The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียนนักศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dorame14062535, 2022-05-10 02:01:14

คู่มือ

คู่มือนักเรียนนักศึกษา 2565

151

152

153

154

155

156

157

158

159

160

161

162

163

164

165

166

167

168

169

170

171

172

173

174

175

176

177

ส่วนที่ 5

ขอ้ มลู เกย่ี วกบั งานท่ปี รึกษา/งานสวสั ดิการ การใหก้ ู้ยืมเงินเพ่ือการศกึ ษา

178

งานสวสั ดิการนกั เรยี น นักศกึ ษา

1. จดั และควบคุมดูแลสวสั ดกิ าร และการใหบ้ ริการดา้ นตา่ งๆ ภายในสถานศึกษา เช่น รา้ นอาหาร นา้ ดม่ื การทา
บัตรตรวจสุขภาพ การทาใบอนญุ าตขับข่ี การขอใชส้ ทิ ธลิ ดค่าโดยสารและยานพาหนะต่างๆ การตรวจสขุ ภาพ
ประจาปี และการตรวจหาสารเสพติด ของนกั เรยี นนักศึกษา และผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรม

2. จดั หาเครื่องมอื และเวชภณั ฑ์ เพื่อปฐมพยาบาล และการใหบ้ ริการสขุ ภาพ แกน่ ักเรยี นนักศกึ ษา และผเู้ ขา้ รับ
การฝึกอบรม

3. ดาเนินการเกย่ี วกบั การปฐมพยาบาล การบริการทางสขุ ภาพแก่นักเรยี นนกั ศึกษา และผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรม
และบุคลากรของ สถานศึกษา

4. ใหค้ าปรึกษาและทาหนา้ ท่เี ก่ียวกับสขุ ภาพ เผยแพร่ความรู้เก่ยี วกับสุขภาพ สง่ิ เสพตดิ และโรคภยั ร้ายแรงตา่ งๆ
ทัง้ การป้องกัน และรักษา

5. จัดการตดิ ตาม และควบคมุ ดูแลการเขา้ พักท้ังภายใน และภายนอกสถานศึกษา ให้เป็นไปตามระเบยี บ
6. จัดโรงอาหาร วางแผน จัดระบบและควบคุมดแู ลการประกอบอาหาร และการใหบ้ รกิ ารแกน่ กั เรยี นนักศึกษา

และผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรม ให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการท่ีดี
7. ประสานงานและให้ความร่วมมอื กบั หนว่ ยงานต่างๆ ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศึกษา
8. จัดทาปฏิทินการปฏบิ ตั งิ าน เสนอโครงการและรายงาน การปฏบิ ตั งิ านตามลาดับขัน้
9. ดแู ล บารุงรกั ษาและรบั ผดิ ชอบทรัพย์สนิ ของสถานศึกษาที่ไดร้ ับมอบหมาย
10.ปฏิบตั ิงานอน่ื ตามท่ีได้รับมอบหมาย

การประกันอบุ ัติเหตุ จานวนเงนิ ๕,000 บาท / ครง้ั
จานวนเงนิ ๒๕,000 บาท
ขั้นตอนการเคลมประกันอบุ ตั ิเหตุ กบั บริษทั ไทยประกนั ภัยจ้ำกดั จานวนเงิน ๕0,00๐ บาท
เบีย้ ประกันนักศึกษา คนละ 250 บาท

ความคุม้ ครอง มีรายละเอยี ดดงั น้ี
1. ค่ารกั ษาพยาบาลแตล่ ะครงั้
2. เสยี ชวี ิตจากการขบั ขี่ หรือ ซอ้ นทา้ ยรถจกั รยานยนต์
๓. เสียชวี ติ จากอบุ ตั ิเหตทุ ัว่ ไป

ในกรณีทเ่ี กิดอุบตั เิ หตุ นักเรียน นักศกึ ษาเข้ารักษาตัว ท่โี รงพยาบาล นกั ศกึ ษาเอาใบรับรองแพทย์ พร้อมกบั
ใบเสร็จตัวจรงิ ใหม้ าเบิกเงินไดท้ ่ฝี า่ ยพฒั นากจิ การนักเรยี น นกั ศึกษา

