The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการใช้ Google Classroom (สำหรับครู)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natthaphong muangboon, 2020-05-17 22:30:17

คู่มือการใช้ Google Classroom (สำหรับครู)

คู่มือการใช้ Google Classroom (สำหรับครู)



คำนำ

คู่มือการใช้งาน Google Classroom สาหรับครูฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้
แบบห้องเรียนกลับด้านรว่ มกับการเรยี นรู้แบบร่วมมอื เทคนิค LT โดยใช้ Google Classroom รายวิชา ง22102
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร2 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2

Google Classroom เปน็ ระบบการจดั การเรียนรู้ออนไลน์ทพี่ ัฒนาขน้ึ โดยบริษัทกเู กลิ ซง่ึ เปรียบเสมอื น
ศูนย์ควบคุมช้ันเรียนออนไลน์ของครู เอกสารฉบับน้ีได้รวบรวมวิธีการเข้าร่วมชั้นเรียน การส่งงาน การดูงาน
การส่งความคิดเห็น การดูคะแนน การแชร์ไฟล์ให้สมาชิกในกลุ่มเพ่ือร่วมมือกันทางานบนไฟล์กิจกรรมการ
เรียนรู้ออนไลน์ Google Classroom มีวิธีการใช้งานที่ง่าย สามารถใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมารท์
โฟนเครื่องใดกไ็ ด้ที่เชอื่ มตอ่ ระบบอนิ เทอรเ์ น็ต

หอ้ งเรยี นกลับด้าน(Flipped Classroom) เปน็ วิธีการทค่ี รอบคลุมการใช้งานและประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยี
อินเทอร์เน็ตเพ่ือยกระดับการเรียนรู้ในชน้ั เรียน ทาให้ครูสามารถใช้เวลาได้มากข้ึนในการมีปฏสิ ัมพันธ์กับผเู้ รียน
แทนการบรรยายหน้าชั้นเรียนเพียงอย่างเดยี ว ผ้จู ัดทาไดอ้ อกแบบการเรยี นรู้ในชัน้ เรียนให้เปน็ ลักษณะการเรียน
แบบร่วมมือเทคนิค LT โดยนาคุณสมบัติของชุดเคร่ืองมือที่มีอยู่ใน Google คือ Google Document และ
Google Slide มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มออนไลน์ ซ่ึงนักเรียนทุกคนจะมีโอกาสในการทางาน
ร่วมกัน มีปฏิสัมพันธ์กับเพ่ือนทั้งในช้ันเรียนจริงและช้ันเรียนออนไลน์ นอกจากน้ันผู้จัดทายังได้สรุปเนื้อหา
บทเรียนแล้วนามาสร้างเป็นวีดิทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนมีส่ือการเรียนรู้ที่สามารถศึกษา
เรียนรูด้ ว้ ยตนเองผ่าน Google Classroom จากท่ีบา้ น ทาให้นักเรยี นไม่มีข้อจากัดในเรื่องของเวลาและสถานท่ี
ในการเรียนรู้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียน รู้ตามที่มุ่งหวังไว้
อย่างมปี ระสิทธิภาพ

นายสรุ ิยา งามเจริญ

สำรบญั ข

คำช้แี จง หน้ำ
ควำมต้องกำรของระบบคอมพิวเตอร์ทจ่ี ำเปน็ สำหรับกำรจดั กำรเรยี นรู้ ค
ส่วนที่ 1 ทำควำมรูจ้ กั กบั Google Classroom ซ
1
 Google Classroom คืออะไร 1
 ประโยชน์ของ Google Classroom 1

สว่ นที่ 2 กำรจัดกำรท่ัวไปในช้นั เรยี น Google Classroom 2
 การเข้าใชง้ านบนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ 2
 การเขา้ ใช้งานบน Smartphone/Tablet 4
 การสร้างชั้นเรียน 8
 องคป์ ระกอบหลักของชน้ั เรยี น 10
 การเปลี่ยนภาษา 11
 การจดั การข้อมูลพืน้ ฐานของช้ันเรียน 12
 การเปล่ยี นธีมของชน้ั เรียน 13
 การเกบ็ กคู้ นื และลบช้ันเรียน 15
 การเชิญนักเรียนเขา้ และออกจากชั้นเรยี น 18
 การเชญิ ครูเข้า และออกจากช้ันเรียน 21
 การจดั ระเบียบโพสต์ในช้นั เรยี นดว้ ยการสร้างหัวขอ้ 23
 การจดั การโพสตใ์ นหนา้ งานของช้นั เรยี น 26

ส่วนที่ 3 กำรใช้ Google Classroom มอบหมำยภำรกจิ กำรเรียนรนู้ อกช้ันเรียน 27
 การสร้างคาถามและแนบไฟล์ประจาภารกิจการเรยี นรู้ 27
 การสรา้ งไฟล์กิจกรรมการเรียนรอู้ อนไลน์ 33
 การแชรไ์ ฟล์กิจกรรมการเรียนร้อู อนไลน์ให้ตัวแทนกลุ่ม 37

ส่วนที่ 4 กำรใช้ Google Classroom จัดกจิ กรรมกำรเรียนรู้ในชนั้ เรยี น 43
 การสรา้ งประกาศ 43
 การตรวจและใหค้ ะแนนคาถามประจาภารกิจการเรียนรู้ 45
 การตรวจและให้คะแนนกิจกรรมการเรียนรู้ 48
 การใชโ้ พสตซ์ ้า 53
 การนาเขา้ คะแนนแบบทดสอบ 55
 การสง่ คะแนนไปท่ี Google sheet 58
 การสร้างงานแบบทดสอบ 59
 การสร้างแบบสอบถามออนไลน์ 67
 การนาแบบสอบถามความพึงพอใจออนไลน์มาใชใ้ น Google Classroom 72



คำชี้แจง

การจัดการเรียนรแู้ บบหอ้ งเรียนกลับดา้ นรว่ มกับการเรียนรู้แบบรว่ มมือเทคนิค LT โดยใช้ Google
Classroom ครผู ู้สอนควรใชบ้ ัญชี Accout ประเภท G Suite for Education ซึ่งเปดิ ให้บรกิ ารฟรสี าหรับ
โรงเรียน โดยให้ครผู ู้สอนศกึ ษา และปฏบิ ัติตามขนั้ ตอนดังนี้

* ในการศึกษาครั้งนี้ผศู้ ึกษาใช้ Accout : @knw.ac.th ของโรงเรยี นแกน่ นครวิทยาลยั

ข้นั เตรียม

1. ครูผู้สอนศึกษาทาความเข้าใจเกีย่ วกบั กรอบการเรยี นรู้แบบหอ้ งเรียนกลบั ด้านรว่ มกบั การเรียนรู้
แบบรว่ มมือเทคนิค LT โดยใช้ Google Classroom ก่อนเร่ิมจดั การเรียนรู้

2. ครูผ้สู อนศึกษาค่มู ือการใช้ Google Classroom สาหรบั ครู และสาหรับนักเรียนอยา่ งละเอยี ด
พรอ้ มกบั ทดลองเขา้ ใช้งาน Google Classroom ก่อนเร่ิมจดั การเรยี นรู้

3. ครูผ้สู อนต้องจัดเตรยี มไฟล์สือ่ วีดทิ ัศน์ประกอบการเรียนรู้ ไฟลก์ จิ กรรมการเรียนรู้ และไฟลเ์ อกสาร
ประกอบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้รายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร2 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2
ใหพ้ ร้อมก่อนการจัดการเรียนรู้

4. ครผู สู้ อนจดั เตรียมห้องปฎิบตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ท่ีเชอ่ื มต่อเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ ให้พร้อมและเพยี งพอ
กบั จานวนนกั เรยี น

5. ครูผู้สอนสร้างชน้ั เรยี น Google Classroom ตามลาดับขั้นตอนการสร้างช้นั เรียนในคู่มอื การใช้งาน
Google Classroom สาหรับครฉู บบั น้ี

