The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มคู่มือนักศึกษา ปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dulneelwan, 2021-09-14 23:53:42

เล่มคู่มือนักศึกษา ปีการศึกษา 2564

เล่มคู่มือนักศึกษา ปีการศึกษา 2564

ค่มู ือนักศกึ ษา

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
สถาบนั พระบรมราชชนก

สารจากอธิการบดีสถาบันพระบรมราชชนก

สถาบันพระบรมราชชนก (สบช.) ขอแสดงความยินดีและต้อนรับนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2564
สู่สถาบันเพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของกระทรวงสาธารณสุข ให้การศึกษา ส่งเสริมวิชาการ
และวิชาชีพ ทำการสอน ทำการวิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
มสี ถานศึกษาในสงั กัดกระจายท่วั ประเทศ จำนวน 39 แหง่ ประกอบด้วย วทิ ยาลยั พยาบาล 30 แห่ง วิทยาลัย
การสาธารณสุขสิรินธร 7 แห่ง วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก 1 แห่ง และ
วิทยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี 1 แห่ง มีความพร้อมในการจัดการศึกษาทางด้าน
วิทยาศาสตร์สุขภาพ ประกอบด้วยหลักสูตร บุคลากร สถานที่ในจัดการเรียนการสอนและการฝึกปฏิบัติ
และสอ่ื การเรยี นการสอนทเ่ี พียงพอและทนั สมัย

การศึกษาทางด้านการพยาบาลและสาธารณสขุ ท่ีดี นกั ศกึ ษาตอ้ งหมั่นศกึ ษาใฝ่หาความรูเ้ พิ่มเติมควบคู่
กับการฝึกฝนปฏบิ ัตใิ หเ้ กิดความรู้ความชำนาญ สรา้ งทกั ษะในการทำงานร่วมกบั สหวชิ าชีพ ช่วยเหลือพึ่งพากัน
และกัน อันเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งของการศึกษาในระดับวิชาชีพ ทำให้สามารถนำความรู้ปรับใช้ตามบริบทของ
ชุมชน เพ่ือการดแู ลสุขภาพประชาชนไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ

หวังว่า นักศึกษาของสถาบันพระบรมราชชนกที่ศึกษาในทุกสถานศึกษา สามารถปรับตัวและมีความสุข
กับการเรียนรูป้ ระสบการณใ์ หม่ และประสบความสำเร็จในการศึกษาทกุ คน

(ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.นายแพทย์วิชัย เทยี นถาวร)
อธกิ ารบดีสถาบันพระบรมราชชนก



คำนำ

สถาบันพระบรมราชชนก ได้จัดทำคู่มือนักศึกษา ปีการศึกษา 2564 เพื่อให้นักศึกษาของสถาบันฯ
มีความเขา้ ใจ และใชเ้ ป็นแนวทางประกอบตลอดระยะเวลาของการศึกษา

ค่มู ือนักศึกษา ประกอบด้วยข้อมูล 4 ส่วน คือ
ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลทวั่ ไปของสถาบันพระบรมราชชนก
ส่วนที่ 2 คณะ/วทิ ยาลัยและหลักสูตรทเี่ ปดิ สอน
ส่วนท่ี 3 ระเบยี บ ขอ้ บังคับของสถาบนั พระบรมราชชนก และรายละเอียดทเ่ี กีย่ วกบั การเรียนการสอน
ส่วนที่ 4 แบบคำรอ้ งตา่ งๆ สำหรับนกั ศกึ ษา
นักศึกษาทุกคนควรศึกษาคู่มือนักศึกษา และทำความเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับ และแบบคำร้อง
ต่าง ๆ ของสถาบันฯ เพื่อให้ปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง และเป็นประโยชน์สำหรับนักศึกษา ควบคู่กับการศึกษา
รายละเอียดของสถานศกึ ษาที่นกั ศึกษาเข้ารบั การศึกษา
สถาบนั พระบรมราชชนก หวังเป็นอย่างยิง่ ว่า คู่มือนักศึกษาเล่มนี้จะเปน็ ประโยชนแ์ ก่นกั ศึกษา

คณะผู้จดั ทำ



หวั ขอ้ /สารบญั หน้า

สารจากอธิการบดีสถาบันพระบรมราชชนก ข

คำนำ จ

ตราสญั ลกั ษณ์สถาบันพระบรมราชชนก จ

ดอกไมป้ ระจำสถาบนั พระบรมราชชนก ฉ

สปี ระจำสถาบันพระบรมราชชนก 1
1
สปี ระจำคณะพยาบาลศาสตร์ 2
3
สีประจำคณะสาธารณสุขศาสตรแ์ ละสหเวชศาสตร์
4
เพลงเทิดพระบดิ า 5
6
เพลงมารช์ สถาบนั พระบรมราชชนก 7
10
สว่ นท่ี 1 ข้อมูลทั่วไปของสถาบนั พระบรมราชชนก 10
1. ประวตั ิสถาบันพระบรมราชชนก 11
2. วิสัยทศั น์ ปณธิ าน วฒั นธรรมองค์กร อัตลักษณ์ 19
3. ทีมผู้บรหิ ารคณะพยาบาลศาสตร์
20
และคณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์
4. แผนที่สถานศึกษา 33
5. ปฏิทินการศึกษา ปีการศึกษา 2564
6. ปฏทิ นิ การชำระคา่ ใชจ้ ่ายในการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564 46
7. การกำหนดรหัสนักศึกษา
ส่วนที่ 2 คณะและหลกั สตู รท่ีเปดิ สอน 49

1. คณะพยาบาลศาสตร์ ค
2. คณะสาธารณสขุ ศาสตร์และสหเวชศาสตร์
สว่ นที่ 3 ข้อบังคบั ของสถาบันพระบรมราชชนก

และรายละเอียดทเ่ี กี่ยวกับการเรียนการสอน
1. ขอ้ บังคับสถาบันพระบรมราชชนกว่าด้วยการจดั การศึกษาระดบั บัณฑิตศึกษา

ของสถาบนั พระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2564
2. ขอ้ บังคับสถาบันพระบรมราชชนกว่าดว้ ยการจัดการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี

ของสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2564
3. ขอ้ บังคบั สถาบันพระบรมราชชนกวา่ ดว้ ยเคร่อื งแบบ เครื่องหมาย หรอื

เคร่ืองแตง่ กายของนกั ศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๓
4. ข้อบงั คับสถาบนั พระบรมราชชนกว่าดว้ ยเครื่องแบบ เคร่ืองหมาย หรือ

เคร่อื งแตง่ กายของนักศกึ ษา (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. ๒๕๖4

หวั ขอ้ /สารบญั (ต่อ) หน้า
55
5. รายละเอียดค่าใช้จ่ายในการศึกษาหลักสูตรต่าง ๆ ของสถาบัน
พระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสขุ ประจำปกี ารศึกษา 2563 58
59
ส่วนท่ี 4 แบบคำร้องตา่ งๆ สำหรบั นักศกึ ษา 60
- แบบคำรอ้ งขอแกไ้ ข ชอ่ื ตัว-ชอ่ื สกุล 61
- แบบคำร้องขอทำบัตรประจำตวั นักศึกษา 62
- แบบคำร้องขอผ่อนผนั ชำระค่าลงทะเบียนเรยี น
- แบบคำร้องขอลากิจ/ลาป่วย 63
- แบบคำรอ้ งขอพักการศึกษา/รักษาสภาพนักศึกษา/ลาออก



ตราสญั ลกั ษณ์สถาบันพระบรมราชชนก
เป็นรูปทรงดอกบัว ด้านบนเป็นพระมหามงกุฎสีทองมีอักษรย่อ “ม” สีฟ้าขลิบทอง อันหมายถึง
พระนามาภิไธยของพระบรมราชชนก ต้งั อยู่บนดอกบัวรูปทรงกลมสีชมพู ภายในมตี ราสญั ลักษณ์ของกระทรวง
สาธารณสุขสีทองอยบู่ นพื้นสีฟ้า ซ่งึ เป็นสีประจำวนั พระราชสมภพ หมายถงึ การศกึ ษา และการพัฒนาบุคลากร
ด้านลา่ งมีแพรแถบสฟี า้ โดยมีช่อื สถาบนั พระบรมราชชนกอยใู่ นแพรแถบ

ดอกการบูร
ดอกไมป้ ระจำสถาบันพระบรมราชชนก

ดอกการบรู ดอกออกรวมเป็นช่อแบบแยกแขนง ออกตามซอกใบ มีขนาดเล็กเป็นสขี าวอมสเี หลอื งหรือ
อมสีเขียว กลบี รวมมี 6 กลีบ เรียงเปน็ วง 2 ออกดอกในช่วงเดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคม
สีประจำสถาบันพระบรมราชชนก

สีฟา้
สีเหลือง
สีประจำคณะพยาบาลศาสตร์
สแี ดง เป็นสีประจำวันพระราชสมภพของสมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี
สีประจำคณะสาธารณสุขศาสตรแ์ ละสหเวชศาสตร์
สีม่วง เปน็ สปี ระจำวนั พระราชสมภพของสมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี



เพลงเทิดพระบิดา

เราทุกคน มัน่ กมล ใฝค่ วามดี
เราพร้อมมี ศกั ด์ศิ รี แห่งมวลชน
เรามอบรัก พิทกั ษ์ ไทยทุกคน
เราผจญ ใหท้ กุ คน กินอยูด่ ี

เราลำเค็ญ ยากเขญ็ สฝู้ า่ ฟนั
เรารักกนั ม่นั ใจ ไมห่ นา่ ยหนี
เราท้งั ผอง ปรองดอง สยู้ อมพลี
เราชีพน้ี พลเี พอ่ื พระบิดา

เราพร้อมใจ ต้านโรคภยั ใหป้ วงชน
เราทุกคน สู้ทน ด้วยศรทั ธา
เราฝึกฝน อุทศิ ตน ช่วยชวี า
ตามรอยพระบดิ า คือสัญญา เพือ่ ปวงชน

เพลงมาร์ชสถาบนั พระบรมราชชนก

สถาบันพระบรมราชชนก ไดห้ ยบิ ยกงานใหญแ่ ผ่ไพศาล
งานสาธารณสุขอปุ การ รับผดิ ชอบงานทุกด้านแห่งอนามัย
มุ่งสรรค์สร้างผองพลงั บุคลากร อกี งานสอนดว้ ยหลกั แหง่ แพทย์ไทย
พระชนกทรงให้หลักอยา่ งกวา้ งไกล พระบดิ าสาธารณสขุ ไซร้แพทยเ์ มธี
เปน็ ทรี่ กั และบชู าเชดิ ศกั ดิ์ศรี
บรมราชชนกพระนามน้ีทรงเป็นหลัก ผองเราเปน็ ด่ังพระนามแห่งศรีสถาบัน
พระภูมิพลพระราชทานพระนามนี้ งานสขุ ภาพต้องสานต่อสืบเนื่องกนั
สาธารณสุขพระคณุ ลว้ นต้องเพยี งพอ ไม่เลือกชนชัน้ นั่นคนจนทวั่ ถนิ่ ไทย
ท้ังชนบทก็ไมท่ อดทิ้งเหน็ ความสำคัญ มุ่งพฒั นางานสาธารณสขุ ไซร้
ขจรเกริกไกรไปทั้งธาตรี
ขอตง้ั สัตย์ปฏญิ ญา จงรกั ภูมนิ ทร์ขจรจักรี
เพอ่ื เกยี รติพระบดิ าสาธารณสุขไทย สยามบดี ทรงพระเจริญ ** (ซ้ำ)
ขอรบั ใชช้ าติ ศาสน์ แผ่นดนิ
ด้วยเดชะพระบุญญาบารมี

ผปู้ ระพันธ์ นางสคุ นธ์ พรพิรุณ



ส่วนที่ 1 ข้อมลู ท่ัวไปของสถาบนั พระบรมราชชนก

1. ประวัติสถาบันพระบรมราชชนก
สถาบันพระบรมราชชนก เดิมชื่อ “สถาบันพัฒนากำลังคนด้านสาธารณสุข” เป็นหน่วยงานตาม

พระราชบัญญัติโอนอำนาจหน้าที่และกิจการบริหารบางส่วนของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓5 ให้ไว้
ณ วันท่ี 2 เมษายน 2535 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 109 ตอนท่ี 45 วันที่ 9 เมษายน 2535 หนา้
3 - 5) และพระราชฎีกาแบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๖ ให้ไว้ ณ
วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2536 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 110 ตอนที่ 22 วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2536 หน้า
21 – 23 และ 28) ซึ่งได้รวมหน่วยงานด้านการผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุขจากกรมกอง
ต่างๆ ได้แก่ วิทยาลัยพยาบาล วิทยาลัยการสาธารณสุขภาค โรงเรียนต่างๆ ในสังกัดกรมการแพทย์ กรม
ควบคุมโรคติดต่อ กรมอนามัย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กองฝึกอบรม และกองงานวิทยาลัยพยาบาล
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ทำหน้าที่ดูแลงานด้านการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพของ
กระทรวงสาธารณสุข

27 กันยายน 2537 พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ภูมิพลอดุลยเดชฯ ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาต
ให้เชิญพระนามาภิไธย สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นชื่อสถาบันว่า
“สถาบันพระบรมราชชนก” (หนังสือสำนักราชเลขาธิการ ที่ รล 0003/12819 ลงวันที่ 27 กันยายน 2537)
ทั้งน้ีในปี พ.ศ.๒๕๓๗ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานช่ือ
วิทยาลัยพยาบาลในสังกัดว่า วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี และต่อท้ายชื่อจังหวัด ส่วนวิทยาลัยที่ได้รับ
พระราชทานชื่ออยู่ก่อนแล้วให้คงชื่อที่ได้รับพระราชทานต่อไป ได้แก่ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จัน ทบุรี
วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี (หนังสือวังสระปทุม
ลงวนั ท่ี 14 กุมภาพันธ์ 2537) และสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า เจ้าฟ้ามหาจักรสี ิรนิ ธร รัฐสีมาคณุ ากรปยิ ชาติ
สยามบรมราชกุมารี (พระอิสริยยศในขณะนั้น) ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญพระนามาภิไธย
“สิรินธร” และพระนามาภไิ ธยย่อ “สธ” มาเปน็ ช่ือของวทิ ยาลัยการสาธารณสุข โดยเปลี่ยนช่ือเป็น “วิทยาลัย
การสาธารณสุขสิรินธร” และต่อท้ายชื่อจังหวัด (หนังสือสำนักราชเลขาธิการ ที่ รล 007/74 ลงวันที่ 7
มกราคม 2537) ในปี พ.ศ.๒๕๓๙ วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข ได้รับพระราชทาน
พระบรมราชานุญาต ให้เปลี่ยนนามเป็น “วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก”
พร้อมทั้งให้ประดิษฐานตราสัญลักษณ์งานฉลองศิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี (หนังสือสำนักราชเลขาธิการ
ท่ี รล 003/12609 ลงวนั ท่ี 20 กรกฎาคม 2539)

4 เมษายน พ.ศ.2562 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรสี ินทรมหาวชิราลงกรณมหิศรภูมิพล
ราชวรางกูร กิติสิริสมบูรณอดุลยเดช สยามมินทราธิเบศรราชวโรดม บรมนาถบพิตร พระวชิรเกล้าเจ้าอย่หู ัว
มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่าโดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยสถาบันพระบรมราชชนก
จึงทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหต้ ราพระราชบัญญตั ิสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ.2562 ใหใ้ ช้บังคบั ตั้งแต่วัน
ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นตน้ ไป (ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เล่ม 136 ตอนท่ี 43 ก วนั ที่
5 เมษายน 2562) ให้สถาบันพระบรมราชชนกเป็นสถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพที่จัด
การศึกษาระดับอุดมศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ อยู่ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยมี
วิทยาลัยในสังกัดรวมทั้งสิ้น 39 แห่ง ประกอบด้วยวิทยาลัยพยาบาล 30 แห่ง วิทยาลยั การสาธารณสุขสริ ินธร
7 แห่ง วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก 1 แห่ง และวิทยาลัยการแพทย์แผน
ไทยอภัยภเู บศร จังหวัดปราจีนบรุ ี 1 แห่ง

1

2. วิสัยทัศน์ / ปณธิ าน / วฒั นธรรมองค์กร / อัตลกั ษณ์
ตามพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. 2562 มาตรา 7 สถาบันมีวัตถปุ ระสงค์เพื่อผลิต

และพฒั นาบุคลากรตามความต้องการของกระทรวงสาธารณสุข ใหก้ ารศึกษา ส่งเสริมวชิ าการและวชิ าชีพ ทำ
การสอน ทำการวจิ ัย ให้บริการทางวชิ าการแก่สังคม และทะนบุ ำรงุ ศลิ ปะและวัฒนธรรม และมาตรา 8 เพ่ือให้
บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคต์ ามมาตรา 7 สถาบนั มหี น้าที่ ดังต่อไปน้ี

(1) ผลิตบณั ฑติ และพัฒนาบคุ ลากรใหส้ อดคลอ้ งกับแนวนโยบายแหง่ รฐั เพื่อใหม้ ีความรคู้ วามสามารถ
ทางวชิ าการและทักษะในวิชาชีพ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีความสำนึกต่อสังคม และเพ่ือให้มีศักยภาพในการเรียนรู้
ด้วยตนเอง

(2) จัดการศึกษา วจิ ัย สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การวิจยั เพื่อสร้างหรือพัฒนาองค์ความรู้และนำความรูน้ ้ันไป
ใชเ้ พื่อประโยชนใ์ นการพฒั นาสงั คมและประเทศชาติ

(3) พฒั นาองค์ความรดู้ า้ นวิทยาศาสตร์สุขภาพให้มมี าตรฐานและคุณภาพทางวชิ าการให้เป็นท่ียอมรับ
ในระดบั ประเทศและนานาชาติ

(4) สง่ เสริมใหเ้ กดิ โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาตามความต้องการของชมุ ชน
(5) ให้บรกิ ารทางวชิ าการแก่สังคมโดยเน้นความรว่ มมือกับชมุ ชน
(6) ให้บรกิ ารด้านการแพทย์และการสาธารณสขุ
(7) ส่งเสริมและทะนุบำรงุ ศลิ ปะและวัฒนธรรม

2

3. ทีมผู้บริหารคณะพยาบาลศาสตรแ์ ละคณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์
สถาบนั พระบรมราชชนก