การเบกิ - จ่ายเงินของนักเรียน นกั ศกึ ษา
ค่ารักษาพยาบาล ไม่เกิน ๕,000 บาท/ ครัง้ เขยี นแบบเรียกร้องคา่ ทดแทนอุบตั เิ หตุนักเรยี น / นกั ศึกษา
และรับเงนิ จากงานสวัสดกิ ารพยาบาล

179

งานทะเบียน

มีหนา้ ท่ีในการจดั ทาทะเบียนประวตั ิ ระเบียนแสดงผลการเรียน ( รบ.1) ตลอดจนออกเอกสารตา่ งๆท่ี
เก่ยี วขอ้ งกบั การเรยี นและความประพฤติและสภาพการเปน็ นกั เรียน นกั ศึกษา จงึ จดั บริการต่างๆให้กบั นกั เรียน
นักศกึ ษา ดงั ต่อไปนี้

1. บรกิ ารออกบัตรประจาตัวนักเรียน นักศกึ ษา
2. บรกิ ารรบั ลงทะเบยี น ได้แก่การลงทะเบียนวิชาเรยี น การเปลย่ี น การถอน-การเพมิ่ รายวชิ า การเรียนซา้

การสอบแก้ตวั การสอบเทียบความรู้ ( ดูประกาศวทิ ยาลยั ประกอบเป็นเรื่องๆ)
3. บริการรบั ลงทะเบยี นรกั ษาสภาพนักเรยี น นักศึกษา
4. บรกิ ารรบั เร่ืองการลาพักการเรียน การขอกลับเข้าเรียน การลาออก
5. บริการรับลงทะเบยี นการเรยี น เพ่อื สอบปรับระดบั คา่ คะแนนเฉล่ยี สะสมใหส้ ูงขนึ้ ( Regrade)
6. บริการออกเอกสารต่างๆ ได้แก่ ใบรับรองการเป็นนักเรยี น นกั ศึกษา ใบระเบียนแสดงผลการเรยี น ( รบ.

1 ) ใบแสดงผลการเรยี นภาษาองั กฤษ ( Transcript)
และรับแจ้งการเรียนจบหลักสูตรเพอ่ื ออกประกาศนยี บัตร
7. บรกิ ารรับแจ้งการเปลีย่ นชือ่ – สกุล ที่อยู่ของนกั เรียน นกั ศึกษา ผูป้ กครอง
8. บริการสอบถามหรือขอดูผลการเรยี นดว้ ยระบบคอมพวิ เตอร์
9. เรอื่ งอน่ื ๆทเี่ ก่ียวกับระเบียนประวตั ิของนกั เรียน นกั ศึกษา

ข้อปฏบิ ัตเิ มอื่ มาตดิ ตอ่ งานทะเบยี น
1. นักเรียน นกั ศกึ ษาต้องแตง่ กายเคร่ืองแบบชุดเรียน นักศกึ ษา สาหรบั ผ้ทู ่สี าเรจ็ การศึกษาไปแลว้ ให้แต่ง
กายสุภาพ
เรยี บรอ้ ย ทุกครง้ั ท่ีมาติดต่อ
2. นาบตั รประจาตวั นกั เรยี น นักศกึ ษามาแสดงดว้ ยทุกครั้ง สาหรับผู้สาเรจ็ การศกึ ษาไปแลว้ แจง้ ชือ่ -สกลุ
สาขาวิชาทเ่ี รยี น ระดับหลักสูตร ปกี ารศึกษาท่ีจบ
3. ติดตอ่ ล่วงหนา้ 3-7 วนั ในกรณีท่ีต้องการขอหลกั ฐานการศึกษาทุกประเภท
4. ปฏบิ ัติตามกาหนดเวลาของวิทยาลยั โดยเคร่งครดั มฉิ ะนัน้ อาจไม่ไดร้ ับความสะดวกเท่าทค่ี วร

สรุปข้นั ตอนในการลงทะเบยี น
1. ใหน้ ักเรียน นักศึกษา ดาวน์โหลดบตั รลงทะเบยี น จากเวป็ ไซต์ http://www.nicc.ac.th
2. กรอกขอ้ ความในบัตรลงทะเบียนใหถ้ ูกต้องและครบถว้ น
3. นาบัตรลงทะเบียน ไปชาระเงินค่าใช้จ่ายตา่ ง ๆทีธ่ นาคารกรงุ ไทยทุกสาขาทวั่ ประเทศ ภายในวนั เวลาท่ี
วทิ ยาลัยฯกาหนด
4. นาสาเนาใบนาฝากเงินที่ธนาคารกรุงไทยออกให้ พร้อมบัตรลงทะเบียนให้ครทู ป่ี รึกษาและงานปกครอง
เพ่อื ลงนา
ภายในวนั เวลา ทีว่ ิทยาลยั ฯ กาหนด
5. ครูทปี่ รึกษารวบรวมส่งงานการเงินและงานทะเบยี น