6. ครูผสู้ อนสรา้ งหวั ขอ้ งานใน Google Classroom เพื่อเป็นการเตรยี มจัดระเบียบงานของชั้นเรยี น
ตามลาดับขนั้ ตอนการสรา้ งหวั ข้องานในคมู่ ือการใชง้ าน Google Classroom สาหรบั ครูฉบับน้ี

7. ครผู สู้ อนโพสต์ไฟล์คู่มือการใช้งาน Google Classroom สาหรับนกั เรยี น ไวบ้ นชั้นเรียน Google
Classroom

8. ครูผู้สอนนาขอ้ สอบทีผ่ ่านกระบวนการหาค่าความเชื่อมน่ั ตามเกณฑ์มาตรฐานแลว้ มาสร้างเป็น
แบบทดสอบออนไลน์โดยใช้ Google Form ตามลาดบั ขน้ั ตอนการสร้างแบบทดสอบออนไลน์ในคูม่ ือการใชง้ าน
Google Classroom สาหรับครูฉบับน้ี

9. ครูผสู้ อนจัดนักเรียนเป็นกลุ่มๆ ละ 4 คน คละความสามารถ เก่ง : ปานกลาง : อ่อน ในอัตราสว่ น
1 : 2 : 1 โดยใช้คะแนนผลสมั ฤทธกิ์ ารเรยี นรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ1 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ปกี ารศึกษา
ท่ีผ่านมาเปน็ เกณฑ์ในการจัดกลุ่ม จานวน 2 ชดุ (ชุดท่ี 1 สาหรบั หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1-3 และชุดท่ี 2 สาหรับ
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4-5)

10. ครผู สู้ อนใช้คูม่ ือการใช้งาน Google Classroom สาหรบั ครฉู บบั นี้ ควบคู่กบั แผนการจดั การเรียนรู้
แบบหอ้ งเรยี นกลบั ด้านรว่ มกับการเรยี นรูแ้ บบร่วมมือเทคนิค LT โดยใช้ Google Classroom รายวิชา
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร2 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2



สรุปขน้ั เตรียมการใช้ Google Classroom ประกอบการจดั กิจกรรมการเรยี นรูแ้ บบห้องเรยี นกลบั ดา้ นรว่ มกับ
การเรยี นรแู้ บบร่วมมือเทคนิค LT โดยใช้ Google Classroom เป็นลาดับขัน้ ตอนไดด้ งั นี้

ศึกษารปู แบบกรอบการเรียนรู้แบบหอ้ งเรยี นกลับด้านรว่ มกับ
การเรยี นรแู้ บบร่วมมือเทคนิค LT โดยใช้ Google Classroom

ศกึ ษาคูม่ ือการใช้งาน Google Classroom สาหรบั ครู และสาหรับนักเรยี นอย่างละเอยี ด
พร้อมกบั ทดลองเขา้ ใช้งาน Google Classroom

จดั เตรียมไฟล์สอ่ื วีดิทศั น์ประกอบการเรยี นรู้ ไฟลก์ ิจกรรมการเรยี นรู้
และไฟลเ์ อกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ให้พร้อม

จดั เตรยี มหอ้ งปฎบิ ตั ิการคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ ให้พร้อม
และเพยี งพอกับจานวนนักเรียน

สรา้ งช้นั เรียน Google Classroom

สร้างหวั ขอ้ งานใน Google Classroom

โพสตไ์ ฟลค์ ู่มอื การใชง้ าน Google Classroom สาหรับนกั เรียนลงในช้ันเรียน Google Classroom

สร้างแบบทดสอบออนไลนโ์ ดยใช้ Google Form

จดั นกั เรยี นเป็นกลุ่มๆ ละ 4 คน คละความสามารถ เก่ง : ปานกลาง : อ่อน จานวน 2 ชุด

ใช้คู่มอื การใช้ Google Classroom สาหรับครู ควบคกู่ บั แผนการจัดการเรียนรูแ้ บบ
หอ้ งเรียนกลับดา้ นรว่ มกบั การเรียนรู้แบบรว่ มมือเทคนิค LT โดยใช้ Google Classroom

รายวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร2 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2



คำชีแ้ จง (ตอ่ )

ขัน้ จัดกิจกรรมกำรเรียนรู้

การจดั การเรียนรูแ้ บบหอ้ งเรียนกลับด้านร่วมกบั การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค LT โดยใช้ Google
Classroom แบง่ เปน็ 2 ส่วน คือ

 กำรจดั กำรเรียนรนู้ อกชน้ั เรยี น หมายถึง การให้นักเรียนเรียนรู้ดว้ ยตนเองโดยใชเ้ วลานอกตาราง
เรียนปกตขิ องโรงเรยี น ซง่ึ นกั เรยี นต้องใช้ Google Classroom ปฏิบัติภารกิจการเรียนรู้ ซง่ึ แบ่งเป็น 2 ส่วน คอื

ภารกจิ การเรียนรสู้ ว่ นบคุ คล : นักเรยี นต้องศึกษาเรยี นร้เู นอื้ หาบทเรียนดว้ ยตนเองจากส่อื วีดิทัศนท์ ่ี
ครผู ้สู อนสร้างข้ึน ซ่งึ นักเรียนสามารถยอ้ นกลบั ดวู ดี ทิ ัศน์ได้อยา่ งอิสระ พร้อมกบั บนั ทึกสรุปการเรยี นรูแ้ ละตอบ
คาถามประจาภารกิจการเรียนรู้

ภารกจิ การเรียนรู้ส่วนรวม : นกั เรียนทีเ่ ปน็ ตัวแทนกลมุ่ (เลขานุการ) ต้องแชร์ไฟล์กจิ กรรมการเรยี นรู้
ท่คี รูสาเนาไฟลใ์ ห้ ให้สมาชิกทุกคนในกลุม่ เพอื่ แบ่งหน้าที่และวางแผนการทางานรว่ มกันก่อนทจ่ี ะทากจิ กรรม
ในชั้นเรียน

 กำรจดั กำรเรยี นรู้ในชัน้ เรยี น หมายถงึ การเรียนโดยใชเ้ วลาในตารางเรยี นปกติของโรงเรียน
โดยครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค LT โดยใช้ Google Classroom โดยให้ครูปฏิบัติตาม
ขน้ั ตอน ดงั นี้

1. ครใู หน้ ักเรยี นเข้ารว่ มชัน้ เรียน Google Classroom ตามลาดบั ขั้นตอนในคู่มือการใช้งาน Google
Classroom สาหรับนักเรยี น

2. ครชู ้ีแจงรูปแบบของกรอบการเรยี นรู้และข้นั ตอนการจัดการเรียนรแู้ บบหอ้ งเรียนกลบั ดา้ นรว่ มกบั
การเรียนรแู้ บบร่วมมือเทคนิค LT โดยใช้ Google Classroom รายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร2
ควบคู่กับใหน้ ักเรียนศึกษาคู่มือการใช้งาน Google Classroom สาหรบั นักเรียน

3. ในคาบเรียนแผนการจดั การเรยี นรูป้ ฐมนเิ ทศ ครใู ห้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิกอ่ นเรยี น
ซ่ึงเปน็ แบบปรนยั ชนดิ 4 ตวั เลือก จานวน 30 ข้อ ผ่าน Google Classroom

4. กอ่ นถงึ คาบเรยี นในช้นั เรยี น ครตู อ้ งมอบหมายภารกิจและกิจกรรมการเรียนรใู้ ห้นักเรียนปฎบิ ัตินอก
ชนั้ เรยี น ประกอบดว้ ย