ศาสตราจารย์พเิ ศษ ดร.นายแพทยว์ ิชัย เทยี นถาวร อธิการบดสี ถาบันพระบรมราชชนก
นายแพทยว์ ิศษิ ฎ์ ตั้งนภากร รองอธิการบดีสถาบันพระบรมราชชนก
ด้านแผนงานสารสนเทศ
นายแพทยศ์ ักดชิ์ ยั กาญจนวัฒนา รองอธิการบดสี ถาบันพระบรมราชชนก
ดา้ นบริหาร
นายแพทย์ปภสั สร เจยี มบุญศรี รองอธิการบดีสถาบันพระบรมราชชนก
ด้านวิชาการและประกันคุณภาพ
รองศาสตราจารย์วสธุ ร ตันวัฒนกุล รองอธกิ ารบดสี ถาบนั พระบรมราชชนก
ด้านกิจการนักศึกษา อนรุ ักษ์วัฒนธรรมและชุมชนสมั พนั ธ์
และด้านวจิ ยั เทคโนโลยีและนวตั กรรมสังคม
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์พูลศกั ดิ์ พมุ่ วิเศษ รองอธิการบดีสถาบนั พระบรมราชชนก
ดา้ นกจิ การพิเศษ พฒั นาเครือขา่ ย
ดร.นิชดา สารถวัลย์แพศย์ รักษาการในตำแหน่งคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์
ดร.วนิ ยั สยอวรรณ รกั ษาการในตำแหน่งคณบดีคณะสาธารณสขุ ศาสตร์
และสหเวชศาสตร์

โดยมโี ครงสรา้ งการบรหิ ารตามแผนภมู ริ า่ งโครงสรา้ งสถาบันพระบรมราชชนกตามที่ปรากฏดงั นี้

3

4. แผนทส่ี ถานศึกษา
แผนที่แสดงทต่ี ้ังสถานศึกษาในสังกดั สถาบันพระบรมราชชนก

4

5. ปฏิทินการศึกษา ปีการศึกษา 2564

กจิ กรรม ระดบั ปรญิ ญาตรี ปี 1 ระดับปริญญาตรี ปี 2-3 ระดบั ปรญิ ญาตรี ปี 4 ระดับประกาศนยี บตั ร
วิชาชพี ชั้นสูง
คณะ คณะ คณะพยาบาล คณะ คณะพยาบาล คณะ
พยาบาล ศาสตร์ สาธารณสขุ คณะ คณะ
ศาสตร์ สาธารณสุข ศาสตร์ สาธารณสขุ ศาสตร์ฯ สาธารณสขุ สาธารณสขุ
ศาสตร์ฯปี 1 ศาสตร์ฯ ปี 2
ศาสตรฯ์ ศาสตรฯ์

นกั ศกึ ษาใหม่รายงานตวั 5 กค.64 5 กค.64

ปฐมนเิ ทศ 5-16 กค.64 5-16 กค.64

เปิดภาคการศึกษาท่ี 1 19 กค.64 5 กค.64 21 มิย.64 5 กค.64 21 มิย.64 19 กค.64 21 มิย.64

ชำระคา่ ใชจ้ า่ ยในการศกึ ษา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ตามปฏทิ นิ ชำระคา่ ใชจ้ า่ ยในการศกึ ษา ประจำปกี ารศึกษา 2564 สถาบนั พระบรมราชชนก

สอบภาษาอังกฤษครัง้ ท่ี 1 31 กค.64

สอบภาษาอังกฤษครั้งท่ี 2 2 ตค.64

วนั สดุ ท้ายภาคการศึกษาที่ 1 19 พย.64 5 พย.64 22 ตค.64 5 พย.64 1 ตค.64 19 พย.64 22 ตค.64

ปดิ ภาคการศึกษาที่ 1 20-28 พย.64 6-14พย.64 23-31 ตค. 64 6-14พย.64 2-10 ตค. 64 20-28พย.64 23-31ตค.64

แจง้ ผลการเรยี นภาค 26 พย.64 12 พย.64 29 ตค.64 12 พย.64 8 ตค.64 26 พย.64 29 ตค.64
การศึกษาท่ี 1 29 พย.64 15 พย.64 1 พย.64 15 พย.64 11 ตค.64 29 พย.64 1 พย.64

เปดิ ภาคการศกึ ษาท่ี 2

ชำระค่าใชจ้ า่ ยในการศึกษา ภาคการศกึ ษาที่ 2 ตามปฏทิ นิ ชำระค่าใชจ้ า่ ยในการศึกษา ประจำปีการศกึ ษา 2564 สถาบนั พระบรมราชชนก

สอบภาษาอังกฤษครง้ั ที่ 3 18 ธค. 64

นกั ศกึ ษาชั้นปที ่ี 4 สอบความรรู้ วบยอด 8 สาขาวชิ าการพยาบาล คร้ังท่ี 1 22-23มค.65

นักศึกษาช้นั ปีที่ 4 สอบความรู้รวบยอด คณะสาธารณสขุ ศาสตรแ์ ละสหเวชศาสตร์ 24-28 มค. 65

นักศึกษาชน้ั ปีท่ี 4 สอบความรู้รวบยอด 8 สาขาวชิ าการพยาบาล คร้งั ที่ 2 29-30 มค. 65

ปัจฉมิ นิเทศผ้สู ำเรจ็ การศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 16 - 18 กพ.65

วนั สำเร็จการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี ปีการศึกษา 2564 18 กพ.65

วนั สดุ ทา้ ยภาคการศกึ ษาท่ี 2 1 เมย.65 18 มีค.65 4 มีค.64 1 เมย.65 4 มีค.65
5-13 มีค.65
ปดิ ภาคการศกึ ษาที่ 2 2-17เมย.65 2เมย.-19มยิ .65 20-27มคี .65 5-13 มีค.65 2-10เมย.65 11 มคี .65

แจง้ ผลการเรยี นภาค 15 เมย.65 17 มยิ .65 25 มีค.65 11 มีค.65 8 เมย.65 14 มคี .65
การศึกษาท่ี 2 28 มคี .65 14 มคี .65 11 เมย.65
13 พค. 65
เปิดภาคฤดูร้อน 18 เมย.65
16-18พค.65
ชำระคา่ ใชจ้ า่ ยในการศกึ ษา ภาคฤดรู ้อน ตามปฏทิ ินชำระค่าใช้จ่ายในการศกึ ษา ประจำปกี ารศกึ ษา 2564 สถาบันพระบรมราชชนก

วนั สดุ ทา้ ยภาค 10 มิย.65 3 มิย.65 20 พค.65 10 มิย.65
การศึกษาฤดูรอ้ น

ปวส.ปที ่ี 2สอบความรู้
รวบยอด(ปฏบิ ัต)ิ

ปวส.ปีท่ี 2สอบความรู้ 19-20พค.65
รวบยอด(ทฤษฎ)ี

วนั สำเรจ็ การศกึ ษา ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ช้ันสูง ปกี ารศึกษา 2564 9 มิย.65
1 กค.65
รายงานตวั ผูส้ ำเรจ็ การศกึ ษากบั ตน้ สงั กัด 1 เมย.65

ปดิ ภาคฤดรู ้อน 11-19 มิย.65 4-19 มยิ .65 21พค.-19มิย.65 11-19 มิย.65
17 มยิ .65
แจง้ ผลการเรียนภาค 17 มยิ .65 17 มิย.65
การศึกษาฤดูร้อน

เปดิ ภาคการศึกษาที่ 1 20 มยิ .65

ปกี ารศกึ ษา 2565

หมายเหตุ นักศึกษาดูรายละเอียดปฏทิ ินการศกึ ษาของวิทยาลยั ทีน่ ักศกึ ษากำลังศกึ ษาร่วมด้วย

5

6. ปฏิทินการชำระค่าใช้จ่ายในการศึกษา ปีการศึกษา 2564

กิจกรรม ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2 ภาคการศกึ ษาฤดรู ้อน

นกั ศึกษาใหม่รายงานตวั 5 กรกฎาคม 2564 - -

เพื่อเข้าศึกษา

ปฐมนิเทศนกั ศึกษาใหม่และเตรยี ม 5 - 16 กรกฎาคม 2564 - -

ความพร้อมในการศึกษา

วันเปิดภาคการศกึ ษา ตามปฏิทินการศึกษาของแต่ละคณะ

กองเทคโนฯ สถาบนั พระบรมราช 3 สิงหาคม 2564

ชนก จะดำเนินการจดั อบรมแนะนำ

การใช้งานโปรแกรมพมิ พใ์ บแจง้ หนี้

ข้นั ตอนการชำระคา่ ใชจ้ า่ ยในการศกึ ษา

1. วิทยาลัยจัดทำข้อมลู ค่าใช้จ่ายใน 31 กรกฎาคม 2564 29 พฤศจกิ ายน - 18 - 19 เมษายน 2565

การศกึ ษาของนกั ศึกษาทต่ี ้องชำระ 1 ธนั วาคม 2564

(ตามประกาศ) รวมทง้ั ค่าหอพัก

การรกั ษาสภาพนกั ศกึ ษา สง่ ใหส้ ถาบนั

พระบรมราชชนก

2. วทิ ยาลยั จดั ทำใบแจ้งหนี้ 31 กรกฎาคม 2564 2 - 6 ธันวาคม 2564 20 - 21 เมษายน 2565

3. วทิ ยาลัยตรวจสอบความถกู ต้องขอ้ มลู 31 กรกฎาคม 2564 7 - 8 ธนั วาคม 2564 22 - 25 เมษายน 2565

และแจง้ แก้ไขขอ้ มลู ใบแจ้งหน้ี

4. วทิ ยาลยั ปรับแก้ใบแจง้ หน้ี 2 – 3 สิงหาคม 2564 9 ธนั วาคม 2564 26 - 27 เมษายน 2565

5. วิทยาลัยพมิ พ์ใบแจ้งหนใ้ี ห้นักศกึ ษา 9 สงิ หาคม 2564 13 - 14 ธันวาคม 2564 28 - 29 เมษายน 2565

นำไปชำระ

6. นักศึกษาชำระค่าใชจ้ ่ายในการศึกษา 18 – 27 สงิ หาคม 2564 15 - 27 ธนั วาคม 2564 2 - 6 พฤษภาคม 2565

ปกติ / ชำระคา่ รกั ษาสภาพนกั ศึกษา

7. นกั ศึกษาทำเรื่องขอผ่อนผนั การชำระ 18 – 27 สงิ หาคม 2564 23 - 24 ธันวาคม 2564 4 - 5 พฤษภาคม 2565

ค่าใช้จ่ายในการศึกษาปกติ ผา่ นทาง

วิทยาลยั โดยระบุการชำระการผ่อนผันใน

รอบท่ี 1 หรอื 2 และบนั ทกึ ลงระบบ

8. นักศึกษาชำระคา่ ใชจ้ า่ ยฯ การผอ่ นผัน 1 – 17 กันยายน 2564 17 - 20 มกราคม 2565 9-11 พค.65

รอบท่ี 1

9. นักศกึ ษาชำระคา่ ใชจ้ า่ ยฯ การผอ่ นผัน 27 - 30 กันยายน 2564 14 - 17 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 -

รอบที่ 2

10. นกั ศึกษาชำระคา่ ใชจ้ า่ ยฯ ของผ้ไู ดร้ บั 11 - 14 ตลุ าคม 2564 21 - 23 กุมภาพนั ธ์ 2565 -

ทนุ เชน่ กยศ. ทุนโครงการพิเศษ

วนั สุดทา้ ยของภาคการศึกษา ตามปฏทิ นิ การศกึ ษาของแตล่ ะคณะ

ปิดเทอม ตามปฏทิ ินการศึกษาของแต่ละคณะ

วทิ ยาลัยแจง้ ผลการเรียน ก่อนวนั เปดิ ภาคการศกึ ษา

หมายเหตุ ขยายระยะเวลาการชำระค่าใช้จา่ ยในการศกึ ษาปกติ / ชำระคา่ รกั ษาสภาพนกั ศึกษา ของภาคการศึกษาท่ี 1
ถงึ วนั ที่ 17 กนั ยายน 2564

6

7. การกำหนดรหสั นักศึกษา

เพือ่ ให้การดำเนินการกำหนดรหัสนักศึกษาของวิทยาลัยในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนกเป็นไปอย่าง
เหมาะสม และดำเนินการไปในทิศทางเดยี วกนั สถาบันพระบรมราชชนกจึงได้จัดทำแนวปฏบิ ัติการกำหนดรหัส
นกั ศึกษาของวิทยาลัยในสงั กดั สถาบนั พระบรมราชชนก สำหรับนกั ศึกษาทกุ ชั้นปี เรมิ่ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2563
เป็นต้นไป

การกำหนดรหัสนักศึกษาของวิทยาลัยในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก มีจำนวนตัวเลข 11 หลัก
รายละเอยี ด ดังน้ี

ปีการศกึ ษา คณะ วิทยาลัย ระดับการศึกษาและช่อื หลกั สตู ร ลำดบั นกั ศึกษา
หลกั ที่ หลกั ท่ี หลักที่ หลกั ที่ หลกั ท่ี หลกั ที่ หลกั ที่ หลกั ท่ี หลกั ท่ี หลักท่ี หลักที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

หลกั ท่ี 1, 2 แทน ปกี ารศึกษาท่เี ขา้ ศึกษา ใช้ 2 หลกั สุดท้าย

63 แทน ปีการศึกษา 2563
64 แทน ปีการศึกษา 2564

หลกั ที่ 3 แทน คณะ (2 คณะ) เรยี งตามลำดับคณะท่ีเปิดการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรกี ่อน

1 แทน คณะพยาบาลศาสตร์
2 แทน คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์

หลักท่ี 4, 5 แทน วิทยาลยั (39 แห่ง) เรียงตามวทิ ยาลัยทีเ่ ปดิ การศึกษาระดับปริญญาตรกี อ่ น

คณะพยาบาลศาสตร์
01 แทน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรงุ เทพ
02 แทน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พุทธชนิ ราช
03 แทน วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา
04 แทน วทิ ยาลยั พยาบาลพระปกเกล้า จนั ทบรุ ี
05 แทน วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา
06 แทน วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรคป์ ระชารกั ษ์
07 แทน วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์
08 แทน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบรุ ี
09 แทน วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี
10 แทน วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง
11 แทน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบรุ ี
12 แทน วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดติ ถ์
13 แทน วิทยาลยั พยาบาลศรมี หาสารคาม
14 แทน วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรุ าษฎรธ์ านี

7

หลักที่ 4, 5 แทน วิทยาลัย (39 แห่ง) เรยี งตามวิทยาลัยทีเ่ ปิดการศกึ ษาระดับปริญญาตรกี อ่ น (ต่อ)
15 แทน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรนิ ทร์
16 แทน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง
17 แทน วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกลา้ จงั หวดั เพชรบุรี
18 แทน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี
19 แทน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท
20 แทน วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี พะเยา
21 แทน วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท
22 แทน วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครศรธี รรมราช
23 แทน วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จงั หวัดนนทบุรี
24 แทน วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบรุ ี
25 แทน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เชียงใหม่
26 แทน วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ัช
27 แทน วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ยะลา
28 แทน วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น
29 แทน วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตนว์ ชริ ะ
30 แทน วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี แพร่

คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์
01 แทน วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสริ ินธร จงั หวัดชลบรุ ี
02 แทน วิทยาลัยการสาธารณสขุ สิรนิ ธร จังหวดั ขอนแกน่
03 แทน วิทยาลยั การสาธารณสุขสิรนิ ธร จงั หวดั ยะลา
04 แทน วิทยาลัยการสาธารณสขุ สริ ินธร จงั หวดั พษิ ณุโลก
05 แทน วิทยาลัยการสาธารณสขุ สริ นิ ธร จงั หวัดตรงั
06 แทน วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสริ นิ ธร จังหวดั อุบลราชธานี
07 แทน วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิรนิ ธร จังหวดั สพุ รรณบุรี
08 แทน วทิ ยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุข กาญจนาภิเษก
09 แทน วิทยาลยั การแพทย์แผนไทยอภยั ภูเบศร จงั หวัดปราจนี บุรี

หลักท่ี 6, 7, 8 แทน ระดับการศกึ ษาและชื่อหลักสูตร เรยี งตามระดบั การศึกษาจากน้อยไปหามาก

001-099 แทน ระดบั การศึกษา : ประกาศนียบัตร 1 ปี
001 แทน หลักสูตรประกาศนยี บัตรผชู้ ว่ ยพยาบาล

101-199 แทน ระดับการศกึ ษา : ประกาศนียบัตรวิชาชีพชน้ั สูง
101 แทน หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู สาขาวชิ าเทคนคิ เภสชั กรรม
102 แทน หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพชน้ั สูง สาขาปฏบิ ัตกิ ารฉุกเฉินการแพทย์
103 แทน หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ช้ันสูง สาขาวชิ าเวชระเบยี น
104 แทน หลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสงู สาขาวิชาโสตทัศนศึกษาทางการแพทย์

8

หลักที่ 6, 7, 8 แทน ระดบั การศกึ ษาและชื่อหลักสูตร เรยี งตามระดับการศกึ ษาจากน้อยไปหามาก (ต่อ)
201-299 แทน ระดับการศึกษา : อนปุ ริญญา
301-399 แทน ระดบั การศกึ ษา : ปริญญาตรี
301 แทน หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑติ
302 แทน หลกั สูตรสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสขุ ชุมชน
303 แทน หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าทนั ตสาธารณสุข
304 แทน หลกั สตู รการแพทยแ์ ผนไทยบัณฑติ สาขาวชิ าการแพทย์แผนไทย
305 แทน หลกั สูตรการแพทยแ์ ผนไทยบัณฑิต สาขาวชิ าการแพทย์แผนไทยประยุกต์
306 แทน หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาเวชระเบียน
307 แทน หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชารงั สีเทคนคิ
306 แทน หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าเวชระเบยี น
307 แทน หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ ารังสีเทคนคิ
308 แทน หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
401-499 แทน ระดบั การศึกษา : ประกาศนียบตั รบณั ฑิต
501-599 แทน ระดับการศึกษา : ปรญิ ญาโท
501 แทน หลักสตู รสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
601-699 แทน ระดับการศึกษา : ประกาศนียบตั รบัณฑติ ชน้ั สูง
701-799 แทน ระดับการศกึ ษา : ปรญิ ญาเอก
801-899 แทน ระดบั การศึกษา : การวจิ ัยหลงั ปริญญาเอก (Post Doctoral)