180

เอกสารท่ีคืนให้แก่นักเรียน นักศกึ ษา
1. ต้นฉบับใบเสร็จรับเงินชาระค่าธรรมเนยี มต่าง ๆ เปน็ เอกสารที่วิทยาลยั ออกให้ เพ่ือแสดงว่านักเรียน
นกั ศกึ ษาไดช้ าระค่าธรรมเนียมตา่ ง ๆไวเ้ รยี บร้อยแลว้ นักเรยี น นกั ศึกษาตอ้ งเก็บรักษาไวจ้ นสน้ิ ภาค
การศึกษาเพอื่ เป็นหลักฐานแสดงต่อเจ้าหน้าทเี่ พื่อการตรวจสอบ

181

ครูที่ปรกึ ษา

หนา้ ทค่ี วามรับผิดชอบของครูท่ีปรกึ ษา
หน้าทคี่ วามรับผิดชอบของครูท่ีปรึกษาตามระเบียบสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาวา่ ด้วยการบริหาร

สถานศึกษาได้กาหนดใหม้ ีครทู ีป่ รกึ ษาทาหนา้ ทด่ี งั ตอ่ ไปน้ี
1. ให้คาปรึกษา แนะนาการทาและตรวจสอบหลกั ฐานสญั ญาการเป็นนักเรียน นักศกึ ษา
2. ปฐมนิเทศนักเรียน นักศกึ ษา ในความรับผิดชอบในด้านการเรียน ความประพฤติ ระเบยี บวินยั และข้อบงั คบั
รวมท้ังสวสั ดิการตา่ งๆ ของสถานศึกษาทีน่ ักเรียน นักศกึ ษามสี ทิ ธิขอรับบริการ
3. ใหค้ วามเหน็ ชอบแก่นกั เรยี น นักศึกษา ในการลงทะเบียนรายวชิ า ลงทะเบียนและหรือลงทะเบียนสอบ
เทยี บความรหู้ รือประสบการณ์ การขอเปลี่ยน การเพ่ิม และขอถอนรายวิชา
4. ใหค้ าปรกึ ษา และให้ความเห็นชอบในการขอผ่อนผันชาระเงินค่าลงทะเบียนรายวิชาของนักเรียน นกั ศกึ ษาท่ี
อยู่ในความรบั ผดิ ชอบ ตดิ ตาม แนะนา และช่วยแก้ปญั หาตา่ ง ๆ พร้อมทั้งรายงานใหผ้ ู้บงั คบั บัญชาทราบ
5. จัดทา เก็บ รวบรวมประวตั ิข้อมูลการเรียน และพฤติกรรมของนักเรียน นักศึกษา ที่อยใู่ นความ
รับผดิ ชอบ เพอ่ื เป็นข้อมลู ในการออกหนังสือรับรองต่างๆ
6. ติดตามชว่ ยเหลือและให้คาปรึกษาเก่ยี วกับการเข้าร่วมกจิ กรรมชมรมตามที่กาหนดไวใ้ นระเบยี บ
กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประเมนิ ผลการเรียนในแต่ละระดบั แกน่ ักเรยี น นกั ศกึ ษา ท่ีอยใู่ นความ
รับผิดชอบ
7. ให้คาปรกึ ษาเก่ยี วกับการเรียน การคานวณหาคา่ ระดบั คะแนนเฉลีย่ แก่นกั เรียน นักศกึ ษา ท่อี ยูใ่ นความ
รับผดิ ชอบ
8. แนะนา หาทางปอ้ งกัน และติดตามนกั เรยี น นกั ศึกษาที่ขาดเรยี น
9. ใหค้ วามคิดเหน็ และข้อมลู เกี่ยวกบั การกาหนดรายวชิ าในการลงทะเบยี นแตล่ ะภาคเรียน
10.ตดิ ตอ่ ประสานงานกบั ผปู้ กครอง พรอ้ มทง้ั รายงานผลการเรยี นและพฤติกรรมของนักเรยี น นักศกึ ษาท่ีอย่ใู น
ความ
รับผดิ ชอบใหผ้ ้ปู กครองทราบ
11.ตดิ ตาม แนะนา และชว่ ยแก้ปญั หาให้นักเรยี น นักศกึ ษา ท่ขี อผ่อนชาระเงนิ คา่ ลงทะเบยี นรายวชิ าก่อนวนั
สอบ
ปลายภาคเรียน และรายงานให้ผบู้ ังคบั บัญชาทราบ
12.ใหค้ าปรกึ ษาตักเตอื นดูแล แก้ไข และปรบั ปรุง ความประพฤติของนกั เรียน นกั ศึกษาที่อย่ใู นความรบั ผดิ ชอบ
13.ประสานงานกบั แผนกวชิ า หรืองานอ่ืนท่เี ก่ยี วข้อง