4.1 ครแู นบไฟลว์ ดี ิทัศน์ประกอบการเรยี นรู้เพอื่ ให้นักเรียนทุกคนศกึ ษาเนื้อหาบทเรียนดว้ ยตนเอง
4.2 ครสู รา้ งคาถามประจาภารกิจการเรยี นรู้ เพ่ือใหน้ ักเรียนทกุ คนตอบก่อนถึงคาบเรียนในช้นั เรยี น
4.3 ครูสรา้ งงานและแชร์ไฟล์กจิ กรรมการเรยี นรู้ให้นักเรยี นทเ่ี ป็นตวั แทนกลุม่ (เลขานุการ)
5. เมื่อถงึ คาบเรยี นในช้นั เรยี นครูจดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบรว่ มมือเทคนคิ LT ผา่ น Google
Classroom ซ่ึงมี 5 ข้ันตอน ดังนี้
5.1 ขน้ั เตรียม : นักเรียนนั่งเป็นกลุ่มตามทคี่ รูจดั ให้ จากนัน้ ถาม-ตอบ แลกเปล่ยี นเรียนรกู้ ับครแู ละ
เพอื่ นในช้นั เรียนเก่ยี วกับบทเรียนในวดี ิทัศนท์ ี่ศึกษามาจากนอกชน้ั เรียน
5.2 ข้นั สอน : ครูสรุปเน้อื หาบทเรยี น และอธิบายคาส่ังกจิ กรรมการเรยี นรเู้ พิ่มเติมจากทนี่ ักเรียน
ได้วางแผนการทางานมาจากนอกชนั้ เรียนแล้ว
5.3 ขนั้ ทากจิ กรรมกลมุ่ : ครูใหน้ กั เรียนใช้ Google Classrom รว่ มกันทากิจกรรมการเรียนรูผ้ า่ น
ไฟลก์ ิจกรรมการเรียนรู้ออนไลน์ที่ครูแชร์ให้ โดยครผู ูส้ อนจะเดนิ สารวจการทางานเพ่ือพูดคยุ ใหค้ วามช่วยเหลอื
กระตุน้ ใหน้ ักเรยี นร่วมมือกันทางาน กระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นแสดงความคดิ เห็นแลกเปลี่ยนท้งั ระหวา่ งครกู ับนักเรียน
และระหว่างนักเรยี นกบั นักเรียนในกลมุ่ พร้อมกบั สังเกตการณ์ทางานของแตล่ ะกลุม่



5.4 ขัน้ ตรวจสอบผลงานและทดสอบ : นกั เรยี นในกลมุ่ ร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์
ของผลงาน ครูให้คาแนะนาเพม่ิ เติมในส่วนทม่ี ีขอ้ ผิดพลาด จากน้นั ตัวแทนกลุ่ม(เลขานุการ) สง่ ผลงานให้ครู
ผา่ น Google Classrom

5.5 ขน้ั สรุปบทเรียนและประเมินผล : ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรปุ บทเรยี น จากน้ันใหน้ กั เรยี น
ทาแบบทดสอบหลังเรยี นประจาแผนการจัดการเรยี นร้เู ป็นรายบคุ คล ซ่ึงเปน็ แบบปรนยั ชนิด 4 ตวั เลอื ก จานวน
10 ข้อ ผ่าน Google Classroom

5.6 เม่ือจบการเรยี นร้ใู นช้ันเรยี นครูจะตรวจผลงานและร่องรอยการเรยี นรู้รว่ มกันผ่านไฟล์กิจกรรม
การเรียนรู้ของแต่ละกลุ่มและส่งกลับคะแนนผ่านระบบ Google Classroom ซ่งึ สมาชิกในกลมุ่ จะไดค้ ะแนน
ประเมนิ ผลงานเท่ากนั ทุกคน พรอ้ มกบั ประกาศชมเชยกล่มุ ที่มผี ลงานดีทส่ี ดุ เพือ่ มอบรางวัลในคาบเรียนถดั ไป

6. ครจู ัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ตามขั้นตอนข้อ 4 - 5 เช่นเดียวกนั ทกุ แผนการจดั การเรยี นรู้
7. เมอื่ เรยี นจบหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 ใหเ้ ปล่ียนกลมุ่ นักเรียนใหม่อีกคร้ัง เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นไดม้ โี อกาส
เรียนร้แู ละทางานรว่ มกับเพือ่ นคนอ่ืน
8. เมือ่ เรียนจบหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 ใหน้ ักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์หิ ลงั เรียน ซ่ึงเปน็ แบบ
ปรนยั ชนดิ 4 ตวั เลอื ก จานวน 30 ขอ้ ผ่าน Google Classroom

สรุปขัน้ ตอนการใช้งาน Google Classroom ประกอบการจดั กิจกรรมการเรียนร้แู บบห้องเรยี นกลบั
ด้านรว่ มกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมอื เทคนิค LT โดยใช้ Google Classroom เปน็ ลาดบั ข้นั ตอนได้ดังน้ี



นักเรียนเข้ำรว่ มชน้ั เรียน Google Classroom
ครผู ู้สอนช้ีแจงรปู แบบและขน้ั ตอนกำรจดั กำรเรยี นรฯู้



ควำมตอ้ งกำรของระบบคอมพวิ เตอร์ทจี่ ำเป็นสำหรับกำรจดั กำรเรียนรู้แบบห้องเรียนกลบั ดำ้ น
รว่ มกบั กำรจดั กำรเรยี นรู้แบบรว่ มมือเทคนิค LT โดยใช้ Google Classroom

อปุ กรณ์ คอมพิวเตอร์ / โนต้ บกุ๊ สมารท์ โฟน / แท็บเลต็
ทใ่ี ชง้ าน

1. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ควรมี 1. หนว่ ยประมวลผลกลาง (CPU) ควรมี

ความเรว็ ตั้งแต่ 1.5 GHz ขน้ึ ไป ความเรว็ ตัง้ แต่ 1.5 GHz ข้นึ ไป

2. หน่วยความจาสารอง (RAM) ควรมี 2. หน่วยความจาสารอง (RAM) ควรมี

ความจุตั้งแต่ 2 GB ขน้ึ ไป ความจตุ งั้ แต่ 2 GB ขึ้นไป

3. ฮาร์ดดสิ ก์ (Hard disk) ควรมคี วามจุ 3. หน่วยความจาภายใน (ROM) ขั้นต่า

ฮารด์ แวร์ ต้ังแต่ 20 GB ขนึ้ ไป ตอ้ งมีขนาด 16 GB

(Hardware) 4. การด์ แลนด์ (Card lan) ควรมีความเรว็ 4. ลาโพงหรือหฟู งั

ในการสง่ ข้อมูลไม่น้อยกว่า 10/100 Mbps 5. รองรับการใช้งานเครอื อินเทอร์เนต็

5. ลาโพงหรือหฟู งั บนเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีย่ ุคท่ี 3 (3G)

6. รองรบั การใชง้ านเครอื ข่ายอนิ เตอรเ์ น็ต ขน้ึ ไป

แบบสายแลนหรอื แบบไรส้ าย(Wi-Fi) 6. รองรับการใชง้ านเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต

แบบไรส้ าย(Wi-Fi)

1. ระบบปฏบิ ัตกิ าร Windows OS หรอื 1. ระบบปฏิบัติการที่รองรบั การทางานของ

Mac Os สมาร์ทโฟนและแท็บเลต็ แตล่ ะค่าย ดงั นี้

2. โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ (Browser) - ระบบปฏิบตั กิ าร iOS