หลกั ท่ี 9, 10, 11 แทน ลำดับนกั ศกึ ษา

ตัวอย่าง
63 1 01 301 001 หมายถึง นักศึกษาปีการศึกษา 2563 คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาล
บรมราชชนนี กรุงเทพ ระดับปรญิ ญาตรี หลักสูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑิต ลำดบั ที่ 001
63 2 02 101 001 หมายถึง นกั ศกึ ษาปีการศึกษา 2563 คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น ระดับประกาศนียบัตรชั้นสงู หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสงู
สาขาวชิ าเทคนคิ เภสชั กรรม ลำดบั ท่ี 001

9

ส่วนที่ 2 คณะและหลกั สูตรท่เี ปิดสอน

คณะพยาบาลศาสตร์

คณะพยาบาลศาสตร์ จัดการศึกษา ๒ ระดับ คอื
๑. หลักสตู รระดับปริญญาตรี คอื หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต
๒. หลกั สูตรระดบั ตำ่ กวา่ ปรญิ ญาตรี คือ หลกั สตู รประกาศนียบัตรผ้ชู ่วยพยาบาล (หลักสูตร ๑ ป)ี

หลกั สูตรพยาบาลศาสตรบัณฑติ

หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑติ วิทยาลยั พยาบาลในสังกดั สถาบนั พระบรมราชชนกทุกแหง่ พฒั นาหลักสตู ร
ให้เป็นมาตรฐานตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘
และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดบั ปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๖๐
มีโครงสรา้ งหลักสตู ร ดังนี้

หน่วยกิตรวมตลอดหลักสตู รไมน่ อ้ ยกว่า ๑๓๒ หน่วยกติ แบ่งเปน็

หมวดวิชาศกึ ษาทั่วไป ไมน่ ้อยกว่า ๓๐ หนว่ ยกิต
หนว่ ยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๙๖ หนว่ ยกิต
หน่วยกิต
(๑) กลมุ่ วิชาพื้นฐานวิชาชพี ไม่นอ้ ยกวา่ ๒๐ หน่วยกิต
หนว่ ยกิต
(๒) กลมุ่ วิชาวิชาชีพ ไม่นอ้ ยกวา่ ๗๖ หนว่ ยกิต
หน่วยกิต
- ทฤษฏี ไม่น้อยกวา่ ๔๐

- ปฏิบัติ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๓๖

ทัง้ น้ี มีวชิ าการพยาบาลผดุงครรภ์ จำนวน ๑๒

หมวดวิชาเลือกเสรี ไมน่ ้อยกว่า ๖

หลกั สูตรประกาศนียบัตรผชู้ ่วยพยาบาล (หลกั สตู ร ๑ ป)ี

หลักสตู รประกาศนียบัตรผ้ชู ่วยพยาบาล (หลักสตู ร ๑ ป)ี วทิ ยาลัยพยาบาลในสงั กัดสถาบันพระบรมราชชนก
ทุกแห่ง พัฒนาหลักสูตรให้เป็นมาตรฐาน ตามข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยการรับรองหลักสูตร
ประกาศนียบตั รผู้ชว่ ยพยาบาล พ.ศ. ๒๕๖๐ มโี ครงสร้างหลักสูตร ดงั นี้

หน่วยกิตรวมตลอดหลกั สตู รไมน่ ้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต แบ่งเป็น

หมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป ไมน่ ้อยกวา่ ๖ หน่วยกติ
หน่วยกิต
หมวดวชิ าเฉพาะ ไม่นอ้ ยกว่า ๒๘ หน่วยกติ
หนว่ ยกติ
- รายวชิ าภาคทฤษฏี ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๘ หนว่ ยกติ

- รายวิชาภาคปฏบิ ตั ิ ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๐

หมวดวิชาเลอื กเสรี ไมน่ ้อยกว่า ๒

10

คณะสาธารณสุขศาสตรแ์ ละสหเวชศาสตร์

คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์ จดั การศกึ ษา 3 ระดบั คือ

1. หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาโท 1 หลกั สูตร
- หลักสตู รสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต

2. หลักสูตรระดับปริญญาตรี 6 หลักสูตร
2.1 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน
2.2 หลกั สูตรสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าทนั ตสาธารณสุข
2.3 หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเวชระเบียน
2.4 หลกั สตู รการแพทย์แผนไทยบัณฑติ
2.5 หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารงั สีเทคนคิ
2.6 หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าอาชวี อนามัยและความปลอดภยั

3. หลกั สูตรระดับตำ่ กว่าปริญญาตรี 4 หลักสูตร
3.1 หลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพชน้ั สูง สาขาวชิ าเทคนคิ เภสัชกรรม
3.2 หลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชัน้ สูง สาขาปฏิบตั ิการฉุกเฉนิ การแพทย์
3.3 หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชน้ั สูง สาขาวิชาเวชระเบียน
3.4 หลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสงู สาขาวชิ าโสตทัศนศึกษาทางการแพทย์

หลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาโท

หลกั สตู รสาธารณสุขศาสตรมหาบณั ฑิต

หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต พัฒนาหลักสูตรให้เป็นมาตรฐานตามประกาศ

กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘ และพระราชบัญญัติ

วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๖ เปิดสอนทว่ี ิทยาลยั ในสงั กดั สถาบันพระบรมราชชนก ๒ แห่ง คือ

๑) วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสริ นิ ธร จงั หวดั ขอนแกน่

๒) วิทยาลยั การสาธารณสุขสริ นิ ธร จังหวัดพษิ ณโุ ลก

มโี ครงสร้างหลกั สูตร ดงั นี้

หนว่ ยกติ รวมตลอดหลักสตู รไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกติ แบง่ เป็น

หมวดวิชาบงั คับ

กล่มุ วชิ าแกนหรอื กลุม่ วิชาชีพทางสาธารณสุข ๑๕ หนว่ ยกติ

กลุ่มวชิ าเฉพาะสาขา ๖ หน่วยกติ

หมวดวิชาเลอื ก ไม่น้อยกวา่ ๓ หน่วยกติ

วิทยานิพนธ์ ๑๒ หนว่ ยกิต

หมวดวิชาปรบั พ้นื ฐาน (ไม่นับหนว่ ยกิต)

11

หลกั สูตรระดบั ปริญญาตรี

๑. หลักสูตรสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าสาธารณสขุ ชุมชน

หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน พัฒนาหลักสูตรให้เป็นมาตรฐาน
ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘ และ
พระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพการสาธารณสุขชมุ ชน พ.ศ. ๒๕๕๖ แบ่งเป็น ๒ หลกั สตู ร ดังนี้

๑.๑ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙
เปดิ สอนทีว่ ทิ ยาลยั การสาธารณสขุ สริ ินธรในสังกัดสถาบนั พระบรมราชชนก ๖ แห่ง คือ

๑) วิทยาลัยการสาธารณสุขสริ ินธร จงั หวัดขอนแกน่
๒) วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จงั หวดั อบุ ลราชธานี
๓) วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จงั หวดั พษิ ณโุ ลก
๔) วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสริ ินธร จังหวดั ชลบุรี
๕) วิทยาลัยการสาธารณสุขสริ ินธร จังหวัดสพุ รรณบุรี

๖) วิทยาลัยการสาธารณสุขสริ นิ ธร จงั หวดั ตรงั

มโี ครงสร้างหลักสูตร ดงั นี้

หน่วยกิตรวมตลอดหลักสตู รไมน่ อ้ ยกว่า ๑๔๐ หน่วยกติ แบ่งเป็น

หมวดวิชาศึกษาทว่ั ไป ๓๐ หน่วยกติ
หน่วยกติ
หมวดวชิ าเฉพาะ ๑๐๔ หนว่ ยกติ
หนว่ ยกติ
(๑) กลมุ่ วชิ าพืน้ ฐานวิชาชพี 33 หน่วยกติ
หน่วยกติ
(๒) กล่มุ วชิ าชีพสาธารณสุข 3๑

(๓) กลุ่มวชิ าชพี เฉพาะสาขา 4๐

หมวดวิชาเลือกเสรี ไมน่ อ้ ยกวา่ ๖

๑.๒ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

เปดิ สอนทว่ี ิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จงั หวัดยะลา มีโครงสรา้ งหลักสตู ร ดังนี้

หน่วยกิตรวมตลอดหลักสตู รไมน่ ้อยกวา่ ๑๓๖ หน่วยกติ แบง่ เปน็

หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป ไมน่ อ้ ยกว่า ๓๐ หนว่ ยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ ไม่นอ้ ยกว่า ๑๐๐ หนว่ ยกติ

(๑) กลุ่มวิชาพนื้ ฐานวิชาชีพ ไม่น้อยกวา่ 3๐ หน่วยกิต

(๒) กลุ่มวิชาชีพสาธารณสุข ไม่นอ้ ยกวา่ 3๔ หนว่ ยกติ

(๓) กลมุ่ วิชาชพี เฉพาะสาขา ไมน่ ้อยกว่า ๓๖ หนว่ ยกติ

สาธารณสุขชุมชน

หมวดวชิ าเลือกเสรี ไม่นอ้ ยกวา่ ๖ หนว่ ยกติ

๒. หลกั สูตรสาธารณสุขศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาทนั ตสาธารณสขุ
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทันตสาธารณสุข พัฒนาหลักสูตรให้เป็นมาตรฐาน

ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘
พระราชบัญญัติวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๖ และตามความสามารถที่พึงประสงค์ (Competence)
ของทันตาภิบาล (หลักสูตร ๔ ปี) รับรองโดยทันตแพทยสภา เปิดสอนที่วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธรในสังกัด
สถาบนั พระบรมราชชนก ๗ แหง่ คือ

12

๑) วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จังหวัดขอนแก่น
๒) วิทยาลัยการสาธารณสุขสริ ินธร จงั หวดั อุบลราชธานี
๓) วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสริ นิ ธร จงั หวัดพษิ ณุโลก
๔) วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวดั ชลบรุ ี
๕) วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จังหวัดสุพรรณบรุ ี
๖) วิทยาลัยการสาธารณสุขสริ ินธร จังหวดั ตรงั
๗) วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จังหวัดยะลา
มีโครงสรา้ งหลักสูตร ดังนี้

หนว่ ยกติ รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๑๔๔ หน่วยกิต แบ่งเปน็

หมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป ๓๐ หน่วยกติ
หนว่ ยกิต
หมวดวชิ าเฉพาะ ๑๐๘ หน่วยกติ
หนว่ ยกติ
(๑) กลมุ่ วิชาพ้ืนฐานวชิ าชีพ 33 หนว่ ยกิต
หน่วยกติ
(๒) กล่มุ วิชาชีพสาธารณสุข 30

(๓) กลุม่ วิชาชีพเฉพาะสาขา 45

หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไม่น้อยกวา่ ๖

๓. หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเวชระเบียน

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเวชระเบียน พัฒนาหลักสูตรให้เป็นมาตรฐานตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘ เปิดสอนท่ีวิทยาลัยเทคโนโลยี
ทางการแพทย์และสาธารณสขุ กาญจนาภิเษก มโี ครงสรา้ งหลกั สตู ร ดงั นี้
หน่วยกติ รวมตลอดหลักสูตรไมน่ อ้ ยกว่า ๑๓๙ หน่วยกติ แบ่งเป็น

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมน่ อ้ ยกว่า ๓๐ หน่วยกิต

หมวดวชิ าเฉพาะ ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๐๓ หนว่ ยกิต

(๑) หมวดพ้ืนฐานวชิ าชีพ 3๙ หนว่ ยกิต

(๒) หมวดวิชาชพี เวชระเบียน ๖๔ หน่วยกติ

หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่นอ้ ยกว่า ๖ หน่วยกิต

๔. หลักสูตรการแพทยแ์ ผนไทยบณั ฑติ

หลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต พัฒนาหลักสูตรให้เป็นมาตรฐานตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘ ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับปริญญาตรี สาขาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ และตามพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย
พ.ศ. ๒๕๕๖ แบ่งเปน็ ๒ หลกั สตู ร ดังนี้

๔.๑ หลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต เปิดสอนที่วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา
มโี ครงสรา้ งหลักสตู ร ดังน้ี

หน่วยกติ รวมตลอดหลักสูตรไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๓๓ หน่วยกิต แบ่งเปน็

13

หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป ไมน่ ้อยกวา่ ๓๐ หน่วยกิต
หมวดวชิ าเฉพาะ ไม่นอ้ ยกวา่ ๙๗ หน่วยกติ
(๑) กลุ่มพื้นฐานวชิ าชพี ๔๖ หน่วยกติ
(๒) กลุม่ วชิ าชพี ๕๑ หนว่ ยกติ
หมวดวชิ าเลอื กเสรี ๖ หน่วยกิต

๔.๒ หลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย เปิดสอนที่วิทยาลัย
การสาธารณสขุ สริ ินธร จังหวดั พษิ ณุโลก และวทิ ยาลยั เทคโนโลยที างการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก
มโี ครงสรา้ งหลักสตู ร ดงั นี้
หนว่ ยกิตรวมตลอดหลกั สูตรไม่นอ้ ยกว่า ๑๔๑ หน่วยกติ แบ่งเปน็
หมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไป ไมน่ อ้ ยกว่า ๓๓ หน่วยกิต

หมวดวชิ าเฉพาะ ไมน่ อ้ ยกว่า ๑๐๒ หน่วยกิต

(๑) กลุ่มพื้นฐานวิชาชีพ ไมน่ ้อยกวา่ ๕๐ หนว่ ยกติ

(๒) กลุ่มวชิ าชีพบังคับ ไม่นอ้ ยกวา่ ๕๒ หนว่ ยกิต

หมวดวชิ าเลือกเสรี ไมน่ ้อยกวา่ ๖ หน่วยกติ

5. หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารังสเี ทคนิค

หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิค เปดิ สอนทว่ี ิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และ

สาธารณสุข กาญจาภิเษก ในสังกดั สถาบันพระบรมราชชนก มโี ครงสรา้ งหลักสตู ร ดังนี้

หนว่ ยกติ รวมตลอดหลักสตู รไม่น้อยกวา่ ๑๓๘ หนว่ ยกิต แบ่งเป็น

หมวดวิชาศึกษาทวั่ ไป ไมน่ อ้ ยกวา่ ๓๐ หนว่ ยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ ไมน่ ้อยกว่า ๑๐๒ หน่วยกติ

(๑) กล่มุ วิชาพื้นฐานวิชาชีพ ไมน่ ้อยกวา่ ๓๑ หน่วยกิต

(๒) กลมุ่ วชิ าชพี รังสีเทคนิค ไมน่ อ้ ยกวา่ ๗๑ หนว่ ยกติ

กลุ่มวชิ าทางรงั สีวิทยาทั่วไป ๒๓ หนว่ ยกติ

กล่มุ วชิ าทางรงั สวี ิทยาวนิ จิ ฉยั ๑๙ หน่วยกติ

กลมุ่ วชิ าทางรงั สีรกั ษาและมะเร็งวิทยา ๗ หนว่ ยกิต

กล่มุ วิชาทางเวชศาสตรน์ ิวเคลียร ๗ หน่วยกิต

กล่มุ วิชาฝึกปฏบิ ัตปิ ระสบการณว์ ชิ าชีพ ๑๕ หน่วยกติ

หมวดวิชาเลือกเสรี ไมน่ ้อยกวา่ ๖ หน่วยกติ

6. หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามยั และความปลอดภัย

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เปิดสอนที่วิทยาลัย

การสาธารณสุขสริ นิ ธร จงั หวัดยะลา ในสงั กดั สถาบนั พระบรมราชชนก มโี ครงสร้างหลกั สตู ร ดังนี้

หน่วยกติ รวมตลอดหลักสตู รไม่นอ้ ยกวา่ ๑๔๑ หน่วยกิต แบง่ เปน็

หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป ไมน่ อ้ ยกวา่ ๓๐ หน่วยกติ

14

หมวดวชิ าเฉพาะ ไม่น้อยกวา่ ๑๐๕ หนว่ ยกติ

(๑) กลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ไม่นอ้ ยกวา่ ๒๑ หนว่ ยกติ

และคณติ ศาสตร์

(๒) กลมุ่ วชิ าชพี

กลมุ่ วชิ าด้านสาธารณสุข ไม่นอ้ ยกว่า ๒๑ หน่วยกติ

กลุ่มวิชาดา้ นวิศวกรรม ไม่น้อยกว่า ๑๘ หน่วยกติ

(๓) กลุ่มวชิ าชีพเฉพาะสาขา ไมน่ ้อยกว่า ๔๕ หน่วยกติ

อาชวี อนามัยและความปลอดภยั

หมวดวิชาเลอื กเสรี ไม่น้อยกว่า ๖ หนว่ ยกติ

หลกั สตู รระดับตำ่ กวา่ ปรญิ ญาตรี

๑. หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชนั้ สูง สาขาวชิ าเทคนิคเภสชั กรรม

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคนิคเภสัชกรรม พัฒนาหลักสูตรให้เป็น
มาตรฐานตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
พ.ศ. ๒๕๕๖ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๖
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๕๗ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐาน
การอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พ.ศ. ๒๕๕๙ และตาม
สมรรถนะของเจ้าพนักงานเภสัชกรรม โดยกำหนดจากสภาเภสัชกรรม เปิดสอนที่วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร
ในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ๗ แหง่ คอื

๑) วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวดั ขอนแกน่
๒) วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จงั หวัดอบุ ลราชธานี
๓) วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสริ นิ ธร จังหวัดพษิ ณโุ ลก
๔) วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จังหวัดชลบุรี
๕) วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสริ นิ ธร จงั หวัดสุพรรณบุรี
๖) วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จงั หวดั ตรงั
๗) วิทยาลัยการสาธารณสุขสริ ินธร จังหวดั ยะลา

มโี ครงสรา้ งหลักสูตร ดังนี้

หนว่ ยกิตรวมตลอดหลกั สตู รไม่น้อยกว่า 84 หนว่ ยกติ แบ่งเป็น

หมวดวิชาทกั ษะชวี ติ ๒๑ หน่วยกิต
หนว่ ยกิต
หมวดวิชาทกั ษะวชิ าชีพ ไมน่ ้อยกว่า 57 หนว่ ยกติ
หนว่ ยกิต
(๑) กลุ่มทักษะวชิ าชีพพน้ื ฐาน 16 หน่วยกิต
หน่วยกิต
(๒) กลมุ่ ทักษะวิชาชีพเฉพาะ 21 หนว่ ยกติ

(๓) กลมุ่ ทกั ษะวชิ าชีพเลือก ไม่นอ้ ยกวา่ 12

(๔) ฝกึ ประสบการณ์ทกั ษะวิชาชีพ 4

(๕) โครงการพัฒนาทกั ษะวิชาชีพ 4

15

หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไม่นอ้ ยกว่า ๖ หน่วยกติ

กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร ไมน่ ้อยกว่า 2 ช่วั โมงต่อสปั ดาห์

