The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กระชาย มีอยู่ด้วยกัน 3 ชนิด คือ กระชายดำ กระชายแดง และกระชายเหลือง (แต่ในบทความนี้เราจะพูดกันถึงกระชายเหลืองครับ) โดยกระชายเป็นพืชสมุนไพรที่คนไทยต่างรู้จักกันเป็นอย่างดี สามารถนำมาปรุงเป็นอาหารได้หลากหลายเมนู โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการนำมาใช้เป็นส่วนผสมสำคัญในแกงป่า หรือผัดต่าง ๆ โดยส่วนที่นิยมนำมาใช้ประกอบอาหารกันมากที่สุดคือ รากสะสมอาหาร หรือที่เรียกว่า "นมกระชาย" ซึ่งรากกระชายนี้จะมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว สามารถใช้เป็นผักจิ้มได้โดยตรง แต่คนส่วนใหญ่มักจะนิยมนำมาใช้เป็นเครื่องแกงซะมากกว่า เพราะมีคุณสมบัติในการช่วยดับกลิ่นคาวของเนื้อสัตว์เนื้อปลาได้เป็นอย่างดี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สมุนไพรพื้นบ้าน “กระชายขาว/เหลือง”

กระชาย มีอยู่ด้วยกัน 3 ชนิด คือ กระชายดำ กระชายแดง และกระชายเหลือง (แต่ในบทความนี้เราจะพูดกันถึงกระชายเหลืองครับ) โดยกระชายเป็นพืชสมุนไพรที่คนไทยต่างรู้จักกันเป็นอย่างดี สามารถนำมาปรุงเป็นอาหารได้หลากหลายเมนู โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการนำมาใช้เป็นส่วนผสมสำคัญในแกงป่า หรือผัดต่าง ๆ โดยส่วนที่นิยมนำมาใช้ประกอบอาหารกันมากที่สุดคือ รากสะสมอาหาร หรือที่เรียกว่า "นมกระชาย" ซึ่งรากกระชายนี้จะมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว สามารถใช้เป็นผักจิ้มได้โดยตรง แต่คนส่วนใหญ่มักจะนิยมนำมาใช้เป็นเครื่องแกงซะมากกว่า เพราะมีคุณสมบัติในการช่วยดับกลิ่นคาวของเนื้อสัตว์เนื้อปลาได้เป็นอย่างดี

Keywords: กระชายขาว/เหลือง

สมุนไพรพน้ื บ้าน “กระชายขาว/เหลอื ง”

“กศน.ห่วงใย ร่วมตา้ นภัยโควิด-19”

ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอรตั ภมู ิ
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอรัตภมู ิ
สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวัดสงขลา

สานกั ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธิการ

ชื่อเคร่ืองยา : กระชายขาว/เหลือง
ชื่อสามญั : Fingerroot, Chinese ginger, Chinese keys, Galingale
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Boesenbergia rotunda (L.) Mansf. จดั อยใู่ นวงศข์ ิง (ZINGIBERACEAE)
ช่ือทอ้ งถิ่นอ่ืน : วา่ นพระอาทิตย์ (กรุงเทพมหานคร), กระชายดา กะแอน ขิงทราย (มหาสารคาม),
จี๊ปู ซีฟู เปาซอเร๊าะ เป๊ าส่ี เป๊ าะส่ี ระแอน เป๊ าะซอเร้าะ (กะเหร่ียง-แมฮ่ อ่ งสอน),
ละแอน (ภาคเหนือ), ขิงจีน

ลกั ษณะของกระชายเหลอื ง

 ต้นกระชาย มีถิ่นกาเนิดในเขตร้อนบริเวณเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ โดยจดั เป็นไมล้ ม้ ลุก มีเหงา้ ส้ัน
แตกหน่อได้ มีรากอวบ เป็ นรูปทรงกระบอกหรือรูปทรงไข่ค่อนขา้ งยาว ปลายเรียว มีความยาวประมาณ
4-10 เซนติเมตร และกวา้ งประมาณ 1-2 เซนติเมตร ออกเป็ นกระจุก ผวิ มีสีน้าตาลออ่ น ส่วนเน้ือในมีสีเหลือง
และมีกลิ่นหอมเฉพาะตวั มกั พบข้ึนในป่ าดิบร้อนช้ืน