เชน่ Google Chrome ,Mozilla Firefox - ระบบปฏบิ ัตกิ าร Android

ซอฟตแ์ วร์ ฯลฯ - ระบบปฏบิ ตั กิ าร Windows Phone

(Software) 2. โปรแกรมอ่านไฟล์เอกสารประเภท .docx - ระบบปฏบิ ัตกิ าร BlackBerry

, .pptx และ .pdf 2. แอฟพลเิ คช่ัน Classroom

3. แอฟพลิเคชน่ั Google Drive

4. แอฟพลเิ คชั่น Google Doc

5. แอฟพลเิ คชั่น Google Slide

คณุ สมบตั ิ เชือ่ มตอ่ สัญญานอนิ เทอรเ์ น็ต
หลัก

1

สว่ นที่ 1 ทำควำมรู้จกั กบั Google Classroom

Google Classroom คืออะไร

Google Classroom คือ ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ซ่ึงพัฒนาโดยบริษัทกูเกิล (Google)
เปรียบเสมือนศูนย์บัญชาการสาหรับช้ันเรียนออนไลน์ของครู ท่ีสามารถสร้างช้ันเรียน สั่งงาน ส่งความคิดเห็น
และดูทุกอย่างได้ในที่เดียว ทันใจ ไม่เปลืองกระดาษ และมีวิธีใช้ท่ีง่าย Google Classroom เป็นส่วนหนึ่งของ
Google Suite for Education ซึ่งให้บริการฟรีสาหรับโรงเรียน และสามารถใช้กับคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือ
สมารท์ โฟนเครื่องใดก็ได้

Google Classroom จะรวมเอาบริการของ Google ทีม่ อี ยู่ เช่น Drive, Docs และ Gmail เข้ามารวม
ไว้ด้วยกัน และนาเสนอออกมาเป็นระบบเดียวแบบครบวงจร เพ่ือเป็นเครื่องมือให้ครูผู้สอนได้สามารถใช้
ประโยชน์ในการสั่งงานและเก็บรวบรวมผลงานต่างๆของนักเรียน อีกทั้งยังจะช่วยให้นักเรียนสามารถส่งงานได้
ทันทีผ่านทางออนไลน์ ในขณะที่ครูก็สามารถตรวจงาน พร้อมให้ข้อเสนอแนะแบบเรียลไทม์ได้อีกด้วย โดยครู
สามารถสรา้ งหนา้ ชน้ั เรียนขน้ึ มา และเพม่ิ นักเรยี นของตนเขา้ ไปไดเ้ อง หรอื จะให้รหสั กับนักเรียน เพ่ือใหพ้ วกเขา
ทาการแอดตัวเองเข้ามากไ็ ด้

ประโยชน์ของ Google Classroom

1. ครแู ละนักเรยี นสามารถใช้งานกูเกิลคลาสรูมได้ทกุ ท่ีทุกเวลาท่มี ีสัญญานอินเทอร์เน็ต
2. ครสู ามารถสร้างช้ันเรยี นออนไลนข์ องวิชาของตนเองข้นึ มาได้อย่างสะดวกรวดเรว็
2. ครสู ามารถเพ่ิมรายชอ่ื นักเรยี นในชั้นเรียนจากบัญชีของกเู กิลและสามารถนารหัสชนั้ เรียนใหน้ ักเรยี น
นาไปกรอกเพื่อขอเขา้ ร่วมชน้ั เรยี นเองได้
3. ครสู ามารถมอบหมายงานให้นักเรียนทาโดยสามารถแนบไฟล์ได้หลากหลายประเภท และสามารถ
กาหนดวันส่งงานได้
4. ครสู ามารถดูจานวนนักเรียนที่ส่งและยงั ไม่ส่งงานภายในกาหนดได้
5. ครสู ามารถตรวจงานของนักเรยี นทัง้ แบบกลุ่มและแบบเดย่ี ว พร้อมท้ังให้คะแนนและคาตชิ มได้ทนั ที
7. นกั เรียนและครูสามารถแลกเปลี่ยนหรอื ส่อื สารกนั ในช้ันเรยี นได้
8. ประหยัดการใช้กระดาษมากเพราะเอกสารประกอบการเรยี นและงานของนักเรยี นจะอยู่ในรูปแบบ
ไฟล์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

2

ส่วนที่ 2 กำรจัดกำรทว่ั ไปในชัน้ เรียน Google Classroom

กำรเข้ำใช้งำนบนเครื่องคอมพวิ เตอร์
1. เข้าสู่ระบบ Google Classroom ไดท้ ี่ https://classroom.google.com
จะปรากฏหน้าต่าง ดังภาพ

1

2. กรอก Username ซงึ เปน็ บัญชี Account ของโรงเรยี นแกน่ นครวทิ ยาลัย
( [email protected] )
3. คลกิ ถดั ไป
4. กรอก Password
5. คลิก ถดั ไป

24
5

3

3
6. จะปรากฏหนา้ ตา่ งรวมช้นั เรยี น Google Classroom หากครูยงั ไมเ่ คยสร้างชน้ั เรยี นวิชาอ่นื มาก่อน
หนา้ ต่างรวมชน้ั เรียนจะว่างเปล่า แต่หากครเู คยสรา้ งชนั้ เรียนวชิ าอน่ื แลว้ จะปรากฏ ดังภาพ

6

4

กำรเขำ้ ใช้งำนบน Smart Phone/Tablet

 กรณตี ้องการใช้ Google Classroom บนระบบ IOS ให้ดาวน์โหลดแอปพลิเคชน่ั Google Classroom

จาก App Store ดงั น้ี

1) เลือก App Store

2) เลอื ก“ค้นหา”

3) พมิ พ์ “Classroom” ในช่องค้นหา

4) เลอื ก “รบั ” จากนน้ั รอใหร้ ะบบดาวนโ์ หลด App 3

4

1

2

5) เมอื่ ระบบดาวน์โหลดเสรจ็ แลว้ จะปรากฏไอคอน “Classroom”ทห่ี น้าจอจากน้นั เลือก
“Classroom”

6) เลอื ก “เร่มิ ต้นใชง้ าน”

5
6

5

7) กรอก Username ซึงเปน็ Google Account ของโรงเรียนแกน่ นครวิทยาลยั
8) เลอื ก “ถดั ไป”
9) กรอก Password
10) เลอื ก “ถดั ไป”

7 9
8 10

11) จะปรากฏหนา้ ต่างรวมช้ันเรียน Google Classroom หากครูยังไม่เคยเขา้ สร้างช้นั เรียนวิชาอนื่
มาก่อน หนา้ ต่างรวมช้ันเรยี นจะวา่ งเปล่า แต่หากครเู คยสร้างช้นั เรียนวิชาอ่ืนมาแลว้ จะปรากฏ ดังภาพ

11

6

 กรณตี ้องการใช้ Google Classroom บนระบบ Android ใหด้ าวนโ์ หลดแอปพลิเคช่ัน Google
Classroom จาก Play Store

1) เลือก “Play Store”
2) พมิ พ์ “Classroom” ในช่องค้นหาของ Play Store จากนนั้ เลอื ก Google Classroom

2

1

3) เลอื ก “ตดิ ตง้ั ” จากนั้นรอใหร้ ะบบดาวน์โหลด App
4) เม่ือระบบดาวน์โหลดเสรจ็ แล้วจะปรากฏไอคอน “Classroom”ท่หี น้าจอจากน้ันเลือก
“Classroom”
5) เลือก “เรม่ิ ตน้ ใชง้ าน”

3
5

4

7

6) กรอก Username ซงึ เป็น Google Account ของโรงเรียนแกน่ นครวิทยาลัย
7) เลือก “ถดั ไป”
8) กรอก Password
9) เลือก “ถัดไป”

68
9

7

10) จะปรากฏหน้าตา่ งรวมชั้นเรยี น Google Classroom หากครยู ังไม่เคยเข้าสรา้ งชั้นเรียนวิชาอนื่
มาก่อน หน้าต่างรวมชั้นเรียนจะวา่ งเปลา่ แต่หากครูเคยสร้างชั้นเรียนวิชาอ่นื มาแล้วจะปรากฏ ดังภาพ

10

8

กำรสรำ้ งชน้ั เรยี น 1

1. เข้าสู่ระบบ Google Classroom จากนั้นคลกิ สัญลักษณ์ +
2. คลกิ “สร้างชน้ั เรียน”