เปน็ การส่งเสริมการพัฒนาทักษะชีวติ และหรือทกั ษะวิชาชพี

สำหรับผู้สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 6) หรือเทียบเท่า ที่ไม่มีพื้นฐานวิชาชีพ

จะตอ้ งเรียนรายวิชาปรบั พนื้ ฐานวชิ าชพี

กลุ่มรายวชิ าปรับพื้นฐานวชิ าชพี 12 หน่วยกติ

๒. หลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพชัน้ สงู สาขาปฏบิ ัตกิ ารฉกุ เฉินการแพทย์

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ พัฒนาหลักสูตรให้เป็น
มาตรฐานตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
พ.ศ. ๒๕๕๖ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๖ เกณฑ์
การใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๕๗ พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน เรื่องการให้ประกาศนียบัตรและการปฏิบัติ การฉุกเฉินของผู้ปฏิบัติการ
พ.ศ. ๒๕๕๔ ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน เรื่องอำนาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ และ
ข้อจำกัดในการปฏบิ ัติการแพทย์ของผู้ชว่ ยเวชกรรมตามคำส่ังการแพทยห์ รือการอำนวยการ พ.ศ. ๒๕๕๖ และ
ตามประกาศคณะกรรมการการแพทยฉ์ ุกเฉินแห่งชาติ เร่ือง หลกั เกณฑแ์ ละเง่ือนไขการรับรององค์กรการศึกษา
ที่ดำเนินการหลักสูตรหรือการฝึกอบรมสำหรับผู้ปฏิบัติการฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๗ เปิดสอนที่วิทยาลัย
การสาธารณสุขสิรินธรในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ๕ แห่ง คือ

๑) วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวดั ขอนแก่น
๒) วิทยาลัยการสาธารณสุขสริ ินธร จังหวัดอุบลราชธานี
๓) วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จงั หวดั ชลบรุ ี
๔) วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จังหวดั ตรงั
๕) วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จงั หวดั ยะลา

มโี ครงสร้างหลักสูตร ดงั นี้

หน่วยกิตรวมตลอดหลกั สตู ร 8๓ หน่วยกิต แบ่งเป็น ๒๑ หนว่ ยกติ
หมวดวชิ าทกั ษะชวี ติ 5๖ หน่วยกิต
1๘ หนว่ ยกติ
หมวดวชิ าทักษะวชิ าชพี 2๘ หนว่ ยกิต
2 หนว่ ยกิต
(๑) กลมุ่ ทักษะวชิ าชพี พ้ืนฐาน 4 หนว่ ยกิต

(๒) กล่มุ ทักษะวิชาชีพเฉพาะ 4 หนว่ ยกติ

(๓) กลมุ่ ทักษะวชิ าชพี เลือก ไมน่ ้อยกวา่

(๔) ฝึกประสบการณท์ กั ษะ
วชิ าชีพ
(๕) โครงการพฒั นาทักษะวิชาชีพ

16

หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไม่น้อยกวา่ ๖ หน่วยกิต

กจิ กรรมเสรมิ หลักสตู ร ไมน่ อ้ ยกว่า 2 ชวั่ โมงต่อสปั ดาห์

เป็นการส่งเสรมิ การพัฒนาทักษะชวี ิต และหรอื ทักษะวชิ าชพี

สำหรบั ผ้สู ำเร็จการศึกษามัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม. 6) หรือเทยี บเท่า ทไ่ี ม่มพี น้ื ฐานวชิ าชพี
จะต้องเรยี นรายวิชาปรบั พ้นื ฐานวชิ าชพี
กลมุ่ รายวิชาปรับพ้ืนฐานวิชาชพี 1๘ หน่วยกติ

๓. หลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชั้นสูง สาขาวิชาเวชระเบียน

หลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง สาขาวิชาเวชระเบียน พฒั นาหลักสตู รใหเ้ ป็นมาตรฐานตาม
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง มาตรฐานคุณวฒุ ิอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๖ ระเบียบ
กระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาชีพชน้ั สูง พทุ ธศักราช ๒๕๕๗ และประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง ใหใ้ ช้มาตรฐานการอาชีวศึกษาระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พ.ศ. ๒๕๕๙ เปิดสอนที่วิทยาลัยเทคโนโลยี
ทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภเิ ษก มโี ครงสรา้ งหลกั สตู ร ดังนี้

หนว่ ยกิตรวมตลอดหลักสตู รไมน่ ้อยกวา่ 8๕ หน่วยกติ แบ่งเป็น

หมวดวิชาทกั ษะชวี ติ ๒๑ หน่วยกติ

หมวดวิชาทกั ษะวิชาชีพ ไมน่ ้อยกวา่ 5๘ หนว่ ยกติ

(๑) กลุ่มทักษะวชิ าชีพพ้ืนฐาน 1๕ หน่วยกิต

(๒) กลมุ่ ทักษะวชิ าชีพเฉพาะ 21 หนว่ ยกิต

(๓) กลมุ่ ทกั ษะวชิ าชีพเลือก ไมน่ อ้ ยกว่า 12 หน่วยกติ

(๔) ฝึกประสบการณ์ทักษะ 6 หนว่ ยกิต
วชิ าชีพ 4 หน่วยกิต

(๕) โครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชพี

หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า ๖ หนว่ ยกิต

กจิ กรรมเสรมิ หลักสตู ร ไม่นอ้ ยกวา่ 2 ชว่ั โมงตอ่ สัปดาห์

เปน็ การสง่ เสรมิ การพฒั นาทักษะชวี ิต และหรือทกั ษะวิชาชพี

สำหรับผู้สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 6) หรือเทียบเท่า ที่ไม่มีพื้นฐานวิชาชีพ
จะตอ้ งเรียนรายวชิ าปรับพื้นฐานวชิ าชพี

กลมุ่ รายวชิ าปรับพนื้ ฐานวชิ าชีพ 12 หน่วยกติ

๔. หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชน้ั สูง สาขาวชิ าโสตทัศนศกึ ษาทางการแพทย์

หลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สงู สาขาวิชาโสตทศั นศึกษาทางการแพทย์ พฒั นาหลกั สตู รให้เป็น
มาตรฐานตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิอาชวี ศึกษาระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพชั้นสูง
พ.ศ. ๒๕๕๖ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๖
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๕๗ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐาน

17

การอาชวี ศึกษาระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ และระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพชั้นสงู พ.ศ. ๒๕๕๙ เปิดสอนท่ี

วทิ ยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก มโี ครงสร้างหลักสตู ร ดงั นี้

หนว่ ยกติ รวมตลอดหลักสตู รไมน่ อ้ ยกวา่ 8๕ หน่วยกิต แบ่งเปน็

หมวดวชิ าทักษะชวี ติ ๒๑ หนว่ ยกิต

หมวดวิชาทักษะวิชาชพี ไม่นอ้ ยกว่า 5๘ หนว่ ยกติ

(๑) กล่มุ ทักษะวชิ าชีพพนื้ ฐาน 1๕ หนว่ ยกิต

(๒) กล่มุ ทักษะวิชาชพี เฉพาะ 21 หนว่ ยกิต

(๓) กลุม่ ทกั ษะวิชาชีพเลือก ไม่น้อยกวา่ 12 หนว่ ยกิต

(๔) ฝกึ ประสบการณ์ทักษะ 6 หนว่ ยกติ

วิชาชีพ 4 หน่วยกติ
(๕) โครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชพี

หมวดวิชาเลอื กเสรี ไมน่ ้อยกว่า ๖ หน่วยกติ

กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร ไม่น้อยกวา่ 2 ชวั่ โมงตอ่ สัปดาห์

เป็นการสง่ เสริมการพฒั นาทักษะชวี ิต และหรือทกั ษะวชิ าชพี

สำหรบั ผูส้ ำเรจ็ การศกึ ษามธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม. 6) หรือเทียบเทา่ ที่ไม่มีพนื้ ฐานวชิ าชพี

จะต้องเรยี นรายวชิ าปรับพืน้ ฐานวิชาชพี

กลุม่ รายวชิ าปรับพนื้ ฐานวิชาชีพ 12 หน่วยกติ

หมายเหตุ : หลักสูตรที่สถาบันพระบรมราชชนก ร่วมผลติ กบั มหาวิทยาลยั บูรพา ได้แก่
1. หลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย จัดการศึกษาที่วิทยาลัย

การสาธารณสุขสิรนิ ธร จังหวัดชลบุรี
2. หลกั สตู รการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต สาขาวชิ าการแพทย์แผนไทยประยุกต์ จดั การศึกษาที่

วทิ ยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร จงั หวัดปราจนี บรุ ี

18

ส่วนที่ 3 ข้อบังคับของสถาบันพระบรมราชชนก
และรายละเอียดท่ีเกีย่ วกบั การเรียนการสอน

ข้อบงั คับของสถาบันพระบรมราชชนก และรายละเอยี ดทเี่ ก่ียวกับการเรียนการสอน มดี ังนี้
1. ข้อบังคบั สถาบันพระบรมราชชนกว่าด้วยการจดั การศึกษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษาของสถาบนั พระบรมราชชนก
กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2564
2. ข้อบังคับสถาบันพระบรมราชชนกว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีของสถาบันพระบรมราชชนก
กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ.2564
3. ข้อบังคับสถาบันพระบรมราชชนกว่าด้วยเครื่องแบบ เครื่องหมาย หรือเครื่องแต่งกายของนักศึกษา
พ.ศ. 2563
4. ข้อบังคับสถาบนั พระบรมราชชนกว่าดว้ ยเคร่ืองแบบ เครื่องหมาย หรอื เคร่ืองแตง่ กายของนักศึกษา
(ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. 2564
5. รายละเอียดค่าใช้จ่ายในการศึกษาหลักสูตรต่าง ๆ ของสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

19

ขอ้ บังคับสถาบันพระบรมราชชนกวา่ ดว้ ยการจัดการศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา
ของสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ. ๒๕๖๔

โดยที่เป็นการสมควรกำหนดการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของสถาบันพระบรมราชชนก
กระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้การจัดการศึกษาของสถาบันพระบรมราชชนกเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
เกิดประสิทธิผลสูงสุด และมีความสอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบันของการศึกษาที่มีการเปลี่ยนแปลง
มุ่งเน้นยกระดับการศึกษาของสถาบันพระบรมราชชนก ให้เป็นที่ยอมรับมากยิ่งขึ้น และสอดคล้องกับประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เกี่ยวกบั เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดบั บัณฑิตศึกษา

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๘ (๒) และมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก
พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกอบกับมติสภาสถาบันพระบรมราชชนก ในคราวประชุมครั้งที่ ๔ /๒๕๖๔ เมื่อวันท่ี
๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๔ จงึ ออกขอ้ บงั คบั ไว้ ดังต่อไปนี้

หมวดที่ ๑
บททั่วไป

ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับสถาบันพระบรมราชชนกว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
ของสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๖๔”

ขอ้ ๒ ขอ้ บงั คับนี้ให้ใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ถัดจากวนั ประกาศเปน็ ตน้ ไป
ขอ้ ๓ ในขอ้ บังคับนี้
“สถาบัน” หมายความวา่ สถาบนั พระบรมราชชนก
“สภาสถาบัน” หมายความว่า สภาสถาบนั พระบรมราชชนก
“คณะ” หมายความว่า ส่วนราชการที่มีหน้าที่หลักในการผลิตบัณฑิต การจัดการเรียนการสอน
การวจิ ัย การใหบ้ รกิ ารทางวชิ าการ และทะนุบำรงุ ศิลปะและวัฒนธรรม
“วิทยาลัย” หมายความว่า ส่วนราชการในสังกัดคณะ มีหน้าที่จัดการเรียนการสอน การวิจัย
การให้บรกิ ารทางวิชาการ และทะนุบํารงุ ศิลปะและวฒั นธรรม
“อธกิ ารบดี” หมายความว่า อธิการบดสี ถาบันพระบรมราชชนก
“คณบดี” หมายความวา่ คณบดีของคณะทเ่ี ปดิ สอนระดับบัณฑติ ศกึ ษาในสถาบนั พระบรมราชชนก

20

“ผู้อำนวยการวิทยาลัย” หมายความว่า ผู้อำนวยการของวิทยาลัยที่เปิดสอนระดับบัณฑิตศึกษา
ในสถาบนั พระบรมราชชนก

“อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลกั สตู ร” หมายความว่า อาจารย์ประจำหลกั สูตรที่มีภาระหน้าที่ในการบรหิ าร
และพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ตั้งแต่การวางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผล
และการพัฒนาหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องอยู่ประจำหลักสูตรนั้นตลอดระยะเวลา
ที่จัดการศึกษา โดยจะเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่าหนึ่งหลักสูตรในเวลาเดียวกันไม่ได้ ยกเว้น
พหุวิทยาการ หรือสหวิทยาการ ให้เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้อีกหนึ่งหลักสูตรและอาจารย์
ผู้รับผิดชอบหลกั สูตร สามารถซำ้ ไดไ้ ม่เกินสองคน

“นักศึกษา” หมายความว่า นักศึกษาที่ศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในหลักสูตรต่าง ๆ ของคณะในสังกัด
สถาบนั พระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสขุ

“คณะกรรมการบณั ฑติ ศึกษาระดับสถาบัน” หมายความวา่ คณะกรรมการที่ไดร้ ับแตง่ ตั้งเพอื่ รับผดิ ชอบ
บริหารหลักสูตรระดบั บัณฑิตศกึ ษา ในระดับสถาบัน

“คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาระดับคณะ” หมายความว่า คณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งเพื่อรับผิดชอบ
บริหารหลักสูตรระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ในระดับคณะ

“เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา” หมายความว่า เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘ หรือตามที่กระทรวง
การอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม ประกาศเปลี่ยนแปลง ทีม่ ผี ลบงั คับใชใ้ นขณะนนั้

ข้อ ๔ ให้อธิการบดีรักษาการตามข้อบังคับนี้ และมีอำนาจออกประกาศหรือคำสั่งเพื่อปฏิบัติการ
ตามขอ้ บงั คบั น้ี

ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามข้อบังคับนี้ ให้อธิการบดีมีอำนาจตีความหรือวินิจฉัยชี้ขาด
คำวินจิ ฉยั ช้ีขาด ของอธกิ ารบดีใหถ้ อื เปน็ ทีส่ ุด

หมวด ๒
คณะกรรมการ

ข้อ ๕ ให้มีคณะกรรมการบัณฑิตศึกษา เพื่อบริหาร กำกับดูแลคุณภาพ การจัดการศึกษาระดับ
บณั ฑติ ศกึ ษาทุกหลักสูตรของสถาบัน ประกอบด้วย

(๑) คณะกรรมการบณั ฑิตศึกษาระดบั สถาบนั ประกอบด้วย
(ก) รองอธิการบดที ร่ี ับผดิ ชอบด้านบัณฑติ ศึกษา เปน็ ประธาน
(ข) คณบดขี องคณะที่เปดิ สอนระดับบัณฑิตศกึ ษา เป็นกรรมการ
(ค) ผ้แู ทนอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสตู รระดับบัณฑติ ศึกษา อยา่ งน้อยสามคนแต่ไม่เกินห้าคน

เป็นกรรมการ
(ง) ผูอ้ ำนวยการสำนักวิชาการ เปน็ กรรมการและเลขานุการ
ให้คณะกรรมการบัณฑิตศกึ ษาระดับสถาบันแต่งตั้งผ้ชู ว่ ยเลขานุการจำนวนสองคน

21

ให้อธิการบดี โดยความเห็นชอบของสภาวิชาการ แต่งตั้งคณะกรรมการบัณฑิตศึกษา
ระดับสถาบัน ในกรณพี น้ จากตำแหนง่ ก่อนครบวาระ ให้ผู้ท่ีไดร้ บั แตง่ ตงั้ ทดแทนนัน้ อยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระ
ท่เี หลอื อยู่ของกรรมการทีไ่ ดร้ บั แต่งตั้งไว้แลว้

(๒) คณะกรรมการบัณฑติ ศกึ ษาระดับคณะ ประกอบด้วย
(ก) คณบดีของคณะทเี่ ปิดสอนระดับบัณฑติ ศึกษา เป็นประธาน
(ข) ผอู้ ำนวยการวิทยาลยั ท่ีเปิดสอนระดับบัณฑติ ศกึ ษา เปน็ กรรมการ
(ค) ผ้แู ทนอาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลักสตู รระดับบัณฑิตศึกษา ไม่เกนิ ห้าคน เปน็ กรรมการ
(ง) รองคณบดที ี่รบั ผิดชอบดา้ นบัณฑติ ศกึ ษา เป็นกรรมการและเลขานุการ
ใหค้ ณะกรรมการบัณฑิตศึกษาระดับคณะแตง่ ตงั้ ผ้ชู ว่ ยเลขานุการจำนวนสองคน
ให้อธิการบดี โดยความเห็นชอบของสภาวิชาการ แต่งตั้งคณะกรรมการบัณฑิตศึกษา

ระดับคณะ ในกรณีพ้นจากตำแหน่งก่อนครบวาระ ให้ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งทดแทนนั้น อยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระ
ท่ีเหลืออย่ขู องกรรมการท่ไี ดร้ ับแตง่ ตั้งไวแ้ ล้ว

ข้อ ๖ คณะกรรมการตามขอ้ ๕ มีหนา้ ที่และอำนาจ ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) คณะกรรมการบัณฑติ ศึกษาระดับสถาบนั มหี นา้ ทแี่ ละอำนาจ ดงั ต่อไปน้ี
(ก) เสนอแนะนโยบาย และแผนการจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาของสถาบัน

ตอ่ สภาสถาบนั
(ข) กำกับดูแลการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของสถาบันให้มีคุณภาพ

และประสทิ ธิภาพ
(ค) ประสานการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของคณะต่าง ๆ และสนับสนุน

กระบวนการต่าง ๆ ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ
(ง) จดั การศึกษาระดับบณั ฑิตศกึ ษาแบบสหสาขาวชิ า
(จ) กลั่นกรองการขออนุมัติสำเร็จการศึกษาของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อเสนอ

ต่อสภาสถาบัน
(ฉ) จัดทำและกลั่นกรอง ข้อบังคับ และระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาระดับ

บัณฑติ ศึกษา เพ่ือเสนอต่อสภาสถาบัน
(ช) ปฏบิ ัติหนา้ ท่อี ่นื ตามทีส่ ภาสถาบนั มอบหมาย