14.ปฏบิ ตั ิหน้าท่อี ่นื ๆ ทผ่ี ู้บงั คับบัญชามอบหมาย
- การขอผ่อนผันชาระเงนิ ค่าลงทะเบยี นรายวชิ า
- การลาพกั การเรยี น
- การขอเปลยี่ น ขอถอน และขอเพมิ่ รายวิชา
- การเข้าร่วมกิจกรรม

182

15.ตรวจสอบผลการเรียนของนกั เรยี น นกั ศกึ ษาในความรับผิดชอบทุกภาคเรยี น
16.ประสานกบั ครูประจาวิชา หัวหน้าแผนก หัวหน้างาน ผปู้ กครอง ฯลฯ เพอื่ รว่ มกันพิจารณา ช่วยนกั เรียน

นกั ศึกษาในเร่ืองการเรยี น
17.ประสานงานกับงานปกครอง งานแนะแนวอาชีพและจดั หางาน เพ่ือรว่ มกนั พจิ ารณาชว่ ยเหลือนักเรียน

นักศกึ ษาท่ีมปี ัญหาอนั เป็นอปุ สรรคต่อการศึกษาเล่าเรยี น
18.รายงานผลการเรียนและความประพฤติของนักเรยี นนกั ศกึ ษาใหผ้ ู้ปกครองทราบอย่างน้อยภาคเรยี นละ1

คร้งั
19.ใหค้ าปรกึ ษาแกน่ ักเรยี น นักศึกษาในความรับผดิ ชอบในเร่ืองการเรยี น และเรือ่ งสว่ นตัว ทั้งเปน็ กลุ่มและ

รายบุคคล
20.หมนั่ พบปะนกั เรยี นนักศึกษาในความรบั ผิดชอบเปน็ ประจา
21.พบปะกับผ้ปู กครองนักเรียนนักศกึ ษาตามโอกาสอันควร

183

งานแนะแนวอาชีพและจดั หางาน

1.บริการใหค้ าปรกึ ษาในดา้ น

- การวางแผนการเรยี น - การประกอบอาชพี
- การสมัครงาน - การศึกษาต่อ
- บคุ ลกิ ภาพ - การขาดแคลนทุนทรัพย์
- การรว่ มกิจกรรมตา่ งๆ

2. บรกิ ารด้านทนุ การศึกษา / รบั สมัครและคัดเลือกนกั เรียน นกั ศกึ ษาเพ่ือขอรบั ทุนการศึกษา

คุณสมบตั ผิ ขู้ อรับทุนการศึกษา

- มีความประพฤติดี - มผี ลการเรยี นดี

- ขาดแคลนทนุ ทรัพย์ - เอาใจใสต่ ่อการเรยี น

- ปฏบิ ัติตามระเบยี บวินยั ของวทิ ยาลยั - ทาประโยชน์ให้กับสังคม

ขั้นตอนการสมัครขอรับทนุ การศึกษา

1. เขียนประวตั ิส่วนตวั การศึกษา และเหตผุ ลการขอรบั ทุนการศึกษา มีผปู้ กครองรบั รองวา่ เป็นความจรงิ

โดยผา่ นความเห็นชอบของคุณครทู ่ีปรึกษา หัวหนา้ แผนกวิชา และหัวหน้างานปกครอง

2. ยน่ื ใบสมคั รขอรับทุนการศึกษาพรอ้ มเอกสารประกอบการพิจารณาตอ่ เจา้ หนา้ ทผ่ี ู้รบั ผดิ ชอบ ตามระยะเวลาที่