2

3. พมิ พช์ ือ่ ช้นั เรยี น (บังคับ)
4. พมิ พ์ชือ่ ชัน้ เรียน (ไม่บงั คบั )
5. ข้อมลู ของชน้ั เรียนเพ่ิมเตมิ เช่น วิชาพ้นื ฐาน วชิ าเลอื กเสรี เปน็ ต้น หากไม่พิมพข์ ้อมลู จะไม่มีผลใดๆ
ต่อช้ันเรยี น (ไม่บังคับ)
6. พิมพ์สถานทจี่ ดั การเรยี นการสอนของรายวชิ า (ไมบ่ ังคับ)
7. คลกิ “สรา้ ง”

9

3

4
5

6

7

8. ระบบจะทาการสรา้ งชนั้ เรียนขน้ึ มา ดงั ภาพ

8

10

องค์ประกอบหลกั ของช้ันเรียน

A เมนูหลกั ของ Google Classroom I ออกจากระบบของ Google Classroom
B ชื่อชน้ั เรียน(ช่อื รายวิชา) J เปลี่ยนธมี ของชัน้ เรยี น
C แสดงโพสต์ล่าสดุ ทุกประเภทในช้นั เรยี น K เปล่ียนธมี ของช้ันเรยี นโดยการอปั โหลดภาพ
D แสดงงานทุกประเภทในชัน้ เรียน L แสดงงานที่ยงั ไม่หมดเวลาส่ง
E แสดงโปรไฟลค์ รูและสมาชกิ ในชัน้ เรียน M สรา้ งโพสตป์ ระกาศในหน้าสตรมี ช้นั เรยี น
F ตง้ั คา่ พน้ื ฐานของช้นั เรยี น N ใช้โพสต์เดิมซา้
G รวมแอป ของ Google O แสดงโพสต์ลา่ สดุ ในชั้นเรียน
H แจง้ เตือนการอปั เดทเกยี่ วกบั บริการของ P ความชว่ ยเหลอื จากระบบ

google

A CD E H I
B M F

L G
B

J

K

N
O

P

11

กำรเปลย่ี นภำษำ
1. เข้าใชง้ าน Google Classroom ที่ https://classroom.google.com
2. คลิกเปลยี่ นภาษาได้ทีเ่ มนูด้านล่างกล่องสาหรับกรอก Username และ Password

2

3. เลือกเปล่ยี นภาษาตามต้องการ

2

กำรจดั กำรข้อมลู พื้นฐำนของชั้นเรียน 12
1. คลิกทเ่ี คร่ืองหมาย บนแถบเมนูชัน้ เรียน
1

2. จะปรากฏหน้าต่างการตั้งค่าช้ันเรยี นขึน้ มาดงั ภาพ

3. เพิ่มคาอธบิ ายรายวิชา

4. แสดงรหัสของชน้ั เรยี นแบบเตม็ จอ, คดั ลอกรหัสของช้ันเรยี น,รีเซต็ รหัสของชั้นเรยี น และปดิ ใชร้ หสั

ของช้นั เรียน

5. คลกิ ตัง้ คา่ ให้นักเรียนสามารถโพสตแ์ ละแสดงความคิดเห็นได้หรือไม่ได้ตามความต้องการ

6. ตั้งคา่ ใหร้ ะบบแสดงรายการทถ่ี กู ลบ

7. ตง้ั ค่าใหม้ ีการสรปุ รายงานผปู้ กครองในกรณีผ้ปู กครองลงทะเบียนเขา้ ใชง้ านดว้ ย 8

8. เมือ่ แก้ไขข้อมลู เรยี บร้อยแลว้ คลิก “บันทึก”

2

3

4
5

6
7

13

กำรเปลีย่ นธีมของชัน้ เรยี น

การเปล่ียนธีมของชน้ั เรยี นสามารถทาได้ 2 รปู แบบ คือ
1. การเลอื กธมี สาเรจ็ รูปที่ Google Classroom เตรียมไว้ให้ ดังนี้
1.1 คลิก “เลือกธมี ”

1.1

1.2 เลือกธมี ตามทร่ี ะบบได้จดั หมวดหม่ไู ว้ให้ตามต้องการ
1.3 คลิกเลอื กรปู ภาพที่ต้องการ
1.4 คลกิ “เลอื กธมี ของช้ันเรียน”

1.2

1.3.

1.4

14

2. การเลือกธีมรปู ภาพที่สรา้ งหรอื เตรียมไวด้ ้วยตนเอง ดงั นี้
2.1 คลกิ “อปั โหลดรูปภาพ”

2.1

2.2 คลกิ “เลือกรูปภาพจากคอมพิวเตอร์ของคุณ” หรอื ลากรปู ภาพในเคร่อื งคอมพิวเตอรว์ าง
ลงบรเิ วณที่ Google classroom กาหนดให้

2.2

2.3 ครอบตัดรูปภาพใหพ้ อดตี ามความต้องการ
2.4 คลกิ “เลอื กธมี ของช้นั เรียน”

2.3
2.4

15
กำรเก็บ กคู้ ืนและลบช้ันเรยี น
เมอ่ื สิน้ ภาคเรียนหรือปกี ารศึกษา ครสู ามารถเก็บชนั้ เรยี นทีเ่ รียนเสรจ็ แลว้ รวมไปถึงสามารถยกเลิก
การเกบ็ ชั้นเรยี นไดห้ ากต้องการใชง้ านอกี ครงั้ และลบชน้ั เรียนทเี่ ก็บไว้ไดห้ ากไม่ต้องการใชอ้ กี เมื่อเก็บหรือลบ
ช้นั เรียน ครูและนกั เรียนยังคงเขา้ ถงึ ไฟล์ของชน้ั เรยี นใน Google Drive ได้ รวมทงั้ ไฟลแ์ นบสาหรบั งาน
มอบหมาย หรืองานอ่ืนๆ ของนกั เรยี น ซง่ึ เมื่อครเู กบ็ ชั้นเรียนแลว้ ระบบจะดาเนนิ การ ดังน้ี
- ระบบจะนาชน้ั เรยี นไปไวใ้ นพื้นที่แยกเพื่อเก็บรักษาเอกสารของชั้นเรยี น งานของนักเรยี น และโพสต์
ของครู
- ระบบจะไม่แสดงชนั้ เรียนท่ีถกู เก็บในหน้ารวมช้นั เรียนของทง้ั ครูและนักเรยี น
 ขั้นตอนการเก็บช้ันเรยี น ดังน้ี
1. คลกิ สัญลักษณ์ ทอี่ ยู่ด้านข้างการ์ดช้ันเรียนท่ตี อ้ งการเก็บ
2. คลิก “เก็บ”

1

2

3. คลิก “เก็บ” จากน้นั ระบบจะส่งชนั้ เรยี นน้นั ไปเก็บไวใ้ นช้ันเกบ็ ชน้ั เรยี นทันที

3

16

 ขั้นตอนการดชู ้ันเรยี นท่ีเก็บ ดังน้ี
1. คลิกสัญลักษณ์ ที่อยู่ดา้ นบนซา้ ยของหน้าหลกั Google Classroom

1

2. คลิก “ชัน้ เรยี นท่เี กบ็ ”

2

3. จะปรากฏช้นั เรียนท่ีเก็บไว้ ซึง่ สามารถเข้าไปดูงานของนักเรยี นหรือโพสต์ของครไู ด้

2

17

 ข้นั ตอนการกคู้ นื ชั้นเรยี นท่ีเกบ็ ดังน้ี
1. เข้าไปท่ี “ช้นั เรียนที่เกบ็ ”
2. คลิกสญั ลกั ษณ์ ทอี่ ยู่ด้านข้างการ์ดชนั้ เรียนท่ีต้องการกู้คืน
3. คลิก “กคู้ นื ”

2

3

4. คลกิ “กคู้ นื ” เพื่อยนื ยนั การกคู้ นื ช้นั เรียน จากนน้ั ระบบจะทาการกูค้ นื ชั้นเรียนนั้น ซงึ่ ช้ันเรยี นทก่ี ้คู นื
จะแสดงอย่ทู ่ีหนา้ รวมช้ันเรยี นของ Google Classroom