(๒) คณะกรรมการบณั ฑติ ศึกษาระดับคณะ มีหนา้ ทแี่ ละอำนาจ ดงั ต่อไปน้ี
(ก) นำนโยบาย และแผนการจัดการศึกษาในระดบั บัณฑติ ศึกษาของสถาบนั ไปดำเนนิ การ
(ข) กำกับดูแลการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของคณะตั้งแต่การวางแผน

การพฒั นาหลักสตู ร การประกนั คุณภาพการศึกษา ให้มคี ุณภาพและประสิทธิภาพ
(ค) ประสานการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของวิทยาลัยในสังกัดคณะ

และสนับสนุนกระบวนการต่าง ๆ ให้มปี ระสิทธิภาพ
(ง) จัดการศกึ ษาระดับบณั ฑิตศกึ ษาแบบสหสาขาวิชาของวทิ ยาลัยในสังกัดคณะ
(จ) รบั รองผลการเรยี นและการสำเร็จการศกึ ษาของนักศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษา
(ฉ) ปฏบิ ตั ิหน้าท่ีอื่น ตามทีส่ ภาสถาบันมอบหมาย

22

ข้อ ๗ คณะกรรมการตามข้อ ๕ มวี าระการดำรงตำแหนง่ คราวละสป่ี ี และอาจแตง่ ตัง้ ใหม่อกี ได้ แต่จะ
ดำรงตำแหนง่ เกินสองวาระตดิ ต่อกนั มิได้ เว้นแต่ กรรมการตามข้อ ๕ (๑) (ก) (ข) (ง) และข้อ ๕ (๒) (ก) (ข) (ง)

นอกจากการพ้นตำแหนง่ ตามวาระ คณะกรรมการบัณฑติ ศึกษาพน้ จากตำแหน่งเม่ือ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคณุ สมบตั ขิ องการเปน็ กรรมการประเภทน้ัน ๆ
(๔) ถูกลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรง หรือถูกสั่งให้ออกจากราชการ เพราะเหตุมีมลทินหรือ

มวั หมองในกรณีท่ถี ูกสอบสวนทางวินยั อย่างรา้ ยแรง
(๕) ถกู จำคุกโดยคำพพิ ากษาถึงท่สี ุดให้จำคุก
(๖) เปน็ บคุ คลลม้ ละลาย
(๗) เปน็ คนไรค้ วามสามารถหรอื คนเสมอื นไรค้ วามสามารถ

หมวด ๓

ระบบการจดั การศึกษา

ข้อ ๘ ระบบการจัดการศึกษา ใช้ระบบทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษา แบ่งออกเป็นสองภาคการศึกษาปกติ
แต่ละภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่าสิบห้าสัปดาห์ และอาจจัดการศึกษาภาคฤดูร้อนได้
ตามความจำเป็นของแตล่ ะหลกั สูตร โดยมรี ะยะเวลาไมน่ ้อยกว่าแปดสัปดาห์

ข้อ ๙ การคิดหนว่ ยกิต
(๑) รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่าสิบห้าชั่วโมง

ต่อภาคการศกึ ษาปกติ ใหม้ คี ่าเทา่ กบั หนึ่งหนว่ ยกิตในระบบทวภิ าค
(๒) รายวชิ าภาคปฏบิ ัติ ที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่าสามสิบช่ัวโมงต่อภาคการศึกษาปกติ

ให้มีค่าเท่ากบั หนง่ึ หน่วยกติ ในระบบทวภิ าค
(๓) การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ทใ่ี ชเ้ วลาฝกึ ไม่น้อยกว่าส่สี บิ ห้าช่วั โมงต่อภาคการศึกษาปกติ

ให้มคี า่ เทา่ กับหนึ่งหน่วยกติ ในระบบทวภิ าค
(๔) การค้นคว้าอิสระ ที่ใช้เวลาศึกษาค้นคว้าไม่น้อยกว่าสี่สิบห้าชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ

ใหม้ ีคา่ เทา่ กบั หน่งึ หนว่ ยกติ ในระบบทวิภาค
(๕) วิทยานิพนธ์ ที่ใช้เวลาศึกษาค้นคว้าไม่น้อยกว่าสี่สิบห้าชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ

ให้มคี ่าเทา่ กับหนึ่งหนว่ ยกติ ในระบบทวิภาค

ขอ้ ๑๐ การจดั แผนการศึกษา
(๑) การจัดแผนการศึกษาแบบเต็มเวลา (Full–time) หมายถึง การจัดแผนการศึกษา

ในหลักสูตร โดยกำหนดจำนวนหน่วยกิตเฉลี่ยตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่าเก้าหน่วยกิต และไม่เกินสิบห้าหน่วยกิต
ตอ่ ภาคการศึกษาปกติ สำหรบั ระบบทวิภาค

23

(๒) การจัดแผนการศึกษาแบบไม่เตม็ เวลา (Part–time) หมายถึง การจัดแผนการศึกษาในหลักสูตร
โดยกำหนดจำนวนหน่วยกิตเฉลี่ยตลอดหลักสูตร ไม่เกินเก้าหน่วยกิตต่อภาคการศึกษาปกติ สำหรับระบบทวิภาค

ทั้งนี้ หลักสูตรหนึ่ง ๆ อาจจัดการศึกษาระบบอื่น ๆ และหรือจัดแผนการศึกษาแบบใดแบบหนึ่ง
หรอื หลายแบบได้ โดยให้เปน็ ไปตามประกาศของสถาบนั

ข้อ ๑๑ รูปแบบการจดั การเรยี นการสอน
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนสามารถดำเนินการได้ในลักษณะแบบเผชิญหน้า (Face to Face
Learning) หรือแบบออนไลน์ (Online Learning) หรือแบบผสม (Blended Learning) ตามที่คณะพิจารณา
ตามความเหมาะสม

ขอ้ ๑๒ การวดั และประเมินผลการศกึ ษา ให้เปน็ ไปตามประกาศของสถาบัน

หมวดท่ี ๔

หลกั สูตรและโครงสร้างหลกั สูตร

ขอ้ ๑๓ หลักสูตรระดับบัณฑิตศกึ ษา
(๑) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต เป็นหลักสูตรที่เน้นการพัฒนานักวิชาการและนักวิชาชีพ

ให้มีความเชี่ยวชาญ หรือประสิทธิภาพในสาขาวิชาเฉพาะ เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีลักษณะเบ็ดเสร็จ
ในตัวเอง สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่ามาแล้ว ให้มีจำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกวา่ ย่ีสบิ สี่หน่วยกิต

(๒) หลักสูตรปริญญาโท เป็นหลักสูตรที่เน้นการพัฒนานักวิชาการและนักวิชาชีพ ที่มีความรู้
ความสามารถระดับสูง โดยกระบวนการวิจัยหรือให้สามารถบุกเบิกแสวงหาความรู้ใหม่ได้อย่างอิสระ
ในสาขาวิชาต่าง ๆ ในระดับสูงกว่าปริญญาตรีและประกาศนียบัตรบัณฑิต ให้มีจำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
ไมน่ ้อยกวา่ สามสิบหกหนว่ ยกติ โดยแบง่ การศกึ ษาออกเปน็ ๒ แผน คือ

แผน ก เป็นแผนการศึกษาท่ีเนน้ การวิจัยโดยมีการทำวทิ ยานพิ นธ์ ดงั น้ี
แบบ ก ๑ ทำเฉพาะวิทยานิพนธ์ซึ่งมีค่าเทียบได้ไม่น้อยกว่าสามสิบหกหน่วยกิต

คณะอาจกำหนด ให้เรียนรายวิชาเพิ่มเติมหรือทำกิจกรรมทางวิชาการอื่นเพิ่มขึ้นก็ได้ โดยไม่นับหน่วยกิต
แตจ่ ะต้องมีผลสมั ฤทธ์ติ ามทีค่ ณะกำหนด

แบบ ก ๒ ทำวิทยานิพนธ์ซึ่งมีค่าเทียบได้ไม่น้อยกว่าสิบสองหน่วยกิต และศึกษา
งานรายวชิ าอีกไม่นอ้ ยกวา่ สบิ สองหนว่ ยกิต

แผน ข เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการศึกษางานรายวิชา โดยไม่ต้องทำวิทยานิพนธ์ แต่ต้องมี
การคน้ คว้าอิสระไมน่ อ้ ยกว่าสามหนว่ ยกิต และไม่เกินหกหน่วยกิต

(๓) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง เป็นหลักสูตรที่เน้นการพัฒนานักวิชาการ
และนักวิชาชีพให้มีความเชี่ยวชาญ หรือประสิทธิภาพในสาขาวิชาเฉพาะเพื่อให้มีความรู้ความสามารถ
ปฏิบัตงิ านได้ดีย่ิงข้นึ และเป็นหลักสูตรการศึกษาทม่ี ีลักษณะเบ็ดเสร็จในตัวเอง สำหรับผูส้ ำเร็จการศึกษาระดับ
ปรญิ ญาโทหรือเทยี บเท่ามาแล้ว ให้มจี ำนวนหน่วยกติ รวมตลอดหลักสูตรไม่นอ้ ยกวา่ ยี่สิบสี่หนว่ ยกิต

24

(๔) หลกั สูตรปรญิ ญาเอก เปน็ หลักสตู รทเี่ นน้ การพฒั นานักวชิ าการและนักวิชาชีพ ที่มีความรู้
ความสามารถระดับสูงในสาขาวิชาต่าง ๆ โดยกระบวนการวิจยั เพื่อให้สามารถบุกเบิกแสวงหาองคค์ วามรู้ใหม่
ได้อย่างอิสระและสร้างสรรค์ จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ เชื่อมโยงและบูรณาการศาสตร์ท่ีตนเชี่ยวชาญ
กับศาสตร์อื่นได้อย่างต่อเนื่องในระดับสูงกว่าปริญญาโทและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง แบ่งการศึกษา
เป็น ๒ แบบ ดงั น้ี

แบบ ๑ ผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท จะต้องทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่าสี่สิบแปดหน่วยกิต
หรือ ผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี จะต้องทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่าเจ็ดสิบสองหน่วยกิต ทั้งนี้ วิทยานิพนธ์
จะตอ้ งมีมาตรฐานและคุณภาพเดียวกนั

แบบ ๒ ผ้เู ข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท จะตอ้ งทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่าสามสิบหกหน่วยกิต
และศึกษางานรายวิชาอีกไม่น้อยกว่าสิบสองหน่วยกิต หรือ ผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี จะต้องทำ
วิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่าสี่สิบแปดหน่วยกิต และศึกษางานรายวิชาอีกไม่น้อยกว่ายี่สิบสี่หน่วยกิต ทั้งนี้
วิทยานิพนธจ์ ะตอ้ งมมี าตรฐานและคณุ ภาพเดยี วกนั

ข้อ ๑๔ ระยะเวลาการศึกษาของแต่ละหลกั สตู รทีจ่ ัดแผนการศึกษาแบบเตม็ เวลา ดังน้ี
(๑) ประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ให้ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน

สามปกี ารศกึ ษา
(๒) ปรญิ ญาโท ใหใ้ ชเ้ วลาศึกษาไมเ่ กินห้าปีการศึกษา
(๓) ปริญญาเอก ผู้ที่สำเร็จปริญญาตรีแล้วเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกให้ใช้เวลาศึกษา

ไม่เกินแปดปีการศึกษา ส่วนผู้ที่สำเร็จปริญญาโทแล้วเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกให้ใช้เวลาศึกษา ไม่เกิน
หกปกี ารศกึ ษา

ระยะเวลาการศึกษาสำหรับหลักสูตรที่จัดแผนการศึกษาแบบไม่เต็มเ วลาหรือแบบอื่น
ให้เป็นไปตามประกาศของสถาบัน

หมวดท่ี ๕
อาจารยร์ ะดับบัณฑิตศึกษา

ข้อ ๑๕ จำนวน คุณวุฒิ และคุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ และอาจารย์ผู้ สอน
ของหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโท ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง และปริญญาเอก ให้เป็นไป
ตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตรระดบั บณั ฑิตศกึ ษา

ข้อ ๑๖ ภาระงานของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ ให้เป็นไปตาม เกณฑ์
มาตรฐานหลักสตู รระดบั บณั ฑติ ศึกษา

25

หมวดท่ี ๖
การรบั เขา้ ศกึ ษา

ข้อ ๑๗ คณุ สมบตั ขิ องผเู้ ขา้ ศกึ ษา
(๑) หลกั สูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต
จะตอ้ งเปน็ ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ตามท่หี ลักสตู รกำหนด และหรือ

มีคุณสมบัติอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาระดับคณะกำหนด โดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการบณั ฑติ ศึกษาระดบั สถาบนั

(๒) หลักสตู รปริญญาโท
จะต้องเปน็ ผูส้ ำเรจ็ การศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทยี บเท่า ตามท่ีหลักสตู รกำหนด และหรือ
มีคุณสมบัติอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาระดับคณะกำหนด โดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการบัณฑติ ศึกษาระดับสถาบัน
(๓) หลักสูตรประกาศนียบตั รบัณฑติ ชัน้ สงู
จะต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต หรือปริญญาโทหรือเทียบเท่า
ตามที่หลักสูตรกำหนด และหรือมีคุณสมบัติอื่นเพิ่มเติมตามท่ีคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาระดับคณะกำหนด
โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการบัณฑิตศกึ ษาระดับสถาบนั
(๔) หลกั สูตรปรญิ ญาเอก

(ก) จะต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า ตามที่หลักสูตรกำหนด
และหรือมีคุณสมบัติอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาระดับคณะกำหนด โดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการบณั ฑิตศึกษาระดับสถาบนั หรอื

(ข) จะต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาเดียวกัน
หรือ สาขาวิชาที่สัมพันธ์กันกับหลักสูตรที่เข้าศึกษา ที่มีผลการเรียนดีมาก และหรือมีคุณสมบัติอื่นเพิ่มเติม
ตามท่ีคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาระดับคณะกำหนด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาระดบั
สถาบนั

ทั้งนี้ ผู้เข้าศึกษาระดับปรญิ ญาเอก จะตอ้ งมผี ลการสอบภาษาองั กฤษได้ตามเกณฑ์ท่ีหลักสตู ร
กำหนด

ข้อ ๑๘ การรับบุคคลเขา้ ศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาระดับ
คณะกำหนด โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการบณั ฑิตศึกษาระดับสถาบัน และจดั ทำเป็นประกาศของสถาบัน

ข้อ ๑๙ การรายงานตัวและขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา ใหเ้ ป็นไปตามประกาศของสถาบัน

26

หมวดท่ี ๗

การลงทะเบียนเรยี น

ขอ้ ๒๐ การลงทะเบยี นเรียน
(๑) นักศึกษาในหลักสูตรที่จัดแผนการศึกษาแบบเต็มเวลา ต้องลงทะเบียนวิชาเรียนไม่น้อยกว่า

เก้าหน่วยกิต และไมเ่ กนิ สบิ หา้ หนว่ ยกิตตอ่ ภาคการศกึ ษาปกติ
(๒) นักศกึ ษาในหลักสูตรทจี่ ัดแผนการศึกษาแบบไม่เต็มเวลา ตอ้ งลงทะเบียนวิชาเรยี นไม่น้อยกว่า

สามหน่วยกิต และไมเ่ กินเก้าหน่วยกติ ต่อภาคการศึกษาปกติ
หากมีเหตุผลและความจำเป็นพิเศษ การลงทะเบียนเรียนที่มีจำนวนหน่วยกิตแตกต่างไป

จากเกณฑ์ข้างต้น ให้เป็นไปตามประกาศของสถาบัน ทั้งนี้ ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อมาตรฐานและคุณภาพ
การศกึ ษา

ข้อ ๒๑ การเพิ่มหรือถอนวิชาเรยี น ใหเ้ ปน็ ไปตามประกาศของสถาบัน

ข้อ ๒๒ การรับและเทียบโอนหน่วยกิต ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
หรือคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาระดับคณะอาจกำหนดเป็นอย่างอื่น ทั้งนี้ ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อมาตรฐาน
และคุณภาพการศกึ ษา

หมวดที่ ๘

การทำวิทยานพิ นธแ์ ละการคน้ คว้าอิสระ

ข้อ ๒๓ การลงทะเบียนวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ กระทำได้เมื่อนักศึกษามีคุณสมบัติ
ครบตามที่แต่ละหลักสูตรกำหนด โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักหรือ
การคน้ คว้าอิสระ

ข้อ ๒๔ การเสนออนมุ ัติโครงรา่ งวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอสิ ระ
(๑) ปริญญาโทต้องได้รับอนุมัติโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ ภายในสองปี

นบั ต้ังแต่ภาคการศึกษาแรกท่เี ขา้ ศกึ ษา
(๒) ปริญญาเอกต้องได้รับอนุมัตโิ ครงร่างวิทยานิพนธภ์ ายในสามปีนับต้ังแตภ่ าคการศึกษาแรก

ที่เข้าศกึ ษา

ข้อ ๒๕ การควบคุมวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ ให้มีอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
หรอื การค้นคว้าอิสระหนงึ่ คน และอาจมีอาจารยท์ ปี่ รกึ ษาร่วมได้อีก ตามความเหมาะสมแต่ละกรณี

ขอ้ ๒๖ การประเมินผลความก้าวหน้าในการทำวทิ ยานพิ นธ์หรอื การค้นควา้ อิสระ
(๑) อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ มีหน้าที่ในการประเมินผล

ความก้าวหน้าในการทำวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระของนักศึกษา และรายงานผลการประเมินต่อ
คณะกรรมการบัณฑติ ศึกษาระดับคณะ

27

(๒) การประเมินผลความก้าวหน้าในการทำวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ ต้องกระทำ
ในทกุ ภาคการศกึ ษา โดยผา่ นความเหน็ ชอบของคณะกรรมการบัณฑิตศกึ ษาระดับคณะ

ใช้สัญลักษณ์ P (In Progress) หมายถึง ผลการประเมินความก้าวหน้าในการทำวิทยานิพนธ์
หรือการค้นคว้าอิสระของนักศึกษาเป็นที่พอใจ โดยระบุจำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ
ของนักศึกษาแต่ละคนในภาคการศึกษานั้น และใช้สัญลักษณ์ N (No Progress) สำหรับผลการประเมินที่ไม่มี
ความก้าวหนา้ หรือไม่เป็นท่พี อใจ