 ใบกระชาย คือลกั ษณะของส่วนที่อยเู่ หนือดิน มีประมาณ 2-7 ใบ ลกั ษณะของใบเป็นใบเดี่ยว เรียง
สลบั ลกั ษณะเป็นรูปรี ใบยาวประมาณ 12-50 เซนติเมตรและกวา้ งประมาณ 5-12 เซนติเมตร โคนใบมนหรือ
แหลม ส่วนปลายใบเรียวแหลม มีขอบเรียบ เส้นกลางใบ ดา้ นใบ และกาบใบดา้ นบนจะเป็นร่องส่วน
ดา้ นล่างจะนูนเป็ นสัน ดา้ นใบเรียบมีความยาวประมาณ 7-25 เซนติเมตร ส่วนกาบใบเป็นสีชมพยู าว
ประมาณ 7-25 เซนติเมตร ระหวา่ งกา้ นใบและกาบใบจะมีลิ้นใบ

 ดอกกระชาย ออกดอกเป็ นช่อแบบช่อเชิงลด โดยจะออกท่ียอดระหวา่ งกาบใบคู่ในสุด มีความยาว
ประมาณ 5 เซนติเมตร แตล่ ะดอกจะมีใบประดบั 2 ใบ มีสีขาวหรือสีขาวอมชมพูออ่ น ๆ เป็นรูปใบหอกกวา้ ง
ประมาณ 8 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 3.5-4.5 เซนติเมตร ที่กลีบเล้ียงมีสีขาวหรือสีขาวอมชมพอู ่อน โคน
ติดกนั เป็ นหลอด ยาวประมาณ 1.7 เซนติเมตร ปลายจะแยกเป็น 3 แฉก ส่วนกลีบดอกมีสีขาวหรือสีขาวอม
ชมพอู อ่ น โคนติดกนั เป็นหลอด ยาวประมาณ 6 เซนติเมตร และปลายแยกเป็น 3 กลีบ เป็นรูปใบหอก มี
ขนาดไมเ่ ท่ากนั กลีบใหญ่มี 1 กลีบ กวา้ งประมาณ 7 มิลลิเมตรและยาวประมาณ 1.8 เซนติเมตร ส่วนอีก 2
กลีบจะมีขนาดเท่ากนั กวา้ งประมาณ 5 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร มีเกสรตวั ผอู้ ยู่ 6 อนั แตม่ ี
5 อนั ท่ีเปลี่ยนไปมีลกั ษณะเหมือนกลีบดอก โดย 2 กลีบบนมีสีชมพู รูปไขก่ ลบั ขนาดเท่ากนั มีความกวา้ ง
ประมาณ 1.2 เซนติเมตร และยาวประมาณ 1.7 เซนติเมตร ส่วนอีก 3 กลีบล่างมีสีชมพตู ิดกนั เป็นกระพุง้ มี
ความกวา้ งประมาณ 2 เซนติเมตร ยาวประมาณ 2.7 เซนติเมตร และที่ปลายจะแผก่ วา้ งประมาณ 2.5
เซนติเมตร มีสีชมพหู รือสีม่วงแดงเป็นเส้นอยเู่ กือบท้งั กลีบ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ตรงกระเปาะและปลายกลีบ
จะมีเกสรตวั ผทู้ ่ีสมบูรณ์อยู่ 1 อนั กา้ นชูอบั เรณูหุม้ กา้ นเกสรตวั เมีย

 ผลกระชาย ผลแก่จะแตกเป็น 3 เสี่ยง มีเมล็ดค่อนขา้ งใหญ่

กระชาย มีอยดู่ ว้ ยกนั 3 ชนิด คือ กระชายดา กระชายแดง และกระชายเหลือง (แต่ในบทความน้ีเรา
จะพดู กนั ถึงกระชายเหลืองครับ) โดยกระชายเป็นพืชสมุนไพรที่คนไทยต่างรู้จกั กนั เป็นอยา่ งดี สามารถ
นามาปรุงเป็ นอาหารไดห้ ลากหลายเมนู โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในการนามาใชเ้ ป็นส่วนผสมสาคญั ในแกงป่ า
หรือผดั ตา่ ง ๆ โดยส่วนท่ีนิยมนามาใชป้ ระกอบอาหารกนั มากที่สุดคือ รากสะสมอาหาร หรือท่ีเรียกวา่ "นม
กระชาย" ซ่ึงรากกระชายน้ีจะมีกลิ่นหอมเฉพาะตวั สามารถใชเ้ ป็นผกั จิม้ ไดโ้ ดยตรง แต่คนส่วนใหญ่มกั จะ
นิยมนามาใชเ้ ป็นเคร่ืองแกงซะมากกวา่ เพราะมีคุณสมบตั ิในการช่วยดบั กล่ินคาวของเน้ือสัตวเ์ น้ือปลาได้
เป็นอยา่ งดี

