลงมาคือ ระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 (39.63) ระดับภาคเหนือ (38.81) และระดับประเทศ (37.62) ตามลำดับ 3) วิชาคณิตศาสตร์ ระดับจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด (33.37) รองลงมาคือ ระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 (30.81) ระดับภาคเหนือ (29.54) และระดับประเทศ (28.06) ตามลำดับ 4) วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด (44.64) รองลงมาคือ ระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 (42.10) ระดับภาคเหนือ (41.14) และระดับประเทศ (39.34) ตามลำดับ - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระดับจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละรวมทุกวิชาสูงสุด (57.60) รองลงมาคือ ระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 (56.78) ระดับภาคเหนือ (55.92) และระดับประเทศ (52.95) ตามลำดับ เมื่อพิจารณาเป็นรายวิชา พบว่า


๓๖ 1) วิชาภาษาไทย ระดับจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด (57.60) รองลงมาคือ ระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 (57.04) ระดับภาคเหนือ (55.92) และระดับประเทศ (52.95) ตามลำดับ 2) วิชาภาษาอังกฤษ ระดับจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด (33.38) รองลงมาคือ ระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 (33.26) ระดับภาคเหนือ (33.06) และระดับประเทศ (32.05) ตามลำดับ 3) วิชาคณิตศาสตร์ ระดับจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด (26.77) รองลงมาคือ ระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 (26.24) ระดับภาคเหนือ (25.57) และระดับประเทศ (24.39) ตามลำดับ 4) วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด (35.93) รองลงมาคือ ระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 (35.17) ระดับภาคเหนือ (34.59) และระดับประเทศ (33.32) ตามลำดับ - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระดับจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละรวมทุกวิชาสูงสุด (33.91) รองลงมาคือ ระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 (31.91) ระดับภาคเหนือ (31.52) และระดับประเทศ (30.04) ตามลำดับ เมื่อพิจารณาเป็นรายวิชา พบว่า 1) วิชาภาษาไทย ระดับจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด (50.26) รองลงมาคือ ระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 (47.40) ระดับภาคเหนือ (46.68) และระดับประเทศ (44.09) ตามลำดับ 2) วิชาภาษาอังกฤษ ระดับจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด (26.04) รองลงมาคือ ระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 (24.38) ระดับภาคเหนือ (24.24) และระดับประเทศ (23.44) ตามลำดับ 3) วิชาคณิตศาสตร์ ระดับจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด (25.75) รองลงมาคือ ระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 (23.60) ระดับภาคเหนือ (23.13) และระดับประเทศ (21.61) ตามลำดับ 4) วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด (31.54) รองลงมาคือ ระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 (29.75) ระดับภาคเหนือ (29.20) และระดับประเทศ (28.08) ตามลำดับ 5) วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงสุด (35.96) รองลงมาคือ ระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 (34.42) ระดับภาคเหนือ (34.34) และระดับประเทศ (33.00) ตามลำดับ จากข้อมูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ เทียบกับระดับประเทศ ระดับภาคเหนือ และระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 16 นำเสนอในรูปแผนภูมิ ดังนี้


๓๗ ภาพแผนภูมิที่ 18 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET)ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ กับระดับประเทศ ระดับภาคเหนือ และระดับสำนักงานศึกษาธิการ ภาค16 ภาพแผนภูมิที่ 19 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ กับระดับประเทศ ระดับภาคเหนือ และระดับสำนักงานศึกษาธิการ ภาค 16


๓๘ ภาพแผนภูมิที่ 20 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ กับระดับประเทศ ระดับภาคเหนือ และระดับสำนักงานศึกษาธิการ ภาค 16 3. การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่กับระดับประเทศ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ นำเสนอคะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับจังหวัดแพร่ เทียบกับระดับประเทศ ของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 ในจังหวัดแพร่ รายละเอียดดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 22 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ เทียบกับระดับประเทศ ชั้น วิชา ระดับ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา เฉลี่ยรวมทุก วิชา ป.6 จังหวัดแพร่ 60.07 41.43 33.37 44.64 60.07 ประเทศ 53.89 37.62 28.06 39.34 53.89 ผลต่าง 6.18 3.81 5.31 5.30 6.18 สรุปผล สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า ม.3 จังหวัดแพร่ 57.60 33.38 26.77 35.93 57.60 ประเทศ 52.95 32.05 24.39 33.32 52.95 ผลต่าง 4.65 1.33 2.38 2.61 4.65 สรุปผล สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า ม.6 จังหวัดแพร่ 50.26 26.04 25.75 31.54 35.96 33.91 ประเทศ 44.09 23.44 21.61 28.08 33.00 30.04 ผลต่าง 6.17 2.60 4.14 3.46 2.96 3.87 สรุปผล สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า


๓๙ จากตารางผลการเปรียบเทียบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ เทียบกับระดับประเทศ เมื่อพิจารณาตามระดับชั้น พบว่า - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละรวมทุกวิชา สูงกว่าระดับประเทศ (6.18) เมื่อพิจารณาเป็น รายวิชา พบว่าทุกรายวิชามีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าระดับประเทศเรียงจากมากไปหาน้อย คือ วิชาภาษาไทย วิชาคณิตศาสตร์วิชาวิทยาศาสตร์ และวิชาภาษาอังกฤษ (6.18, 5.31, 5.30 และ 3.81) - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละรวมทุกวิชา สูงกว่าระดับประเทศ (4.65) เมื่อพิจารณาเป็น รายวิชา พบว่าทุกรายวิชามีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าระดับประเทศเรียงจากมากไปหาน้อย คือ วิชาภาษาไทย วิชาวิทยาศาสตร์วิชาคณิตศาสตร์ และวิชาภาษาอังกฤษ (4.65, 2.61, 2.38 และ 1.33) - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละรวมทุกวิชา สูงกว่าระดับประเทศ (3.87) เมื่อพิจารณา เป็นรายวิชา พบว่าทุกรายวิชามีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าระดับประเทศเรียงจากมากไปหาน้อย คือ วิชาภาษาไทย วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และ วิชาภาษาอังกฤษ (6.17, 4.14, 3.46, 2.96 และ 2.60) จากข้อมูลการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระหว่าง ปี การศึกษา 2565 กับปีการศึกษา 2564 ระดับจังหวัดแพร่ นำเสนอในรูปแผนภูมิ ดังนี้ ภาพแผนภูมิที่ 21 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ เทียบกับระดับประเทศ


๔๐ ภาพแผนภูมิที่ 22 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ เทียบกับระดับประเทศ ภาพแผนภูมิที่ 23 ผลการเปรียบเทียบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ระดับจังหวัดแพร่ เทียบกับระดับประเทศ


Click to View FlipBook Version