กาหนด

3. บริการกองทุนเงนิ ให้ก้ยู ืมเพ่ือการศกึ ษา(กยศ.)ซึง่ เปน็ กองทุนของรัฐบาล โดยกระทรวงการคลัง
กองทุนเงินใหก้ ู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) กาหนดเง่อื นไขวธิ ีการและขัน้ ตอนการขอกู้เงนิ ดงั นี้

คุณสมบตั ขิ องผกู้ ู้ยืมเงนิ
1. การพิจารณาคดั เลอื กผู้กูย้ มื เงิน

1.1 คุณสมบัติทั่วไปและลักษณะต้องห้ามของนักเรียนหรือนักศึกษาที่จะขอกู้ยืมเงินเพื่อการศึกษาจะต้องมี
คณุ สมบัติท่วั ไปและไมม่ ลี ักษณะต้องห้าม ดังนี้

ก. คณุ สมบตั ทิ ่วั ไป ดงั น้ี

(1) มีสญั ชำตไิ ทย

(2) ศกึ ษำหรือไดร้ ับกำรตอบรับให้เขำ้ ศกึ ษำอยู่ในสถำนศกึ ษำทร่ี ว่ มด้ำเนินงำนกับกองทุน

(3) เป็นผู้ขอกู้ยืมเงินเพื่อกำรศึกษำในกำรเข้ำศึกษำท่ีสถำนศึกษำเพียงแห่งเดียวในครำวภำคกำรศึกษำ
เดียวกนั

(4) มผี ลกำรเรียนดหี รอื ผำ่ นเกณฑ์กำรวัดและประเมนิ ผลของสถำนศึกษำ

184

(5) มีควำมประพฤตดิ ี ไม่ฝำ่ ฝืนระเบียบข้อบังคับของสถำนศึกษำขนั ร้ำยแรงหรือไม่เป็นผู้ที่มคี วำมประพฤตเิ สือ่ ม
เสีย เช่น หมกมุ่นในกำรพนัน เสพยำเสพติดให้โทษ ดื่มสุรำเป็นอำจิณหรือเที่ยวเตร่ในสถำนบันเทิงเริงรมย์เป็นอำจิณ
เปน็ ต้น

ข. ลกั ษณะตอ้ งห้าม ดังนี้

(1) เป็นผู้ส้ำเร็จกำรศึกษำระดับปริญญำตรีในสำขำใดสำขำหนง่ึ มำก่อน เว้นแต่จะได้ก้ำหนดเป็นอย่ำงอื่น
ในคุณสมบตั ิเฉพำะส้ำหรับกำรใหเ้ งินกู้ยืมเพ่ือกำรศึกษำลกั ษณะหนง่ึ ลกั ษณะใด

(2) เปน็ ผู้ปฏบิ ัติงำนและรับเงินเดือนหรอื ค่ำจ้ำงประจ้ำในหนว่ ยงำนของรัฐหรือเอกชนในลักษณะเตม็ เวลำ
เว้นแต่จะไดก้ ำ้ หนดเป็นอยำ่ งอ่นื ในคณุ สมบตั ิเฉพำะส้ำหรับกำรให้เงนิ กูย้ ืมเพ่ือกำรศึกษำลกั ษณะหนง่ึ ลักษณะใด

(3) เปน็ บคุ คลล้มละลำย

(4) เปน็ หรือเคยเป็นผู้ได้รับโทษจ้ำคุกโดยค้ำพิพำกษำถึงท่สี ุดใหจ้ ำ้ คุก เวน้ แต่เปน็ โทษสำ้ หรบั ควำมผดิ ท่ีได้
กระทำ้ โดยประมำทหรอื ควำมผิดลหโุ ทษ

(5) เป็นหรือเคยเป็นผู้ท่ีผิดนัดช้ำระหนีกับกองทุน เว้นแต่ได้ช้ำระหนีดังกล่ำวครบถ้วนแล้วนอกจำกที่
ก้ำหนดในข้อ ก. และ ข. นักเรียนหรือนักศึกษำผู้จะขอกู้ยืมเงินเพ่ือกำรศึกษำในลักษณะใดลักษณะหน่ึง ต้องมี
คุณสมบัติเฉพำะและไม่มีลักษณะต้องห้ำมเฉพำะอ่ืนตำมที่คณะกรรมกำรประกำศก้ำหนดส้ำหรับกำรให้กู้ยืมเงินเพื่อ
กำรศึกษำในลักษณะนนั ๆ ด้วย