ข้อ ๒๗ ในกรณีที่นักศึกษาได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ ซึ่งมีผลต่อ
การเปลี่ยนแปลงสาระสำคัญของเนื้อหาวิทยานิพนธห์ รือการคน้ คว้าอิสระ ให้อาจารย์ที่ปรกึ ษาประเมินจำนวน
หน่วยกิตจากหัวข้อเดิมที่สามารถนำไปใช้กับหัวข้อใหม่ได้ แต่ต้องไม่เกินจำนวนหน่วยกิตที่ผ่านในหัวข้อเดิม
ท้ังน้ี ให้นับจำนวนหน่วยกติ ดงั กล่าว เป็นจำนวนหน่วยกิตท่ีผ่านได้สัญลักษณ์ P ซึ่งสามารถนำมานับเพื่อสำเร็จ
การศกึ ษาตามหลกั สตู รได้

ข้อ ๒๘ การสอบวิทยานพิ นธ์ หรือการค้นควา้ อิสระ
(๑) นักศึกษาสามารถยื่นขอสอบวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระได้ เมื่อจัดทำวิทยานิพนธ์

หรือการค้นคว้าอิสระเสร็จสมบูรณ์ โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก หรือ
การคน้ ควา้ อสิ ระ

(๒) การสอบวิทยานิพนธห์ รือการค้นคว้าอสิ ระ
(ก) ให้คณะแต่งตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ หรือการค้นคว้าอิสระ สำหรับจำนวน

คุณวุฒิ คณุ สมบตั ิ และผลงานทางวิชาการของคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ หรอื การคน้ คว้าอิสระ ให้เป็นไป
ตามเกณฑม์ าตรฐานหลักสูตรระดับบณั ฑติ ศกึ ษา

(ข) การสอบวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ ต้องเป็นแบบเปิด โดยการเปิดให้ผู้สนใจ
เข้ารบั ฟังการนำเสนอและตอบคำถามของผู้เข้าสอบได้ คณะต้องประกาศให้ผู้สนใจทราบก่อนการสอบไม่น้อยกว่า
ห้าวันทำการ คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ มีอำนาจในการอนุญาตหรือไม่อนุญาต
ให้ผู้เข้าฟังถามหรือแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาของวิทยานิพนธ์ หรือการค้นคว้าอิสระ รวมทั้ง
การจำกดั เวลาการถาม และการควบคมุ ให้ดำเนินการสอบเปน็ ไปโดยเรียบร้อย

(ค) ในวันสอบจะต้องมีคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ หรือการค้นคว้าอิสระ ตามเกณฑ์
มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา จึงจะถือว่าการสอบนั้นมีผลสมบูรณ์ ทั้งนี้ อาจสอบโดยใช้วิธีการ
ผา่ นเครอื ข่ายอินเตอร์เนต็ โดยให้เป็นไปตามประกาศของสถาบัน

ถ้าคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ หรือการค้นคว้าอิสระ ไม่ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ให้เลื่อนการสอบออกไป ในกรณีที่จำเป็นอาจเปลี่ยนแปลงกรรมการได้ โดยให้
คณะแต่งตั้งกรรมการเพมิ่ เติมและกำหนดวนั สอบครงั้ ใหม่

ทั้งนี้ กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสามารถส่งผลการประเมิน
การให้คำแนะนำและข้อเสนอแนะด้วยเอกสาร โดยประธานคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ เป็นผู้ นำเสนอ
ผลการประเมนิ ต่อคณะกรรมการสอบวทิ ยานิพนธ์ในวนั สอบ

28

(ง) ผลการสอบวิทยานิพนธ์ หรือการค้นคว้าอิสระ ให้ถือมติตามที่คณะกรรมการสอบ
วทิ ยานพิ นธ์ หรือการค้นคว้าอสิ ระพจิ ารณาร่วมกัน

ข้อ ๒๙ การประเมนิ ผลการสอบวทิ ยานิพนธ์ หรือการค้นคว้าอสิ ระ แบง่ เป็น ๔ ระดับ คอื
Excellent หมายความวา่ ผลการประเมินขนั้ ดีเยี่ยม
Good หมายความว่า ผลการประเมนิ ขน้ั ดี
Pass หมายความว่า ผลการประเมนิ ขัน้ ผ่าน
Fail หมายความวา่ ผลการประเมินขน้ั ไม่ผ่าน

ข้อ ๓๐ ใหป้ ระธานคณะกรรมการสอบแจ้งผลการสอบเปน็ ลายลักษณ์อักษร ต่อคณบดีและผู้เข้าสอบ
ภายในสบิ วันทำการ ถดั จากวันสอบ

(๑) ในกรณีที่สอบผ่านและไม่มีข้อแก้ไข ให้นักศึกษาส่งวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระฉบับ
สมบูรณภ์ ายในย่ีสิบวนั ทำการ ถัดจากวันสอบ

(๒) ในกรณีที่สอบผ่านแต่ต้องมีข้อแก้ไข ให้บันทึกประเด็นหรือรายการที่ต้องแก้ไขพร้อมท้ัง
อธิบายชี้แจงให้ผู้เข้าสอบรับทราบ และผู้เข้าสอบต้องแก้ไขตามข้อเสนอให้แล้วเสร็จและส่งวิทยานิพนธ์หรือ
การคน้ ควา้ อิสระฉบบั สมบูรณ์ภายในส่ีสบิ ห้าวนั ทำการ ถดั จากวันสอบ

(๓) ในกรณที สี่ อบคร้ังแรกไม่ผ่าน ใหบ้ ันทกึ สาเหตุหลักของการพิจารณาไม่ผ่าน และให้ย่ืนขอ
สอบครั้งที่ ๒ ภายในสามสิบวันทำการ ถัดจากวันสอบครั้งแรก และต้องสอบภายในหกสิบวันทำการ ถัดจาก
วนั ยน่ื ขอสอบคร้ังที่ ๒

หากนักศึกษาไม่สามารถดำเนินการได้ตาม (๑) (๒) และ (๓) และไม่มีเหตุผลอันสมควร
ให้ถือว่าไม่ผ่านในการสอบครัง้ น้ัน ให้คณะกรรมการสอบ รายงานผลขั้นสุดท้ายต่อคณบดี ภายในห้าวนั ทำการ
หลังส้ินสดุ ระยะเวลาทกี่ ำหนด

ขอ้ ๓๑ หากนกั ศกึ ษาขาดสอบโดยไม่มีเหตผุ ลอนั สมควร ใหถ้ อื วา่ สอบไม่ผ่านในการสอบครั้งนนั้

ขอ้ ๓๒ นกั ศึกษาท่จี ะยื่นเรื่องขอสอบโครงร่างวิทยานพิ นธ์ หรือการค้นควา้ อสิ ระ ขอสอบวิทยานิพนธ์
หรือการค้นคว้าอิสระ และส่งวิทยานิพนธ์ หรือการค้นคว้าอิสระฉบับสมบูรณ์ ให้ดำเนินการตรวจสอบ
การคัดลอกผลงาน พร้อมแนบหลักฐานรายงานผลการตรวจสอบที่แสดงค่าร้อยละของความซ้ำซ้อน
(Plagiarism Checking Report) และผ่านการรับรองจากอาจารยท์ ่ีปรกึ ษาวิทยานิพนธห์ ลักหรือการค้นคว้าอิสระ

ทั้งนี้ การกำหนดคา่ ร้อยละของความซำ้ ซ้อน ใหเ้ ป็นไปตามประกาศของสถาบนั

ข้อ ๓๓ รปู แบบการพิมพ์ การสง่ เล่ม และลิขสทิ ธิ์ในวทิ ยานิพนธ์หรอื รายงานการค้นคว้าอิสระ
(๑) รปู แบบการพิมพว์ ทิ ยานิพนธ์หรอื รายงานการคน้ คว้าอิสระให้เป็นไปตามท่ีสถาบันกำหนด
(๒) นักศึกษาต้องส่งวิทยานิพนธ์หรือรายงานการค้นคว้าอิสระฉบับสมบูรณ์ตามจำนวน

ลกั ษณะและระยะเวลาที่สถาบันกำหนด
(๓) ลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรในวิทยานิพนธ์หรือรายงานการค้นคว้าอิสระเป็นของสถาบัน

นักศึกษาและหรืออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ สามารถนำไปเผยแพร่ในเชิงวิชาการได้
แต่การนำเนื้อหาหรือผลจากการศึกษาไปใช้เพื่อประโยชน์อื่น ให้คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาระดับสถาบัน
พิจารณาเป็นรายกรณี

29

หมวดที่ ๙
การสำเรจ็ การศกึ ษา

ข้อ ๓๔ การสำเร็จการศึกษา นักศึกษาจะสำเร็จการศึกษาได้ต้องมีคณุ สมบัติต่อไปน้ี
(๑) หลักสูตรประกาศนียบตั รบณั ฑิตและประกาศนยี บัตรบัณฑิตช้ันสงู ต้องสอบผา่ นรายวิชาตา่ ง ๆ

ครบถ้วนตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร โดยได้ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับ
คะแนนหรอื เทียบเท่า

(๒) หลักสตู รปรญิ ญาโท
(ก) สอบเทยี บหรือสอบผา่ นความรภู้ าษาองั กฤษตามประกาศของสถาบัน
(ข) แผน ก แบบ ก ๑ นำเสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย

โดยคณะกรรมการสอบวิทยานพิ นธ์ และผลงานวิทยานพิ นธ์หรือส่วนหนึ่งของวทิ ยานิพนธ์ ต้องได้รับการตีพิมพ์
หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพ
ตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับ
การเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ

(ค) แผน ก แบบ ก ๒ ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตร โดยได้ระดับ
คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า พร้อมทั้งนำเสนอวิทยานิพนธ์
และสอบผา่ นการสอบปากเปลา่ ขั้นสดุ ท้าย โดยคณะกรรมการสอบวทิ ยานพิ นธ์

ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อย
ได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพ ตามประกาศ
คณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงาน
ทางวิชาการ หรือนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นำเสนอฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับ
การตีพิมพใ์ นรายงานสบื เน่อื งจากการประชุมวชิ าการ (Proceedings) ดงั กลา่ ว

ในกรณีท่ีเป็นวิทยานิพนธ์ซึ่งเกี่ยวข้องกับสิ่งประดิษฐ์ อาจถือการได้รับการจดทะเบียน
สิทธบิ ตั รหรอื อนุสิทธิบตั ร แทนการตีพิมพใ์ นวารสารทางวชิ าการได้

(ง) แผน ข ต้องสอบผ่านรายวิชาต่างๆ ครบถ้วนตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร โดยได้ระดับ
คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า และสอบผ่านการสอบประมวลความรู้
(Comprehensive Examination) ด้วยข้อเขียน และหรือปากเปล่าในสาขาวิชานั้น พร้อมทั้งนำเสนอรายงาน
การค้นคว้าอิสระและสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการสอบการค้นคว้าอิสระ และรายงาน
การค้นคว้าอิสระ หรือส่วนหนึ่งของรายงานการค้นคว้าอิสระต้องได้รับการเผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง
ท่ีสืบคน้ ได้

30

(๓) หลกั สูตรปรญิ ญาเอก
(ก) สอบผ่านการสอบวดั คณุ สมบัติ (Qualifying Examination)
(ข) แบบ ๑ นำเสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดย

คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ และผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ ต้องได้รับการตีพิมพ์
หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศ
คณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงาน
ทางวชิ าการ อยา่ งนอ้ ย ๒ เร่ือง

(ค) แบบ ๒ ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตร โดยได้ระดับคะแนนเฉล่ีย
สะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า พร้อมทั้งนำเสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่าน
การสอบปากเปลา่ ข้นั สุดทา้ ย โดยคณะกรรมการสอบวทิ ยานพิ นธ์

ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อย
ได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการ
การอุดมศกึ ษา เร่ือง หลกั เกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวชิ าการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

ในกรณีที่เป็นวิทยานิพนธ์ซึ่งเกี่ยวข้องกับสิ่งประดิษฐ์ อาจถือการได้รับการจดทะเบียน
สิทธิบตั รหรอื อนุสทิ ธบิ ัตร แทนการตพี ิมพ์ในวารสารทางวิชาการได้

ขอ้ ๓๕ วนั สำเรจ็ การศกึ ษาและการขออนุมัตปิ รญิ ญาให้เปน็ ไปตามประกาศของสถาบนั
ข้อ ๓๖ สภาสถาบันอาจพิจารณาเพิกถอนปริญญาหรือประกาศนียบัตรซึ่งได้อนุมัติแก่ผู้สำเร็จ
การศึกษาผู้หน่ึงผ้ใู ดไปแลว้ ตามข้อเสนอของคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาระดบั สถาบัน
ข้อ ๓๗ ให้สถาบนั จดั ระบบตรวจสอบการคัดลอกผลงาน หรือการซำ้ ซอ้ นกับงานของผู้อ่ืนหรอื การจ้าง
ทำรายงานวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ หากพบว่ามีการคัดลอก การซ้ำซ้อนกับงานของผู้อื่น หรือ
มีการจ้างทำรายงานวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ ให้สถาบันพิจารณาถอดถอนรายงานวิทยานิพนธ์หรือ
การค้นคว้าอสิ ระชนิ้ นัน้
ข้อ ๓๘ คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาระดับสถาบัน สามารถออกแนวทางปฏิบัติในเรื่องต่าง ๆ
ให้สอดคล้องกับนโยบายของสถาบัน กฎหมาย และระเบียบแบบแผน ของทางราชการ โดยไม่ขัดหรือแย้งกับ
ข้อบังคบั น้ี
ข้อ ๓๙ การประกันคุณภาพของหลักสูตร ให้ทุกหลักสูตรกำหนดระบบการประกันคุณภาพ
ของหลกั สูตร ใหเ้ ปน็ ไปตามระบบการประกนั คณุ ภาพหลกั สตู รของสถาบนั

31

บทเฉพาะกาล
ขอ้ ๔๐ ในระยะเร่ิมแรก ให้อธิการบดโี ดยความเห็นชอบของสภาวชิ าการแตง่ ตง้ั ผู้ทรงคุณวุฒภิ ายนอก
ท่ีมีความเชี่ยวชาญด้านการจดั การศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษาและสาขาวิชาท่เี กี่ยวขอ้ งอย่างนอ้ ยสามคนแต่ไม่เกิน
ห้าคน เป็นกรรมการตามข้อ ๕ (๑) และ (๒) ทงั้ นี้ ใหด้ ำรงตำแหน่งไดเ้ พยี งวาระเดียว

ประกาศ ณ วันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
(ลงชื่อ) เกยี รติภูมิ วงศร์ จิต
(นายเกยี รติภูมิ วงศร์ จติ )
ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ
นายกสภาสถาบนั พระบรมราชชนก

32

ข้อบังคบั สถาบันพระบรมราชชนก ว่าด้วยการจัดการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี
ของสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. ๒๕๖๔

ตามทส่ี ถาบนั พระบรมราชชนก ได้ปรับเปล่ยี นสถานะเป็นสถาบนั อดุ มศกึ ษาเฉพาะทางสังกดั กระทรวง
สาธารณสุข จึงเห็นสมควรจัดทำข้อบังคับสถาบันพระบรมราชชนก ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี
ของสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๖๔ เพอื่ ใหก้ ารจดั การศึกษาของสถาบันพระบรมราชชนก
มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบันของการศึกษาที่มีการเปลี่ยนแปลง มุ่งเน้น
ยกระดับการศกึ ษาของสถาบันพระบรมราชชนกใหเ้ ปน็ ท่ยี อมรับมากยง่ิ ขึ้น

อาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๑๙ (๒) ประกอบกับ
มติสภาสถาบันพระบรมราชชนก ในคราวประชุมครั้งที่ ๖/๒๕๖๓ เมื่อวันที่ ๑๗ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
จึงออกขอ้ บังคับ ไวด้ งั น้ี

หมวด ๑
บททั่วไป

ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับสถาบันพระบรมราชชนก ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี
ของสถาบนั พระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๖๔”

ข้อ ๒ ขอ้ บงั คับน้ีใชบ้ งั คบั ตง้ั แตบ่ ดั นี้เป็นตน้ ไป
ข้อ ๓ ในข้อบังคบั น้ี

“สถาบนั ” หมายความวา่ สถาบนั พระบรมราชชนก
“สภาสถาบัน” หมายความว่า สภาสถาบนั พระบรมราชชนก
“สภาวชิ าการ” หมายความว่า สภาวชิ าการสถาบนั พระบรมราชชนก

“ส่วนราชการ” หมายความว่า สำนักงานอธิการบดี คณะ สำนัก และส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
ที่มฐี านะเทยี บเท่าคณะ และใหห้ มายความรวมถงึ วทิ ยาลัยทเี่ ป็นส่วนราชการในสังกัดคณะดว้ ย