กระชายท่ีนิยมใชก้ นั ก็คือกระชายเหลืองและกระชายดา ซ่ึงกระชายดาปัจจุบนั กาลงั เป็นท่ีนิยม จน
ทาใหก้ ระชายเหลืองถูกลดความสาคญั ลงไป แต่วา่ กนั วา่ ในดา้ นสรรพคุณทางยาสมุนไพร กระชายเหลืองน้นั
ดีกวา่ กระชายดา เพราะบางทีเราก็คิดไปเองวา่ สมุนไพรถา้ เป็นสีเขม้ กวา่ ก็น่าจะมีประโยชน์มากกวา่ แถม
กระชายดายงั ไดร้ ับการโปรโมตทางการตลาดอยา่ งต่อเนื่อง ทาใหค้ นทว่ั ไปหลงคิดวา่ กระชายดาน้นั ดีกวา่
กระชายเหลืองนน่ั เอง

สมุนไพรกระชาย มีสรรพคุณทางยานานบั ประการ จนไดช้ ื่อในวงการแพทยแ์ ผนไทยวา่ เป็น "โสม
ไทย" เน่ืองจากกระชายกบั โสมมีความคลา้ ยคลึงกนั หลายอยา่ ง เช่น สรรพคุณในการบารุงกาลงั และเสริม
สมรรถภาพทางเพศ ซ่ึงเป็นลกั ษณะเด่นของสมุนไพรท้งั สองชนิด ท้งั กระชายและโสมตา่ งกเ็ ป็นพชื ท่ีมีส่วน
สะสมอาหารที่ใชเ้ ป็นยาอยใู่ ตด้ ินเหมือนกนั แถมยงั สามารถเรืองแสงในท่ีมืดไดเ้ หมือนกนั ดว้ ย และในเร่ือง
ของลกั ษณะท่ีคลา้ ยกบั รูปร่างมนุษยเ์ หมือน ๆ กนั ซ่ึงบางคร้ังเราจะเรียกโสมวา่ "โสมคน" และเรียกกระชาย
วา่ "นมกระชาย" (เน่ืองจากกระชายมีลกั ษณะที่คลา้ ยคลึงกบั นมผหู้ ญิงนนั่ เอง และบางคร้ังกด็ ูคลา้ ยเพศชาย
จึงเกิดความเชื่อท่ีวา่ มนั น่าจะมีความเก่ียวขอ้ งในเรื่องสรรพคุณทางเพศ)

สรรพคุณของกระชายเหลอื ง

1. จากผลการวจิ ยั ในหลอดทดลอง กระชายขาว มีสาร พิโนสโตบิน เเละ แพนดูราทินเอ ที่สามารถทาหนา้ ที่
ยบั ย้งั การเจริญเติบโตของเช้ือไวรัสโควดิ – 19 ได้
2. กระชายขาวมีสรรพคุณ ช่วยตา้ นอาการหวดั เเกว้ งิ เวยี นศรีษะ เเละลดไขมนั ในเลือดได้
3. สารสกดั จาก กระชายขาว ช่วยตา้ นอนุมลู อิสระ เเละกระตุน้ การไหลเวยี นของเลือด
4. สารสกดั จากกระชายขาว ช่วยเพิ่มสมรรถนะทางเพศชาย
5. สารสกดั กระชายขาวมีฤทธ์ิในการตอ่ ตา้ นเจริญเติบโตของแบคทีเรียในสาไส้ อนั เป็ นสาเหตุหน่ึงของโรค
กระเพราะอาหาร เเละช่วยลดการอกั เสบของกระเพาะอาหารไดอ้ ีกดว้ ย
6. กระชายขาว สรรพคุณ ช่วยลดอาการเหงือกอกั เสบ หรือมีเเผลในช่องปาก โดยใชก้ ระชายขาวทุบให้
ละเอียดเเละตม้ ให้เดือด เเละใชบ้ ว้ นปาก
7. กระชายขาวช่วยในการขบั สารพิษออกจากตบั ไดอ้ ีกดว้ ย
8. กระชายขาวมีฤทธ์ิในการช่วงเเกอ้ าการทอ้ งร่วง ทอ้ งเสีย โดยนาใชเ้ หงากระชายขาวไปปิ้ งไฟ เเละตาอยา่ ง
ละเอียด นามาผสมกบั น้าปนู ใส เเละค้นั ดื่ม
9. กระชายขาวมีสรรพคุณ ช่วยแกท้ อ้ งอืด ทอ้ งเฟ้ อได้
10. กระชายขาวมีสรรพคุณ ช่วยบารุงหวั ใจ