1.2 คุณสมบัติเฉพาะของนักเรียนหรือนักศึกษาผู้กู้ยืมเงินกองทุน ในลักษณะที่ 1 ให้การสนับสนุน และ
สง่ เสริมการศกึ ษาแกน่ กั เรยี นหรือนักศึกษาทแี่ คลนทุนทรัพย์

นักเรียนหรอื นักศึกษำผ้จู ะขอกู้ยืมเงินกู้ยืมเพื่อกำรศึกษำ ในลักษณะที่ 1 นอกจำกจะต้องมีคุณสมบัติท่ัวไป
และไม่มีลักษณะต้องห้ำมตำมข้อ 7 วรรคหนึ่ง ของระเบียบคณะกรรมกำรกองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือกำรศึกษำว่ำด้วย
หลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงื่อนไขเกี่ยวกับกำรให้เงินกู้ยืมเพ่ือกำรศึกษำและกำรช้ำระเงินคืนกองทุน พ.ศ. 2561 แล้ว
จะตอ้ งมคี ณุ สมบตั เิ ฉพำะดงั ต่อไปนี

(1) เป็นผู้ทม่ี รี ำยได้ต่อครอบครัว ไม่เกินสำมแสนหกหมื่นบำทตอ่ ปี ทงั นี รำยได้ต่อครอบครัวใหพ้ ิจำรณำจำก
หลักเกณฑข์ ้อใดขอ้ หนึ่ง ดงั นี

(ก) รำยได้รวมของนักเรียนหรือนักศึกษำผู้ขอกู้ยืมเงิน รวมกับรำยได้ของบิดำมำรดำ ในกรณีที่บิดำ
มำรดำเป็นผู้ใชอ้ ้ำนำจปกครอง

(ข) รำยไดร้ วมของนักเรียนหรอื นกั ศึกษำผู้ขอกูย้ ืมเงิน รวมกับรำยได้ของผปู้ กครอง ในกรณที ผี่ ู้ใชอ้ ้ำนำจ
ปกครอง มใิ ช่บดิ ำมำรดำ

185

(ค) รำยได้รวมของนักเรียนหรือนักศึกษำผู้ขอกู้ยืมเงนิ รวมกับรำยได้ของคู่สมรส ในกรณีผูข้ อกู้ยืมเงินได้
ทำ้ กำรสมรสแล้ว

ให้นักเรียนหรือนักศึกษำผู้ขอกู้ยืมเงินแนบหลักฐำนใบสรุปยอดเงินเดือนท่ีได้รับทังเดือน (สลิปเงินเดือน) หรือ
สำ้ เนำบัตรสวัสดิกำรแห่งรัฐ เว้นแต่ครอบครวั ท่ีไม่มรี ำยได้ประจ้ำหรือไม่มีบัตรสวสั ดิกำรแห่งรัฐ ให้จัดหำเจ้ำหน้ำที่ของ
รัฐ เจ้ำหน้ำท่ีของรัฐผู้รับบ้ำเหน็จบ้ำนำญ สมำชิกสภำเขต สมำชิกสภำกรุงเทพมหำนคร ผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนคร
หรือหัวหนำ้ สถำนศึกษำทน่ี ักเรียนหรือนกั ศึกษำผ้ขู อกู้ยืมเงินศึกษำอยู่ เป็นผู้รบั รองรำยได้เพ่ือใหก้ องทนุ ใช้ประกอบกำร
พิจำรณำรำยไดต้ ่อครอบครวั ดงั กล่ำวด้วย

(2) เป็นผู้ที่มีอำยใุ นขณะที่ขอกยู้ ืมเงินกองทนุ โดยเม่ือนับรวมกับระยะเวลำปลอดหนีสองปี และระยะเวลำผ่อน
ช้ำระอกี สิบหำ้ ปี รวมกนั แลว้ ตอ้ งไมเ่ กนิ หกสิบปี