4

 ขั้นตอนการลบชั้นเรยี นที่เก็บ ดงั น้ี
1. เข้าไปที่ “ช้ันเรียนทเ่ี ก็บ”
2. คลิกสัญลกั ษณ์ ท่อี ยู่ด้านขา้ งการด์ ช้ันเรียนท่ีต้องการลบ
3. คลิก “ลบ”

2

3

4. คลกิ “ลบ” เพ่ือยืนยันการลบชั้นเรียน จากนั้นระบบจะลบช้นั เรยี นนั้นออกและจะไม่สามารถกู้คืน
ชั้นเรยี นไดอ้ กี

4

18

กำรเชญิ นกั เรียนเขำ้ และออกจำกชั้นเรียน
 ขน้ั ตอนการเชญิ นักเรียนเข้าร่วมช้ันเรยี น มี 2 วิธี ดงั น้ี
วธิ ที ี่ 1 กรอก E-mail ของนักเรยี น

1. เขา้ ไปทช่ี นั้ เรยี นที่ครตู อ้ งการเชิญนกั เรยี นเขา้ รว่ ม
2. คลกิ “ผคู้ น”

2

3. คลกิ ทีส่ ญั ลกั ษณ์เชิญนักเรียนเขา้ รว่ มช้นั เรยี น

3

4. พมิ พ์ E-mail ของนักเรียน ซง่ึ ในขณะพิมพ์ ระบบอาจแสดงรายช่อื ใหโ้ ดยอตั โนมัติ
5. คลกิ “เชญิ ” หลงั จากนัน้ รอนักเรยี นยนื ยันการเข้ารว่ มช้ันเรยี น

4

5

19

วิธที ่ี 2 แจง้ รหสั ของช้ันเรียนให้นกั เรยี นทราบ แลว้ ให้นักเรียนขอเข้ารว่ มช้นั เรยี นด้วยตนเอง
1. คลิกสญั ลักษณ์ บนหนา้ สตรีมของชัน้ เรียน

1

2. ระบบจะแสดงหนา้ ตา่ งรหัสของช้นั เรียนดังภาพ
3. ครูสามารถคลิกใหร้ ะบบแสดงรหสั แบบเตม็ หนา้ จอได้

2

3

4. ครูแจ้งให้นกั เรียนใช้รหสั ห้องเรยี นดังกล่าวขอเขา้ รว่ มช้นั เรยี น

หมำยเหตุ

รายการชน้ั เรียนจะไดร้ บั การอัปเดตเพ่ือแสดงช่ือของนักเรยี นที่ไดร้ บั เชญิ
นักเรียนทไี่ ด้รบั เชญิ จะได้รับแจ้งเตอื นทางอเี มล หากนกั เรยี นต้องการเข้ารว่ มชั้น
เรยี นดว้ ยตนเอง นักเรียนต้องลงช่อื เขา้ ใช้ Google Classroom แลว้ คลกิ “เข้า
ร่วม” ที่การด์ ของชน้ั เรยี น

20

 ขนั้ ตอนการนานักเรยี นออกจากชน้ั เรียน ดงั น้ี

1. เข้าไปทช่ี นั้ เรียนที่ครูต้องการลบนักเรยี นออกจากช้นั เรียน

2. คลกิ “ผคู้ น”

3. คลิกเลอื กชื่อนกั เรียนที่ต้องการลบ

4. คลิก “การดาเนนิ การ” 2

5. คลกิ “ลบ”

4
5
3

6. ยนื ยันการลบคลกิ “ลบ” จากนัน้ ระบบจะทาการลบนักเรียนทเ่ี ราเลอื กออกจากชัน้ เรียน

6

21

กำรเชิญครูเขำ้ และออกจำกชัน้ เรียน

ครสู ามารถเชญิ ครูท่รี ว่ มสอนวิชาเดียวกันเข้าร่วมชน้ั เรยี นเพื่อรว่ มกันทากจิ กรรมในชน้ั เรียนได้

ซง่ึ Google Classroom จากัดจานวนครูสงู สดุ ไม่เกนิ 20 คน และจานวนสมาชกิ (ครูและนกั เรียน) สูงสุดไมเ่ กิน

1,000 คน และสทิ ธิส์ าหรับครทู ีร่ ่วมสอนในชั้นเรยี น มดี งั น้ี

- มเี พียงครูผู้สอนหลักเทา่ นั้นทีส่ ามารถลบชั้นเรียนได้ ครูท่ีถกู เชญิ เข้าช้ันเรียนไมส่ ามารถลบได้

- ครผู ู้สอนหลกั ไมส่ ามารถถูกนาออกจากชั้นเรยี นได้

- ครผู ูส้ อนหลักเปน็ เจา้ ของโฟลเดอร์ Google Drive ของช้ันเรียน

- หลงั จากครูทร่ี ่วมสอนเข้ารว่ มชน้ั เรียน ครูที่ร่วมสอนจะสามารถเขา้ ถึงโฟลเดอร์ Google Drive

ของชัน้ เรียนได้

 ขน้ั ตอนการเชิญครูเข้ารว่ มช้ันเรยี น ดงั นี้

1. ไปทชี่ ั้นเรยี นทีค่ รูต้องการเพม่ิ ครเู ขา้ มารว่ มสอน

2. คลกิ “ผ้คู น”

3. คลิกสัญลักษณ์เชิญครูเข้าร่วมชนั้ เรียน 2

3

4. พิมพ์ E-mail ของครูท่ีต้องการเชญิ เขา้ รว่ มชั้นเรียน ซ่ึงในขณะพมิ พ์ข้อความ ระบบอาจแสดงรายช่อื
ให้โดยอตั โนมัติ

5. คลิก “เชิญ”

4

5

22

หมำยเหตุ

รายการชัน้ เรยี นจะได้รับการอัปเดตเพื่อแสดงชื่อของครทู ่ีได้รับเชิญแล้ว
ครทู ่ไี ดร้ ับเชญิ จะได้รับแจ้งเตือนทางอเี มล ในการเขา้ ร่วมช้ันเรยี น ครูตอ้ งลงชอ่ื
เข้าใช้ Google Classroom แล้วคลกิ “เข้าร่วม” ทีก่ ารด์ ของชน้ั เรียน

 ขัน้ ตอนการนาครอู อกจากชนั้ เรียน ดงั นี้ 2
1. ไปทช่ี ้นั เรียนท่ีครูต้องการนาครอู อกจากชน้ั เรยี น
2. คลกิ “ผคู้ น”
3. คลิกสญั ลกั ษณ์ ท่ีอยู่หลังช่อื ครู
4. คลิก “ลบ”

3
4

5. ยนื ยนั การลบครูออกจากชั้นเรียน คลกิ “ลบ” จากนน้ั ระบบจะทาการลบครทู เ่ี ราเลือกออกจากชั้น
เรยี น

5

23

กำรจัดระเบียบโพสตใ์ นหนำ้ งำนของชน้ั เรยี นดว้ ยกำรสร้ำงหัวข้อ

โดยปกตแิ ล้วโพสต์ในหนา้ งานของชั้นเรียนจะเรียงลาดบั ตามเวลาและวันทีท่ ่โี พสต์ โดยโพสต์ล่าสดุ
จะอยทู่ ่ีด้านบนสดุ ของหนา้ งานของชน้ั เรยี น Google Classroom จงึ ได้ออกแบบเครื่องมือทีจ่ ะสามารถ
จดั หมวดหมขู่ องโพสตต์ า่ งๆในหนา้ งานของช้นั เรยี นโดยจดั เปน็ “หวั ขอ้ ” ตามท่ีครูต้องการ เพื่อให้ครู
และนักเรยี นสามารถคน้ หาโพสตไ์ ดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเรว็ ซึ่งครูจะเปน็ ผสู้ รา้ งหวั ข้อขึน้ เอง