ประโยชน์ของกระชาย

1. ประโยชนก์ ระชาย สามารถนามาทาเป็นน้ากระชายปั่น ดื่มเพอ่ื เพ่มิ ความสดช่ืน บารุงร่างกาย ทาให้
ร่างกายกระปร้ีกระเปร่าไดเ้ ป็ นอยา่ งดี
2. น้ากระชายช่วยทาใหร้ ่างกายกระปร้ีกระเปร่ายง่ิ ข้ึน ช่วยทาใหเ้ หน่ือยลง
3. ช่วยทาใหเ้ ส้นผมแขง็ แรง เปลี่ยนผมขาวใหก้ ลบั เป็นดา ช่วยทาใหผ้ มบางกลบั มาหนาข้ึน และช่วย
แกป้ ัญหาผมหงอก ผมร่วงได้
4. รากนามาใชเ้ ป็นเครื่องแกงในการประกอบอาหาร ช่วยดบั กล่ินคาวของเน้ือและปลาไดเ้ ป็นอยา่ งดี
โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ปลาดุก ปลาไหล ปลากลุ า เป็นตน้ และยงั ทาใหอ้ าหารมีกลิ่นและรสท่ีหอมแบบเป็ น
เอกลกั ษณ์อีกดว้ ย
5. รากกระชายสามารถช่วยไล่แมลงได้ ดว้ ยการนาตะไคร้ ข่า หอมแดง ใบสะเดาแก่ นามาตาผสมกนั แลว้ ใช้
ผสมกบั น้าฉีดในบริเวณที่มีแมลงรบกวน

วธิ ีทานา้ กระชาย

1. การทาน้ากระชายใหเ้ ตรียมวตั ถุดิบดงั น้ี กระชายเหลืองสดคร่ึงกิโล (หรือจะใชส้ ูตรผสมก็ได้ โดยใช้
กระชายเหลือง 5 ส่วน กระชายดา 1 ส่วน และกระชายแดง 1 ส่วน) / น้าผ้งึ / น้ามะนาว / น้าเปล่าตม้ สุกที่ทิ้ง
ไวจ้ นเยน็
2. ข้นั ตอนแรกใหน้ ากระชายมาลา้ งใหส้ ะอาด ตดั รากที่รกรุงรังออก ตดั หวั และทา้ ยทิง้ ไป ถา้ ขดู เปลือกออก
บา้ งกจ็ ะดีมาก
3. เมื่อเสร็จแลว้ นามาหนั่ เป็ นทอ่ น ๆ เพ่อื ใหง้ ่ายตอ่ การนามาปั่น
4. ใหเ้ ตรียมผา้ ขาวบางรองดว้ ยกระชอนไวใ้ หพ้ ร้อม
5. นากระชายที่เตรียมไวใ้ ส่ในโถปั่นและผสมกบั น้าเปล่าตม้ สุกพอประมาณ แลว้ ป่ันจนละเอียด
6. เสร็จแลว้ ใหเ้ ทใส่กระชอนท่ีเตรียมไว้ ถา้ น้านอ้ ยก็ใหผ้ สมน้าเปล่าลงไปอีก แลว้ ค้นั เอาแต่น้าเท่าน้นั
7. ที่น้ีเราก็จะไดน้ ้ากระชายเหลืองสด ๆ ซ่ึงสามารถเกบ็ ไวใ้ นตูเ้ ยน็ ไดน้ านเป็นเดือน
8. เมื่อจะด่ืมก็เพยี งแคน่ ามาผสมกบั น้ามะนาว น้าผ้งึ ในถว้ ยแลว้ คนใหเ้ ขา้ กนั แลว้ จึงใส่น้ากระชายตามลงไป
9. เมื่อผสมจนรสชาติกลมกล่อมตามที่ตอ้ งการแลว้ ก็เป็นอนั เสร็จ
10. แตถ่ า้ กลวั วา่ กล่ินกระชายจะแรงไป กส็ ามารถใชใ้ บบวั บกหรือใบโหระพามาป่ันรวมกนั ก็ไดต้ ามใจชอบ
เพราะไมม่ ีส่วนผสมที่เป็นสูตรตายตวั เทา่ ไหร่

แหล่งอ้างองิ : โดยเวบ็ ไซตเ์ มดไทย (Medthai)
เรียบเรียงข้อมูล : หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอรัตภูมิ จงั หวดั สงขลา


Click to View FlipBook Version