(3) เปน็ ผูท้ เ่ี ข้ำศึกษำในระดบั กำรศึกษำมัธยมปลำย (สำยสำมัญ/สำยอำชพี ) ระดบั อำชีวศึกษำ (ประกำศนียบตั ร
วิชำชพี ชนั สงู อนุปรญิ ญำ/ปริญญำตร)ี หรอื ระดบั อุดมศกึ ษำ (อนุปรญิ ญำ/ปริญญำตรี)

(4) เป็นผู้ที่ท้ำประโยชน์ต่อสังคมหรือสำธำรณะในระหว่ำงปีกำรศึกษำก่อนหน้ำปีกำรศึกษำที่จะขอกู้ยืมเงิน
โดยมีหลักฐำนกำรเข้ำร่วมโครงกำร/กิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสังคมหรือสำธำรณะท่ีน่ำเชื่อถือตำมจ้ำนวนช่ัวโมงที่
ก้ำหนดส้ำหรับผู้ขอกู้ยมื เงนิ แต่ละกลุ่ม ดงั ตอ่ ไปนี

(ก) กรณีเป็นผู้กู้ยืมเงินรำยใหม่ หรือเป็นผู้กู้ยืมเงินรำยเก่ำเปล่ียนระดับกำรศึกษำที่ศึกษำในระดับ
อนุปริญญำหรือปรญิ ญำตรี ไม่ก้ำหนดจำ้ นวนชัว่ โมง

(ข) กรณเี ปน็ ผ้กู ยู้ มื เงนิ รำยเก่ำเลอ่ื นชนั ปที กุ ระดับกำรศึกษำ ไมน่ ้อยกวำ่ สำมสบิ หกชวั่ โมง
กำรทำ้ ประโยชนต์ อ่ สังคมหรือสำธำรณะตำมวรรคหน่ึง หมำยถึง กำรบำ้ เพญ็ ตนให้เป็นประโยชนต์ ่อชมุ ชน สงั คม
หรือประเทศชำติในลักษณะอำสำสมัคร เพื่อช่วยขัดเกลำจิตใจให้มีควำมเมตตำกรุณำ มีควำมเสียสละและมีจิต
สำธำรณะ เพื่อช่วยสรำ้ งสรรค์สงั คมหรือสำธำรณะให้อยู่รว่ มกนั อย่ำงมีควำมสุข ซึ่งจะตอ้ งไม่เป็นส่วนหน่งึ ของกำรเรียน
กำรสอนและไม่ได้รบั คำ่ ตอบแทนในลักษณะกำรจ้ำง

186

1.3 คุณสมบัติเฉพาะของนักเรียนหรือนักศึกษาผู้กู้ยืมเงินกองทุน ในลักษณะที่ 2 ให้การสนับสนุน และ
ส่งเสริมการศึกษาแก่นักเรียนหรือนักศึกษาท่ีศึกษาในสาขาวิชา ท่ีเป็นความต้องการหลัก ซ่ึงมีความชัดเจน ของ
การผลติ กาลงั คนและมคี วามจาเปน็ ต่อการพัฒนาประเทศ

นักเรียนหรือนักศึกษำผู้จะขอกู้ยืมเงินกู้ยืมเพื่อกำรศึกษำในลักษณะที่ 2 นอกจำกจะต้องมีคุณสมบัติ
ทั่วไปและไม่มีลักษณะต้องห้ำมตำมข้อ 7 วรรคหนึง่ ของระเบียบคณะกรรมกำรกองทุนเงินให้กู้ยมื เพื่อกำรศึกษำว่ำด้วย
หลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงื่อนไขเก่ียวกับกำรให้เงินกู้ยืมเพ่ือกำรศึกษำและกำรช้ำระเงินคืนกองทุน พ.ศ. 2561 แล้ว
จะต้องมีคุณสมบตั ิเฉพำะดังต่อไปนี

(1) เป็นผู้ท่ีศึกษำในสำขำวิชำตำมประกำศคณะกรรมกำรกองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือกำรศึกษำ ว่ำด้วย สำขำวิชำท่ี
เป็นควำมต้องกำรหลกั ซึง่ มคี วำมชดั เจนของกำรผลิตก้ำลงั คนและมีควำมจำ้ เปน็ ตอ่ กำรพฒั นำประเทศ