 ขั้นตอนการสรา้ งหัวข้อ ดังน้ี

1. ไปท่ีชั้นเรยี นท่ีตอ้ งการสรา้ งหวั ข้อ คลิก “งานของชน้ั เรยี น”

2. คลกิ “สร้าง”

3. คลิก “หัวข้อ” 1

2

3

4. พมิ พช์ ่อื หัวข้อท่ีครูต้องการจัดใหเ้ ปน็ หมวดหมู่
5. คลกิ “เพ่ิม
6. สร้างหวั ขอ้ เพิ่มโดยทาตามข้อ 2 – 5

4

5

24

7. หัวขอ้ ท่คี รูสรา้ งขึ้นจะปรากฏในหนา้ งานของชนั้ เรยี น เมื่อครูสรา้ งโพสตง์ าน คาถาม หรือเนอื้ หา
ครูจะสามารถเลอื กได้ว่าจะให้โพสต์นัน้ อยใู่ นหวั ข้อใด เม่ือครูหรอื นักเรียนเขา้ มาในช้นั เรยี นจะสามารถคน้ หา
โพสตไ์ ด้สะดวกรวดเรว็

6

8. ครสู ามารถจัดการกับหัวข้องานได้โดยคลกิ สญั ลักษณ์ ด้านหลงั ชื่อหัวข้อ

9. คลิกเลอื กจดั การกับหวั ข้อตามตอ้ งการ คือ

 เปล่ยี นชื่อหวั ข้อ  ลบหัวข้อ  คัดลอกลงิ ก์

 ยา้ ยหวั ข้อข้นึ  ย้ายหวั ข้อลง

8

9

25
10. ครสู ามารถย้ายหัวข้อได้อยา่ งสะดวกด้วยการคลิกลากท่ีชือ่ หัวขอ้ แล้วแดรกเมาส์ไปวางไว้ตาแหน่ง
ทต่ี อ้ งการ

10

หมำยเหตุ
เมื่อลบหวั ขอ้ จะเป็นการนาหัวขอ้ ที่ลบออกจากทุกโพสตแ์ ตโ่ พสตจ์ ะไมห่ ายไป

26

กำรจัดกำรโพสตใ์ นหน้ำงำนของชน้ั เรยี น

โพสตใ์ นหนา้ งานของช้นั เรียนจะมี 4 ประเภท คอื คาถาม งาน งานแบบทดสอบ และเน้ือหา
เมือ่ ครูโพสต์ งาน งานแบบทดสอบ คาถาม หรอื เนื้อหา นกั เรยี นจะไดร้ บั การแจ้งเตอื นผา่ น E-mail และผา่ น
Application Classroom บน Smartphone ของนักเรยี น (หากไม่ได้ตั้งคา่ ปิดการแจ้งเตอื นไว)้ โพสต์ในหน้า
งานของช้ันเรียนมสี ัญลักษณ์ประกอบและความหมาย ดังน้ี

สัญลักษณ์ ชอื่ เรยี ก ควำมหมำย
คาถาม
โพสตท์ ่คี รสู ร้างขึ้นเพื่อให้นักเรียนเขา้ ไปศกึ ษาบทเรยี นจากวีดทิ ัศน์ท่ีครู
สรา้ งขน้ึ เอง พร้อมกบั ตอบคาถามประจาภารกจิ การเรยี นรู้

โพสต์ทคี่ รูสรา้ งขนึ้ มาเพ่ือมอบหมายกจิ กรรมการเรยี นรใู้ ห้ตวั แทนกลมุ่
งาน (เลขานกุ าร) แชร์ไฟล์ต่อให้สมาชกิ ในกลมุ่

โพสตท์ ี่ครสู รา้ งข้ึนมาเพื่อมอบหมายแบบทดสอบก่อน-หลังเรยี น และ

งานแบบทดสอบ แบบทดสอบท้ายแผนการจัดการเรยี นรู้

โพสตท์ ี่ครสู ร้างขนึ้ เพ่ือแจ้งประกาศ เอกสารประกอบการเรียน หรือ
เนอื้ หา ไฟลส์ อ่ื ต่างๆท่ีครูใหน้ กั เรียนศึกษาเพ่มิ เติม

27

ส่วนท่ี 3 กำรใช้ Google Classroom
มอบหมำยภำรกจิ กำรเรยี นรนู้ อกชนั้ เรยี น

กำรสรำ้ งคำถำมและแนบไฟล์วีดทิ ศั นป์ ระจำภำรกจิ กำรเรียนรู้
กอ่ นถึงเวลาจดั การเรยี นรู้ในชั้นเรยี นครูต้องสรา้ งคาถามและแนบไฟลว์ ดี ทิ ศั น์ประจาภารกจิ การเรยี นรู้
เพ่ือใหน้ ักเรยี นตอบคาถามเป็นการยนื ยันว่าไดศ้ ึกษาเน้อื หาในบทเรยี นจากวดี ทิ ัศนป์ ระกอบการเรียนรแู้ ลว้
ซง่ึ มีข้ันตอนดังนี้
1. เลอื กช้ันเรยี นทต่ี ้องการสร้างคาถาม จากน้ันคลิก “งานของชนั้ เรยี น”
2. คลกิ “สร้าง”
3. คลิก “คาถาม”

1

2

3

28
4. ระบบจะแสดงหน้าตา่ งของคาถามขึน้ มา จากนน้ั เลอื กประเภทคาถามเป็นแบบ “คาตอบสั้นๆ”
5. พมิ พ์หวั ข้อภารกิจการเรยี นรู้
6. พิมพ์คาชแี้ จงในการปฎบิ ัติภารกิจการเรียนรู้
7. กาหนดคะแนนเต็มคาถามประจาภารกจิ การเรยี นรู้
8. กาหนดวนั ท่แี ละเวลาที่ครบกาหนดตอบคาถามประจาภารกจิ การเรียนรู้
9. กาหนดหวั ข้อของคาถาม

5
6

89
7
4

29

10. คลิกแนบไฟลจ์ ากเคร่ืองคอมพิวเตอร์

10

11. คลกิ “เลอื กไฟลจ์ ากคอมพิวเตอร์ของคุณ”
12. คลิกเลอื กไฟล์วีดทิ ัศน์ประกอบการเรียนรู้ทีต่ ้องการ
13. คลิก “open”
14. คลิก “อปั โหลด”

11 12
14 13

30

15. ต้งั คา่ ใหน้ กั เรียนไมส่ ามารถตอบกลับระหวา่ งกนั ได้ โดยหลังจากตอบคาถามแลว้ นกั เรียน

จะไม่สามารถดูคาตอบของเพ่ือนรว่ มช้นั และแสดงความคิดเห็นเกยี่ วกับคาตอบของเพื่อนได้

16. ตั้งคา่ ให้นกั เรยี นไม่สามารถแก้ไขคาตอบได้ โดยหลงั จากตอบคาถามแล้ว นักเรยี นจะไมส่ ามารถ

แก้ไขคาตอบของตนเองได้

17. ครูสามารถแนบไฟลป์ ระกอบการคาถามเพิ่มเติมได้ ดงั นี้

A แนบไฟลจ์ ากเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ C แนบลงิ ค์วีดโิ อจาก YouTube

B แนบไฟลจ์ าก Google Drive D แนบลงิ ค์อ่นื ๆ

18. หากตอ้ งการต้งั เวลาโพสตค์ าถาม ให้คลิกสัญลักษณ์ลูกศรดา้ นขา้ งปุ่มถาม แล้วกาหนดวนั เวลาท่ี
ตอ้ งการโพสตค์ าถาม

19. คลิก “ถาม”

15 16
18
AC
BD 19

 กำรแก้ไขคำถำมประจำภำรกิจกำรเรยี นรู้ 31
1. คลกิ สญั ลกั ษณ์ ทีอ่ ยู่มมุ ขวาของหวั ข้อคาถามประจาภารกิจการเรยี นรู้
4. คลกิ “แก้ไข” 3
4