“คณะ” หมายความว่า ส่วนราชการที่มีหน้าที่หลักในการผลิตบัณฑิต การจัดการเรียนการสอน

การวจิ ยั การให้บรกิ ารทางวชิ าการ และทะนบุ ำรงุ ศิลปะและวฒั นธรรม

“วิทยาลัย” หมายความว่า ส่วนราชการในสังกัดคณะ มีหน้าที่จัดการเรียนการสอน การวิจัย

การให้บรกิ ารทางวิชาการ และทะนุบำรุงศลิ ปะและวัฒนธรรม

“อธกิ ารบดี” หมายความว่า อธกิ ารบดสี ถาบนั พระบรมราชชนก

33

“คณบดี” หมายความวา่ คณบดีในสถาบันพระบรมราชชนก

“คณะกรรมการประจำคณะ” หมายความวา่ คณะกรรมการประจำคณะในสถาบนั พระบรมราชชนก
“ผู้อํานวยการวิทยาลัย” หมายความว่า ผู้อํานวยการวิทยาลัยในสถาบันพระบรมราชชนก
“การจัดการศึกษา” หมายความว่า การบริหารจัดการการเรียนการสอนในสถาบันพระบรมราชชนก
ท่คี รอบคลมุ ตั้งแต่หมวดท่ี ๑ ถงึ หมวดที่ ๕ และ บทเฉพาะกาล ตามท่กี ำหนดไว้ในข้อบังคับนี้
“อาจารย์ประจำ” หมายความว่า บุคคลที่ดำรงตำแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์
และศาสตราจารย์ ในวทิ ยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรนั้น ที่มหี นา้ ทรี่ ับผดิ ชอบตามพันธกิจของสถาบันพระบรมราชชนก
และปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลา หรือบุคคลท่ีดำรงตำแหน่งด้านการสอนในสถาบันพระบรมราชชนก สำนักงานปลัด
กระทรวงสาธารณสุข ก่อนได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา
“อาจารย์ประจำหลักสูตร” หมายความว่า อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิ ชา
ของหลักสตู รที่เปิดสอน ซ่ึงมหี น้าท่ีสอนและค้นคว้าวจิ ยั ในสาขาวิชาดงั กลา่ ว ท้ังนี้ สามารถเป็นอาจารย์ประจำ
หลักสูตรหลายหลักสูตรได้ในเวลาเดียวกัน แต่ต้องเป็นหลักสูตรที่อาจารย์ผู้นั้นมีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์
กบั สาขาวชิ าของหลักสตู ร ทั้งนี้ ใหม้ ีคณุ สมบัติเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศกึ ษา
“อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร” หมายความวา่ อาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีภาระหนา้ ท่ีในการบริหาร
และพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนตั้งแต่การวางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผล
และการพัฒนาหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องอยู่ประจำหลักสูตรนั้นตลอดระยะเวลา
ที่จัดการศึกษา โดยจะเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่าหนึ่งหลักสูตรในเวลาเดียวกันไม่ได้ ยกเว้น
พหุวทิ ยาการหรือสหวิทยาการให้เป็นอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตรได้อีกหน่งึ หลกั สูตร และอาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลกั สูตรสามารถซ้ำไดไ้ มเ่ กนิ สองคน
“นักศึกษา” หมายความว่า นักศึกษาที่ศึกษาระดับปริญญาตรีในหลักสูตรต่าง ๆ ของคณะในสังกัด
สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสขุ
ข้อ ๔ ผู้อำนวยการวิทยาลัยโดยคำแนะนำของคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยมีอำนาจออกแนวทาง
ปฏิบัติในเรื่องต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับนโยบายของคณะและสถาบัน กฎหมาย และระเบียบแบบแผน
ของทางราชการ โดยไมข่ ัดหรอื แยง้ กับขอ้ บังคับนี้
ข้อ ๕ ให้อธิการบดีมีอำนาจออกประกาศ ระเบียบ หลักเกณฑ์ หรือคำสั่ง เพื่อปฏิบัติให้เป็นไป
ตามขอ้ บังคับนี้
ข้อ ๖ ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับนี้ และมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาเกี่ยวกับ
การปฏิบตั ติ ามข้อบงั คับน้ี

34

หมวด ๒
คณะกรรมการ

ขอ้ ๗ คณะมหี น้าที่หลักในการผลิตบัณฑติ การจดั การเรียนการสอน การวจิ ัย การใหบ้ รกิ ารทางวิชาการ
และทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยคณะกรรมการประจำคณะตามข้อบังคับสถาบันพระบรมราชชนก
ว่าด้วย คณะกรรมการประจำคณะ พ.ศ. ๒๕๖๒

ข้อ ๘ ให้มีคณะกรรมการระดับวิทยาลัย ทำหน้าที่ในการบริหารการจัดการศึกษาของวิทยาลัย
ในสังกดั สถาบันพระบรมราชชนก ประกอบดว้ ย

(๑) คณะกรรมการบริหารวิทยาลัย เสนอต่อคณบดี โดยความเห็นชอบจากผู้อำนวยการ
วทิ ยาลัย เพอ่ื แตง่ ตงั้ ประกอบดว้ ย

(ก) ผู้อำนวยการวทิ ยาลยั เปน็ ประธานคณะกรรมการ
(ข) กรรมการโดยคัดเลือกจากผู้มีตำแหน่งทางการบริหารในวิทยาลัย ได้แก่ รองผู้อำนวยการ
วทิ ยาลยั ประธานหลกั สตู ร หวั หน้าสาขาวชิ า และหัวหนา้ ฝา่ ยหรอื หัวหนา้ งานตามหลักเกณฑท์ ีว่ ิทยาลยั กำหนด
ไม่เกินสิบหา้ คน
(ค) กรรมการที่เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข พนักงาน
สถาบันพระบรมราชชนก และลกู จ้างของวิทยาลัยที่ปฏิบัตหิ น้าที่เป็นอาจารย์ประจำ ตามหลักเกณฑ์ท่ีวิทยาลัย
กำหนดไม่เกนิ สามคน โดยมาจากกระบวนการสรรหาทอี่ าจารยข์ องวทิ ยาลยั มสี ว่ นรว่ ม
(ง) กรรมการที่เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข พนักงาน
สถาบันพระบรมราชชนก และลูกจ้างของวิทยาลัยที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นบุคลากรสายสนับสนุน ตามจำนวน
ทวี่ ทิ ยาลยั กำหนด โดยมาจากกระบวนการสรรหาทบ่ี คุ ลากรสายสนบั สนนุ ของวทิ ยาลยั มสี ว่ นร่วม
โดยให้ประธานกรรมการแต่งต้ังกรรมการเป็นเลขานุการ และผชู้ ่วยเลขานุการ ตำแหน่งละหนึ่งคน
(๒) คณะกรรมการบริหารหลักสูตร เสนอต่อคณบดี โดยความเห็นชอบจากผู้อำนวยการ
วทิ ยาลัยเพื่อแตง่ ต้ัง ประกอบด้วย
(ก) รองผอู้ ำนวยการวทิ ยาลัยท่ีรับผดิ ชอบการจัดการศึกษา เปน็ ประธานคณะกรรมการ
(ข) ประธานหลกั สตู ร หวั หนา้ สาขาวิชา หวั หน้าภาควิชาหรอื ตำแหน่งเทียบเทา่ เปน็ กรรมการ
(ค) หัวหนา้ งานที่รับผดิ ชอบการวดั และประเมินผล เปน็ กรรมการ
(ง) อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สูตร เป็นกรรมการ
(จ) อ่นื ๆ ตามทว่ี ทิ ยาลยั กำหนด
โดยใหป้ ระธานกรรมการแต่งตัง้ กรรมการเปน็ เลขานุการ และผชู้ ว่ ยเลขานุการ ตำแหนง่ ละหนึ่งคน

ขอ้ ๙ คณะกรรมการ ตามข้อ ๘ มีหนา้ ท่ี ดงั นี้
(๑) คณะกรรมการบริหารวทิ ยาลัย มีหน้าที่
(ก) ให้คำแนะนำหรือความเห็นต่อผู้อำนวยการวิทยาลัยเกี่ยวกับนโยบายในการดำเนินงาน

ตามพนั ธกิจของวิทยาลัย และนโยบายอื่น ๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง

35

(ข) ให้คำแนะนำหรือความเห็นต่อผู้อำนวยการวิทยาลัยในการออกระเบียบ ข้อบังคับ
หลักเกณฑ์ หรือแนวทางปฏิบัติในเรื่องต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับนโยบาย กฎหมาย และระเบียบแบบแผน
ของทางราชการ

(ค) จัดทำแผนกลยุทธ์ แผนการดำเนินงาน และแผนปฏิบัติงานประจำปี รวมทั้งคำขอ
งบประมาณของวิทยาลัย เสนอคณะกรรมการประจำคณะ เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ และกำกับติดตาม
การดำเนนิ งานตามทีก่ ำหนด

(ง) ให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการปฏิบัติในการบริหารงานบุคคล
และสง่ เสรมิ สนับสนนุ การบรหิ ารงานบคุ คลอยา่ งมีธรรมาภิบาล

(จ) สนับสนุน และกำกบั ติดตามการประกันคุณภาพการศกึ ษาของวิทยาลยั
(ฉ) ให้ความเหน็ ชอบในการตัดสนิ การประเมนิ ผลการศึกษาตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับน้ี
(ช) เสนอรายชื่อผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนที่จะสำเร็จการศึกษา ต่อคณะกรรมการประจำคณะ
เพ่อื พจิ ารณากล่นั กรองการสำเรจ็ การศึกษาตามที่หลกั สูตรกำหนด

(ซ) หน้าที่อื่น ๆ ตามที่ได้กำหนดไว้ในข้อบังคับนี้ หรือตามที่วิทยาลัย ขอคำแนะนำ หรือ
ความคดิ เหน็

(๒) คณะกรรมการบริหารหลักสูตร มหี นา้ ที่
(ก) วางแผนการบรหิ ารหลกั สตู ร
(ข) ควบคุม กำกับ ติดตามการดำเนินงานตามแผนของหลักสูตร ให้เป็นไปตามการประกัน

คณุ ภาพการศึกษาภายในระดับหลกั สตู ร
(ค) ตดิ ตามผลการใช้หลกั สูตรและนำผลการประเมนิ มาพฒั นาหลักสูตร และการเรยี นการสอน
(ง) อื่น ๆ ตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย

ขอ้ ๑๐ คณะกรรมการตามข้อ ๘ มวี าระ ดังน้ี

(๑) คณะกรรมการบริหารวิทยาลัย มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี ทั้งนี้หากผู้อำนวยการ
วิทยาลยั พ้นจากตำแหน่ง ให้คณะกรรมการบริหารวิทยาลัยพ้นจากตำแหน่งด้วย

(๒) คณะกรรมการบริหารหลักสูตร มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละห้าปี ตามวงรอบการปรับปรุง
หลักสูตร ท้ังน้ี หากมีการปรบั ปรุงหลกั สูตรอาจพจิ ารณาแต่งตง้ั คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรชดุ ใหม่ได้

ข้อ ๑๑ นอกจากพ้นตำแหน่งตามวาระ คณะกรรมการตามขอ้ ๘ พ้นจากตำแหนง่ เมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) พ้นจากตำแหน่งในหนา้ ทที่ ีต่ นดำรงตำแหน่งตามข้อ ๘
(๔) เปน็ บคุ คลลม้ ละลาย
(๕) เปน็ บุคคลไร้ความสามารถหรือคนเสมอื นไรค้ วามสามารถ
(๖) ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษที่เป็นความผิดที่กระทำ

โดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ

36

ข้อ ๑๒ ในกรณีที่กรรมการพ้นตำแหน่งก่อนวาระ หรือในกรณีที่มีการแต่งตั้งกรรมการในระหว่าง
ที่กรรมการซึ่งแต่งต้ังไว้แล้วยังมีวาระอยู่ในตำแหนง่ ไม่วา่ จะเป็นการแต่งตัง้ เพิม่ ขึ้นหรือแต่งตั้งซ่อม ให้ผู้ที่ได้รบั
แต่งต้งั น้ัน อยใู่ นตำแหนง่ เทา่ กับวาระทเี่ หลืออยู่ของกรรมการที่ได้รับแต่งตัง้ ไว้แล้วน้นั

ข้อ ๑๓ การประชุมของคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน
กรรมการทั้งหมด จึงเป็นองค์ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้สำหรับ
การประชุมของคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย ให้มอบหมายรองผู้อำนวยการวิทยาลัยผู้ใดผู้หนึ่งทำหน้าที่
เป็นประธานในที่ประชุม และคณะกรรมการบริหารหลักสูตรให้กรรมการในที่ประชุมเลือกกรรมการคนหน่ึง
เปน็ ประธานในที่ประชุม

การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุม ให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งเสียง
ในการลงคะแนน ถา้ คะแนนเสยี งเท่ากันใหป้ ระธานในทปี่ ระชมุ ออกเสียงเพิม่ ขึ้นอีกหนึ่งเสยี งเปน็ เสียงช้ขี าด

หมวด ๓
ระบบการศกึ ษา

ขอ้ ๑๔ ระบบการศึกษา
(๑) ระบบการจัดการศึกษา ใช้ระบบทวิภาค โดย ๑ ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติ

ซึ่ง ๑ ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ หรืออาจมีการศึกษาภาคฤดูร้อน สำหรับ
การศึกษาภาคฤดูร้อนให้กำหนดระยะเวลาการศึกษาและจำนวนหน่วยกิตโดยมีสัดส่วนเทียบเคียงกันได้กับ
ภาคการศึกษาปกติ

(๒) หลักเกณฑ์การกำหนดหนว่ ยกิตแต่ละรายวิชา มีดงั น้ี
(ก) วิชาภาคทฤษฎีที่ใช้บรรยายหรืออภิปรายปัญหา ไม่น้อยกว่า ๑๕ ชั่วโมงต่อ

ภาคการศกึ ษาปกติ มคี ่าเทา่ กบั ๑ หนว่ ยกิต
(ข) รายวิชาภาคปฏิบัติที่ใช้เวลาฝึกปฏิบัติหรือทดลองไม่น้อยกว่า ๓๐ ชั่วโมงต่อ

ภาคการศึกษาปกติ มคี ่าเทา่ กับ ๑ หนว่ ยกติ
(ค) การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนามทใี่ ชเ้ วลาฝึกไมน่ ้อยกวา่ ๔๕ ช่วั โมงต่อภาคการศึกษา

ปกติ มคี า่ เทา่ กับ ๑ หน่วยกิต
(ง) การทำโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายที่ใช้เวลาทำ

โครงงานหรือกจิ กรรมน้นั ๆ ไมน่ ้อยกวา่ ๔๕ ชัว่ โมงต่อภาคการศกึ ษาปกติ มคี า่ เทา่ กบั ๑ หนว่ ยกติ
(จ) จำนวนหน่วยกิตและระยะเวลาการศึกษา
๑) หลักสูตรปริญญาตรี (๔ ปี) ให้มีจำนวนหน่วยกิตรวม ไม่น้อยกว่า ๑๒๐ หน่วยกิต

หรือตามเกณฑ์ที่สภาวิชาชีพกำหนด ใช้เวลาการศึกษาไม่เกิน ๘ ปีการศึกษา สำหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา
และไมเ่ กนิ ๑๒ ปกี ารศึกษา สำหรบั การลงทะเบยี นเรียนไม่เต็มเวลา

37

๒) หลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) ให้มีจำนวนหน่วยกิตรวมไม่นอ้ ยกว่า ๗๒ หน่วยกิต
หรือตามเกณฑ์ที่สภาวิชาชีพกำหนด ใช้เวลาการศึกษาไม่เกิน ๔ ปีการศึกษา สำหรับการลงทะเบียนเรียน
เตม็ เวลา และไมเ่ กิน ๖ ปกี ารศึกษา สำหรับการลงทะเบยี นเรียนไม่เต็มเวลา

ทั้งนี้ ให้นับเวลาการศึกษาจากวันที่เปิดภาคการศึกษาแรก ที่ลงทะเบียนเข้าศึกษา
ในหลักสตู รนน้ั

ข้อ ๑๕ การรับสมคั รบุคคลเขา้ ศกึ ษาทกุ หลักสตู ร ใหเ้ ปน็ ไปตามประกาศของสถาบัน

ขอ้ ๑๖ คณุ สมบตั ผิ ูเ้ ข้าศึกษา
(๑) จะต้องเป็นผทู้ ่ีสำเรจ็ การศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทยี บเท่า
(๒) เป็นผู้ที่มีสุขภาพร่างกายและจิตใจสมบูรณ์ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม ไม่มีความพิการ

หรอื ผิดปกติทางด้านรา่ งกายและจติ ใจ อันเป็นอปุ สรรคตอ่ การศกึ ษา และการประกอบวชิ าชพี
(๓) เป็นผู้ท่มี ีคณุ สมบตั ิอน่ื ตามเกณฑค์ ณุ สมบตั ิผู้เข้าศึกษาทกี่ ำหนดไวใ้ นหลักสตู ร หรอื ตามประกาศ

ของสถาบนั

ข้อ ๑๗ การลงทะเบียน ดังนี้
(๑) การลงทะเบียนเรียนเต็มเวลาให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่น้อยกว่า ๙ หน่วยกิต และไม่เกิน

๒๒ หน่วยกิต ในแต่ละภาคการศึกษาปกติ สำหรับการลงทะเบียนเรียนภาคฤดูร้อน ให้ลงทะเบียนเรียนได้
ไม่เกนิ ๙ หน่วยกิต

ในกรณีที่มีเหตุผลและความจำเป็น การลงทะเบียนเรียนที่มีจำนวนหน่วยกิตแตกต่างไป
จากเกณฑ์ข้างต้นก็อาจทำได้ แต่ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อมาตรฐานและคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้ต้องเรียน
ให้ครบตามจำนวนหนว่ ยกติ ที่ระบุไว้ในหลกั สูตร โดยไดร้ ับอนมุ ตั จิ ากคณบดีผ่านความเห็นชอบของผู้อำนวยการ
วิทยาลัย

(๒) การลงทะเบียนเรียน จะสำเรจ็ การศึกษาได้ ดงั นี้
หลักสูตรปริญญาตรี (๔ ปี) สำเร็จการศึกษาได้ไม่ก่อน ๖ ภาคการศึกษาปกติ สำหรับ

การลงทะเบียนเรยี นเตม็ เวลา และไม่กอ่ น ๑๔ ภาคการศึกษาปกติ สำหรับการลงทะเบียนเรยี นไม่เตม็ เวลา
หลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) สำเร็จการศึกษาได้ไม่ก่อน ๔ ภาคการศึกษาปกติ สำหรับ

การลงทะเบยี นเรียนเต็มเวลา และไมก่ ่อน ๘ ภาคการศกึ ษาปกติ สำหรบั การลงทะเบียนเรียนไม่เตม็ เวลา
(๓) การลงทะเบียนเรียนรายวิชา ในกรณีที่ไม่ขอรับผลการประเมินเป็นลำดับขั้น ให้กระทำ

โดยการยื่นคำร้องต่อวิทยาลัยในหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการลงทะเบียน พร้อมทั้งได้รับการอนุมัติจาก
ผอู้ ำนวยการวทิ ยาลัย โดยผ่านความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ทง้ั น้ี จำนวนหน่วยกิตท้ังหมด
จะตอ้ งไมเ่ กนิ จำนวนที่ระบุไว้ในข้อ (๑)

(๔) การลงทะเบียนและการชำระค่าธรรมเนียมการศึกษา อัตราการจัดเก็บค่าธรรมเนียม
การศึกษา ให้เปน็ ไปตามทีส่ ถาบนั กำหนด

38

ขอ้ ๑๘ ระบบการประเมนิ ผลการศึกษา

(๑) นักศึกษาจะเข้าสอบในรายวิชาใดต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียน
ทั้งหมดของรายวชิ านัน้ ในกรณีทน่ี ักศกึ ษามีเวลาเรียนต่ำกวา่ น้ี ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ จิ ของคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย

(๒) ระบบการให้คะแนนของแต่ละรายวชิ า ให้ใช้ระบบตัวอักษร (Letter Grade) แสดงระดบั
คะแนน (Grade) ซึ่งมคี วามหมายและค่าระดบั คะแนน ดังน้ี