3. ทาการแก้ไขคาถามประจาภารกิจการเรยี นรู้ จากน้ันคลิก “บนั ทกึ ”

3

 กำรลบคำถำมประจำภำรกจิ กำรเรียนรู้ 32
1. คลิกสัญลักษณ์ ทอ่ี ยู่มุมขวาของหวั ข้อคาถาม 1
2. คลกิ “ลบ” 2

หมำยเหตุ

- หากครูลบคาถามทโ่ี พสต์แลว้ คะแนนและความคิดเหน็ ท้งั หมดสาหรบั
คาถามน้ันจะถูกลบไปด้วย

33

กำรสรำ้ งไฟล์กจิ กรรมกำรเรยี นรอู้ อนไลน์

ในการมอบหมายกจิ กรรมการเรียนร้ใู ห้ตัวแทนกลุม่ (เลนุการ)แตล่ ะคร้งั ครตู ้องสรา้ งไฟล์กิจกรรม

การเรยี นรแู้ บบออนไลน์ เพ่ือสาเนาให้ตวั แทนกลุ่ม(เลนกุ าร)แชรไ์ ฟลใ์ หส้ มาชกิ ในกลุม่ สามารถเข้าร่วมทางาน

พร้อมกันได้ โดยครูต้องเตรยี มไฟล์กจิ กรรมการเรยี นรูท้ ีเ่ ป็นไฟล์ .doc หรือ .ppt เพือ่ นามาแปลงใหเ้ ปน็ ไฟล์

google ออนไลน์ ดังนี้

1. เข้าสูร่ ะบบ Google Classroom จากน้นั คลิกสญั ลักษณ์แอป Google

2. คลกิ “ไดรฟ์” 1

2

3. ดบั เบล้ิ คลกิ โฟลเดอร์ “Classroom” (ระบบจะสรา้ งโฟลเดอร์น้ีไว้อตั โนมัตเิ พ่ือเก็บงานในชน้ั เรียน
Google Classroom แยกเป็นรายวชิ า)

3

34
4. คลิกโฟลเดอร์ช้ันเรยี น Google Classroom ทตี่ ้องการสรา้ งไฟลก์ จิ กรรมการเรยี นรู้ออนไลน์

4

5. คลกิ ขวาบรเิ วณพืน้ ท่วี า่ งของโฟลเดอร์ จากนน้ั คลิก “โพลเดอร์ใหม่”
6. ตั้งช่อื โฟลเดอร์เพ่อื ใชเ้ กบ็ ไฟล์กิจกรรมการเรยี นรู้ออนไลน์

5

6

35

7. ลากไฟล์กจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีครเู ตรยี มไวล้ งในโฟลเดอร์

7

8. เม่ือระบบอัปโหลดไฟล์เสร็จสมบรู ณ์แลว้ ใหค้ ลกิ ขวาท่ีไฟล์กิจกรรมการเรียนรู้
9. คลิก “เปิดด้วย” โดยให้เลือกประเภทไฟล์ ดังนี้

 เอกสารรูปแบบ .doc เลอื กเปดิ ด้วย “google เอกสาร”
 เอกสารรูปแบบ .ppt เลอื กเปิดด้วย “google สไลด์”

89

36
10. ระบบจะแปลงไฟล์ให้เปน็ ไฟล์ google ออนไลน์ จากนั้นให้ตรวจสอบความเรียบร้อยของกจิ กรรม
การเรยี นรูเ้ พราะอาจมีบางสว่ นเปลยี่ นไปจากไฟลต์ ้นฉบับ ซง่ึ ครูสามารถแก้ไขปรับปรงุ เพิม่ เตมิ ได้ โดยใช้
เครื่องมือที่ google เตรยี มไว้
11. เม่อื ปรบั ปรงุ แก้ไขไฟลก์ จิ กรรมการเรียนร้เู รยี บร้อยแล้ว ใหป้ ิดไฟล์กจิ กรรมการเรียนรู้ได้ทนั ที
เพราะไฟล์ google ออนไลน์ จะบนั ทึกการเปลย่ี นแปลงของงานแบบอัตโนมัติ

12. จะปรากฏไฟลก์ ิจกรรมการเรยี นรู้ ประเภท google ออนไลน์ อยู่ดา้ นข้างไฟล์ต้นฉบบั ซึ่งสามารถ
ใชน้ าไปแชรใ์ หน้ กั เรียนได้ทันที

37

กำรแชรไ์ ฟล์กิจกรรมกำรเรียนรอู้ อนไลนใ์ ห้ตวั แทนกลมุ่

กอ่ นจะถึงเวลาเรยี นในชั้นเรยี น ครตู อ้ งแชร์ไฟลก์ ิจกรรมการเรยี นรอู้ อนไลนใ์ หต้ วั แทนแต่ละกลมุ่

จากนัน้ ตัวแทนแต่ละกลุม่ จะแชร์ไฟล์กิจกรรมการเรยี นรู้ออนไลน์ให้กับสมาชิกในกลมุ่ เพ่ือให้ทุกคนสามารถ

เข้าร่วมทางานบนไฟล์เดยี วกันได้ ซึง่ มีขน้ั ตอน ดังนี้

1. คลกิ “งานของชัน้ เรยี น”

2. คลิก “สร้าง”

3. คลกิ “งาน” 1

2

3

4. ระบบจะแสดงหนา้ ตา่ งของงานขึ้นมา จากนน้ั พิมพ์หัวข้อกจิ กรรมการเรยี นรู้
5. พมิ พ์คาชแ้ี จงในการปฎิบัติกจิ กรรมการเรียนรู้
6. กาหนดคะแนนเตม็ กิจกรรมการเรยี นรู้
7. กาหนดวันทีแ่ ละเวลาทค่ี รบกาหนดส่งงาน
8. กาหนดหัวขอ้ ของงาน
9. คลิกแนบไฟลก์ ิจกรรมการเรียนรูจ้ าก Google Drive

38

4
5

6 7 8
9

39

10. คลิก “ไดร์ฟของฉัน”
11. เลือกโฟลเดอร์ที่ไดส้ ร้างไฟล์กิจกรรมการเรียนรู้ออนไลนไ์ วแ้ ลว้
12. เลือกไฟล์กจิ กรรมการเรียนรูอ้ อนไลน์ตามต้องการ
13. คลกิ “เพิ่ม”

10

11

12

13

14. คลกิ เลอื กมอบหมายงานให้นกั เรียนทีเ่ ป็นตวั แทนกลุ่ม(เลขานุการ) ในกิจกรรรมการเรียนรูน้ ้นั ๆ
14

40

15. คลิกต้งั คา่ “ทาสาเนาใหน้ ักเรียนแต่ละคน”

16. ครูสามารถแนบไฟล์ประกอบกจิ กรรมการเรียนร้เู พิ่มเติมได้ ดังน้ี

A แนบไฟล์จากเครื่องคอมพวิ เตอร์ C แนบลงิ คว์ ีดิโอจาก YouTube

B แนบไฟลจ์ าก Google Drive D แนบลงิ คอ์ ่ืนๆ

17. หากต้องการต้ังเวลาโพสตค์ าถาม ให้คลกิ สัญลักษณ์ลูกศรดา้ นข้างปุ่มมอบงาน แล้วกาหนดวนั เวลา
ทต่ี อ้ งการมอบหมาย

18. คลกิ “มอบหมาย”

AC 15
BD 17

18

 กำรแกไ้ ขกจิ กรรมกำรเรยี นรู้ 41
1. คลกิ สัญลกั ษณ์ ท่อี ยู่มมุ ขวาของหวั ข้อกิจกรรมการเรียนรู้
2. คลกิ “แก้ไข” 1
2

3. ทาการแก้ไขรายละเอียกกิจกรรมการเรยี นรู้ จากนน้ั คลิก “บนั ทกึ ”

3


Click to View FlipBook Version