ความหมาย คา่ ระดบั คะแนน

A ดเี ยย่ี ม (Excellent) ๔.๐๐

B+ ดมี าก (Very Good) ๓.๕๐

B ดี (Good) ๓.๐๐

C+ ค่อนข้างดี (Fairy Good) ๒.๕๐

C พอใช้ (Fair) ๒.๐๐

D+ อ่อน (Poor) ๑.๕๐

D ออ่ นมาก (Very Poor) ๑.๐๐

F ตก (Fail) ๐

S พงึ พอใจ (Satisfactory) -

U ไมพ่ ึงพอใจ (Unsatisfactory) -

I ยังไม่สมบูรณ์ (Incomplete) -

P การศึกษายงั ไม่สิ้นสดุ (In Progress) -

E มเี งอื่ นไข (Condition)

W การถอนรายวชิ า (Withdrawn) -

X ไมร่ ายงานผล (No Report) -

AU ร่วมฟังบรรยาย (Audit) -

NC การศึกษาโดยไมน่ ับหนว่ ยกิต

(Non-credit)

CP เทียบโอนหน่วยกิต (Credit Pass) -

(๓) การตัดสินผลการศกึ ษา มหี ลักเกณฑต์ อ่ ไปนี้

(ก) ผลการเรียนในหมวดวิชาชีพไม่ต่ำกว่าระดบั คะแนน C และในหมวดวิชาอืน่ ๆ ไม่ต่ำกว่า

ระดับคะแนน D

(ข) กรณีผลการเรียนรายวิชาไม่ผ่านเกณฑ์ประเมินผล หลังสอบแก้ตัวผ่านให้ได้รับ

การพิจารณาผลการเรียนในหมวดวิชาชพี ไมส่ ูงกว่าระดับคะแนน C ในหมวดวชิ าอ่นื ๆ ไมส่ ูงกว่าระดับคะแนน D

39

(๔) การให้ระดบั คะแนน F กระทำได้ในกรณีต่อไปน้ี
(ก) เข้าสอบและไดผ้ ลการสอบและหรือมีผลงานทีป่ ระเมนิ ผลว่าไมผ่ ่านเกณฑ์
(ข) ขาดสอบโดยไม่มีเหตุผลอนั ควรและไม่ได้รับอนุญาตจากผู้อำนวยการวิทยาลัยหรือผู้ที่

ได้รับมอบหมาย
(ค) ทำผิดระเบียบการสอบและคณะกรรมการบริหารวิทยาลยั หรอื คณะกรรมการอนื่ ท่ีได้รับ

มอบหมายตัดสินให้ตก
(ง) เปลี่ยนจากระดับคะแนน I หรือ E เป็นระดับคะแนนไม่ได้ภายใน ๔ สัปดาห์หลังสิ้นสุด

ภาคการศกึ ษานัน้
(จ) กรณที ี่ไดร้ ะดบั คะแนน E สอบแกต้ วั ๒ คร้งั แลว้ ไม่ผา่ น

(๕) การให้ระดับคะแนน S และ U ใช้เฉพาะบางรายวิชาที่กำหนดไว้ในรายละเอียด
ของหลักสตู รและประเมนิ ผลดว้ ยอกั ษร S และ U ไม่มกี ารประเมินผลเปน็ คา่ ระดบั คะแนน

(๖) การใหร้ ะดับคะแนน I กระทำไดใ้ นกรณีตอ่ ไปนี้
(ก) ปว่ ยจนไม่สามารถเขา้ สอบได้ และได้ปฏบิ ัติตามข้อ ๒๘ และ ขอ้ ๒๙ ในขอ้ บังคบั น้ี
(ข) ขาดสอบโดยเหตุสุดวสิ ัย ซึ่งมหี ลักฐานที่เชื่อถือได้ และได้รบั อนญุ าตจากผู้อำนวยการ

วิทยาลยั หรือผทู้ ่ไี ด้รบั มอบหมาย
(ค) ทำงานหรือปฏิบัติงานที่เป็นส่วนประกอบของการศึกษายังไม่สมบูรณ์ และอาจารย์

ผู้สอนเห็นสมควรให้รอผลการศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารวิทยาลยั หรือคณะกรรมการ
อื่นทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย

(ง) การให้ระดับคะแนน I ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ผู้สอนและการอนุมัติ
จากผู้อำนวยการวิทยาลัย นักศึกษาจะต้องดำเนินการขอรับการวัดและประเมินผลเพื่อแก้ระดับคะแนน I
ให้สมบูรณ์ภายใน ๔ สัปดาห์ หลังสิ้นสุดภาคการศึกษานั้น หากพ้นกำหนดดังกล่าว วิทยาลัยจะเปลี่ยนอักษร I
เปน็ ระดับคะแนน F หรือ U

(๗) การให้ระดับคะแนน P กระทำได้กรณีที่รายวิชานั้นยังมีการเรียนการสอนต่อเนื่องอยู่
และไม่มีการวัดและประเมินผลภายในภาคการศึกษาที่ลงทะเบียน ทั้งนี้ให้ใช้เฉพาะบางรายวิชาที่กำหนดไว้
ในรายละเอียดของหลักสูตร อักษร P จะเปลี่ยนก็ต่อเมื่อมีการวัดและประเมินผล ภายในระยะเวลาไม่เกิน
วันสุดท้ายของการสอบปลายภาคของปีการศึกษาถัดไป หากพ้นกำหนดระยะเวลาดังกล่าว วิทยาลัยจะเปล่ยี น
อกั ษร P เปน็ ระดบั ข้ัน F หรืออักษร U

(๘) การให้ระดับคะแนน E กระทำได้ในกรณตี ่อไปน้ี
(ก) ผลการสอบของแต่ละรายวิชาท่ีคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยหรือคณะกรรมการอ่นื

ที่ได้รบั มอบหมาย พิจารณาเหน็ วา่ ยงั ไม่สมควรให้ตก ควรใหโ้ อกาสแก้ตวั
(ข) การเปลยี่ นระดบั คะแนน E สามารถสอบแก้ตวั ได้ ๒ คร้งั และเปลยี่ นระดับคะแนนได้

ไม่เกินระดับคะแนน C ในหมวดวิชาชีพและไม่เกินระดับคะแนน D ในหมวดวิชาอ่ืน ๆ ทั้งนี้จะต้องกระทำ
ให้เสรจ็ สนิ้ ภายใน ๔ สปั ดาห์ หลังสนิ้ สุดภาคการศึกษานนั้

40

(๙) การให้ระดับคะแนน W กระทำได้กรณีตอ่ ไปนี้

(ก) นกั ศึกษาได้ถอนรายวชิ าทลี่ งทะเบยี นตามเง่ือนไขการลงทะเบียน

(ข) นกั ศึกษาลงทะเบยี นผิดเงื่อนไขและเป็นโมฆะ

(ค) นกั ศกึ ษาถกู สง่ั พักการศึกษาในภาคการศึกษาน้ัน
(๑๐) การคำนวณคะแนนเฉลี่ย (Grade Point Average, GPA) กระทำเมื่อสิ้นสุดแต่ละ
ภาคการศึกษา โดยมวี ธิ คี ิดดังนี้

(ก) ให้เอาผลรวมทั้งหมดของผลคูณระหว่างค่าระดับคะแนนกับจำนวนหน่วยกิต
แต่ละรายวิชาที่มีการประเมินผลเป็นค่าคะแนนเป็นตัวตั้ง หารด้วยผลรวมของจำนวนหน่วยกิตในแต่ละ
ภาคการศึกษา

(ข) การคำนวณคะแนนเฉลี่ย ให้ตั้งหารถึงจุดทศนิยม ๓ ตำแหน่ง และให้ปัดเศษทศนิยม
ท่ีมีคา่ ตั้งแต่ ๕ ขึ้นไป เพ่อื ใหเ้ หลือทศนิยม ๒ ตำแหนง่

(๑๑) การคำนวณคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade Point Average, CGPA) กระทำเม่ือ
เรียนจบตลอดหลักสตู รโดยมีวิธคี ดิ ดังน้ี

(ก) ให้เอาผลรวมทั้งหมดของผลคูณระหว่างค่าระดับคะแนนกับจำนวนหน่วยกิต
แต่ละรายวิชาที่มีการประเมนิ ผลเปน็ คา่ คะแนนเป็นตัวตัง้ หารด้วยจำนวนหน่วยกิตสะสม

(ข) การคำนวณคะแนนเฉลี่ยสะสม ให้ตั้งหารถึงทศนิยม ๓ ตำแหน่ง และให้ปัดเศษ
ทศนิยมทม่ี คี ่าตงั้ แต่ ๕ ขึน้ ไป เพ่อื ให้เหลอื ทศนยิ ม ๒ ตำแหน่ง

(ค) การนับจำนวนหนว่ ยกิตสะสมเพือ่ ให้ครบหลักสูตร ให้นับเฉพาะหน่วยกิตของรายวิชา
ทสี่ อบได้เท่าน้นั

(ง) กรณีที่เรียนซ้ำในรายวิชาใด ให้ใช้ระดับคะแนนที่ได้ครั้งสุดท้าย มาคำนวณคะแนน
เฉลีย่ สะสม

(จ) ระดบั คะแนน S U I P และ W จะไมน่ ำมาคำนวณคะแนนเฉลี่ยสะสม
(๑๒) การลงทะเบยี นเรยี นซำ้ รายวิชา แบง่ ได้ ๒ กรณี

(ก) กรณีได้ระดับคะแนน F ให้ลงทะเบียนเรียนใหม่ (Repeat) ได้ไม่เกิน ๑ ครั้ง
หากนักศึกษาไม่ผ่านและคะแนนเฉลี่ยรวมเกิน ๒.๐๐ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหาร
วิทยาลยั หรือคณะกรรมการอ่นื ท่ไี ด้รบั มอบหมาย

(ข) กรณีปรับระดับคะแนนให้สูงขึ้น (Regrade) ให้ลงทะเบียนเรียนได้ในรายวิชา
ที่ได้คะแนนตั้งแต่ระดับคะแนน C ลงมาได้ไม่เกิน ๑ ครั้ง โดยต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
บรหิ ารวิทยาลัย หรอื คณะกรรมการอืน่ ที่ไดร้ ับมอบหมาย

(๑๓) การเลื่อนชน้ั กระทำไดใ้ นกรณีต่อไปน้ี
(ก) ตอ้ งสอบได้ทุกวิชาในปกี ารศกึ ษาน้ัน ๆ และ
(ข) คะแนนเฉลยี่ สะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๐๐

41

(๑๔) การทำเงือ่ นไขในการเลื่อนชั้นมหี ลักเกณฑ์ดงั ต่อไปน้ี
(ก) ผลการเรยี นบางวชิ าได้ระดับคะแนน F แต่คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกวา่ ๒.๐๐
(ข) คะแนนเฉลีย่ สะสมไมต่ ำ่ กวา่ ๑.๙๕
(ค) คะแนนเฉลี่ยสะสม ๒ ปีการศึกษา ที่อยู่ระหว่างการทำเงื่อนไขจะต้องไม่ต่ำกว่า ๒.๐๐

จึงจะเล่อื นชัน้ ได้ มฉิ ะน้นั จะต้องเรียนซ้ำชัน้ ในปที ่อี ยู่ระหว่างการทำเงือ่ นไข
(๑๕) การเรยี นซำ้ ชัน้ กระทำไดใ้ นกรณตี อ่ ไปน้ี
(ก) คะแนนเฉลย่ี สะสมตำ่ กว่า ๒.๐๐ ยกเว้นกรณที ี่ทำเง่ือนไข
(ข) การเรียนซ้ำชั้นให้เลือกเรียนซ้ำเฉพาะในรายวิชาที่ได้ระดับคะแนนต่ำกว่า B

ในหมวดวชิ าชพี และต่ำกว่าระดบั คะแนน C ในหมวดวิชาอื่น ๆ
(ค) ในการเรียนซ้ำชัน้ แตล่ ะชัน้ ปี ซ้ำช้นั ได้ไมเ่ กนิ ๑ ปกี ารศึกษา

(๑๖) การเลื่อนชั้น การทำเงื่อนไข การเรียนซ้ำชั้นและการลงทะเบียนเรียนเพื่อปรับระดับ
คะแนนต้องไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารวทิ ยาลยั

ข้อ ๑๙ การรับโอนยา้ ยนักศึกษา ใหเ้ ปน็ ไปตามประกาศของสถาบนั

ขอ้ ๒๐ การสำเร็จการศกึ ษา ผู้สำเร็จการศกึ ษาตอ้ งมคี ุณสมบตั ิ ดังนี้
(๑) คะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ตำ่ กว่า ๒.๐๐
(๒) จำนวนปีท่เี รยี นไมเ่ กินระยะเวลาท่ีเกณฑม์ าตรฐานหลักสูตรกำหนด
(๓) สอบไดจ้ ำนวนหน่วยกิตครบตามหลกั สตู ร
(๔) ผ่านการสอบความรู้รวบยอดตามเกณฑ์การวัดและประเมินผลการศึกษาของสถาบัน

พระบรมราชชนก
(๕) ผา่ นเกณฑ์ภาษาอังกฤษ ตามประกาศของสถาบัน

(๖) ต้องชำระค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการศกึ ษาครบตามทก่ี ำหนด

ข้อ ๒๑ การให้ปริญญาเกียรตินิยม ผู้สำเร็จการศึกษาที่จะได้รับปริญญาเกียรตินิยมต้องอยู่ในเกณฑ์
ต่อไปน้ี

(๑) เปน็ ผู้สำเร็จการศกึ ษาในหลกั สูตร ท่ไี ม่ได้เปน็ หลักสูตรต่อเนือ่ งหรือหลักสตู รเฉพาะกิจ
(๒) เป็นผมู้ ีความประพฤติดี และไม่เคยถกู ลงโทษทางวินัย
(๓) เป็นผู้ที่ไม่เคยได้ระดับคะแนน F U หรือลงทะเบียนเรียนซ้ำในรายวชิ าใดวิชาหนึ่งตลอด
หลักสตู ร และทกุ รายวิชาไม่เคยไดร้ บั ผลการเรียนตำ่ กวา่ ระดับ C
(๔) มีระยะเวลาการศึกษาไม่เกินกว่าแผนการศึกษาปกติที่หลักสูตรกำหนด ทั้งนี้ ไม่นับรวม
ภาคการศึกษาที่ได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษากรณีที่ป่วย หรือถูกเกณฑ์หรือระดมเข้ารับราชการทหาร
กองประจำการ หรือได้รับทุนต่าง ๆ หรือไปศึกษารายวิชา หรือฝึกอบรมจากสถาบันอุดมศึกษาอื่น ซึ่งคณะ
พจิ ารณาเหน็ ว่าเปน็ ประโยชนก์ บั นักศึกษา หรอื ความจำเป็นอื่น ๆ ทคี่ ณะกรรมการประจำคณะเห็นชอบ

42

(๕) ผู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร ๓.๖๐ ขึ้นไป ได้รับปริญญาเกียรตินิยมอันดับ ๑
และผูท้ ่ที ำคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลกั สตู ร ตัง้ แต่ ๓.๒๕ ถึง ๓.๕๙ ได้รับปริญญาเกียรตินิยมอันดบั ๒

(๖) ในกรณีนักศึกษาเทียบโอนรายวชิ าในหลักสูตรจากสถาบันการศึกษาอ่ืนจะต้องศกึ ษา
รายวิชาในหลกั สูตรของสถาบันพระบรมราชชนกไมน่ ้อยกว่าสามในส่ขี องจำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร

ขอ้ ๒๒ สถาบนั อาจกำหนดคุณสมบัติของผสู้ ำเรจ็ การศึกษา ท่สี มควรได้รบั ปริญญาเกยี รตินิยม
เพม่ิ เติม นอกเหนือจากท่กี ำหนดไว้ โดยได้รับความเหน็ ชอบจากสภาสถาบนั

ข้อ ๒๓ ผู้ที่ได้รับเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง และมีคะแนนเฉลี่ยสะสมสูงสุดในแต่ละหลักสูตร ให้ได้รับ
รางวัลเหรยี ญทอง

หากคะแนนเฉลยี่ สะสมเท่ากัน ใหพ้ ิจารณาคะแนนเฉลี่ยสะสมเทียบถึงทศนิยมตำแหน่งที่สาม
เป็นผู้ได้รับรางวัลเหรียญทอง และหากเท่ากันอีกให้เทียบคะแนนเฉลี่ยสะสมของหมวดวิชาชีพ เป็นผู้ได้รับ
รางวัลเหรยี ญทอง

หมวด ๔
การพน้ สภาพการเปน็ นกั ศกึ ษา

ข้อ ๒๔ การพน้ สภาพการเป็นนกั ศกึ ษากระทำได้ในกรณีต่อไปนี้
(๑) สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
(๒) ไดร้ บั อนุมัติใหล้ าออก
(๓) ไม่ผ่านเกณฑก์ ารวดั และประเมินผล ในกรณตี ่อไปนี้
(ก) คะแนนเฉลย่ี สะสมเม่ือส้ินภาคการศึกษาท่ี ๒ ของช้ันปีท่ี ๑ ต่ำกว่า ๑.๗๕
(ข) จำนวนปที ่ีเรียนเกนิ กว่าระยะเวลาท่ีเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรกำหนด และแต่ละช้นั ปี

ซำ้ ช้ันได้ไม่เกิน ๑ คร้ัง
(ค) ไมส่ ามารถแกร้ ะดบั คะแนนใหเ้ ปน็ C ในหมวดวิชาชีพ และ D ในหมวดวิชาอนื่ ๆ ได้
(ง) กรณีที่ซำ้ ชน้ั มาแล้ว และคะแนนเฉลย่ี สะสมไมถ่ งึ ๒.๐๐ ใหพ้ ้นสภาพการเปน็ นกั ศกึ ษา

(๔) ไม่ชำระค่ารักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา ในระหว่างที่ได้รับอนุญาตให้ลาพักการศึกษา
ตามระเบยี บ หรือประกาศของสถาบัน

(๕) ไม่ชำระคา่ ใช้จา่ ยในการศกึ ษาตามประกาศของสถาบนั
(๖) ถูกพพิ ากษาถึงที่สดุ ใหจ้ ำคุกในคดีอาญา เวน้ แต่ความผดิ โดยประมาทหรอื ความผดิ ลหุโทษ
(๗) เหตุสุดวิสัยหรือป่วยเรื้อรัง และแพทย์ที่คณะกรรมการบริหารวิทยาลัยกำหนด
ได้ลงความเห็นวา่ ไมส่ ามารถศึกษาต่อได้
(๘) กระทำความผดิ ทางวนิ ยั และไดร้ บั การพิจารณาโทษให้พน้ สภาพการเปน็ นักศึกษา
(๙) ตาย

43


Click to View FlipBook Version