(2) เปน็ ผทู้ มี่ อี ำยไุ ม่เกนิ 30 ปีบริบรู ณ์ ในปีกำรศกึ ษำที่ย่นื คำ้ ขอกู้ยืมเงินกองทุนครังแรก
(3) เปน็ ผู้ท่เี ข้ำศึกษำในระดับกำรศึกษำและหลักสตู ร/ประเภทวชิ ำและสำขำวิชำ ดงั นี

(ก) ระดับกำรศึกษำอนุปริญญำ ประกำศนียบัตรวิชำชีพชันสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่ำระดับปริญญำตรี
หรือเทียบเทำ่

(ข) หลกั สูตร/ประเภทวิชำและสำขำวิชำเป็นไปตำมประกำศท่คี ณะกรรมกำรกำ้ หนด
(4) เป็นผ้ทู ี่ท้ำประโยชน์ต่อสังคมหรือสำธำรณะในระหวำ่ งปกี ำรศึกษำก่อนหน้ำปีกำรศึกษำท่ีจะขอกู้ยืมเงิน โดย
มีหลักฐำนกำรเข้ำร่วมโครงกำร/กิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสังคมหรือสำธำรณะที่น่ำเชื่อถือตำมจ้ำนวนช่ัวโมงที่ก้ำหนด
ส้ำหรบั ผขู้ อกู้ยมื เงินแต่ละกลุ่ม ดังตอ่ ไปนี

(ก) กรณีเป็นผู้กู้ยืมเงินรำยใหม่ หรือเป็นผู้กู้ยืมเงินรำยเก่ำเปลี่ยนระดับกำรศึกษำที่ศึกษำในระดับ
อนุปรญิ ญำหรือปริญญำตรี ไม่กำ้ หนดจ้ำนวนชั่วโมง

(ข) กรณีเป็นผู้กู้ยืมเงินรำยเก่ำเลื่อนชันปีทุกระดับกำรศึกษำ ไม่น้อยกว่ำสำมสิบหกช่ัวโมงกำรท้ำ
ประโยชน์ต่อสังคมหรือสำธำรณะตำมวรรคหน่ึง หมำยถึง กำรบ้ำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชน สังคมหรือ
ประเทศชำติในลักษณะอำสำสมัคร เพ่ือช่วยขัดเกลำจติ ใจใหม้ ีควำมเมตตำกรณุ ำ มีควำมเสยี สละและมจี ติ สำธำรณะเพื่อ
ช่วยสร้ำงสรรค์สังคมหรือสำธำรณะให้อยู่ร่วมกันอย่ำงมีควำมสุข ซ่ึงจะต้องไม่เป็นส่วนหนึ่งของกำรเรียนกำรสอนและ
ไม่ไดร้ ับคำ่ ตอบแทนในลักษณะกำรจำ้ ง

187

(5) นกั เรียนหรือนักศึกษำซ่ึงมีคณุ สมบัติตำมข้อ (1) – (4) หำกประสงค์จะกู้ยืมเงินคำ่ ครองชีพจะต้องเป็น ผู้ท่ีมี
รำยได้ต่อครอบครัวไมเ่ กินสำมแสนหกหม่ืนบำทต่อปี ทงั นี รำยได้ตอ่ ครอบครัว ให้พิจำรณำจำกหลกั เกณฑข์ ้อใดขอ้ หนึ่ง
ดงั นี

(1) รำยได้รวมของนักเรียนหรือนกั ศึกษำผ้ขู อกูย้ มื เงนิ รวมกับรำยได้ของบิดำมำรดำ ในกรณีที่บิดำมำรดำเป็น
ผู้ใช้อำ้ นำจปกครอง

(2) รำยได้รวมของนักเรียนหรือนักศึกษำผู้ขอกู้ยืมเงิน รวมกับรำยได้ของผู้ปกครอง ในกรณีที่ผู้ใช้อ้ำนำจ
ปกครองมิใชบ่ ิดำมำรดำ

(3) รำยได้รวมของนักเรียนหรือนักศึกษำผู้ขอกู้ยืมเงิน รวมกับรำยได้ของคู่สมรส ในกรณีผู้ขอกู้ยืมเงินได้ท้ำ
กำรสมรสแล้ว

ให้นักเรียนหรือนักศึกษำผู้ขอกู้ยืมเงินแนบหลักฐำนใบสรุปยอดเงินเดือนท่ีได้รับทังเดือน (สลิปเงินเดือน) หรือ
ส้ำเนำบัตรสวัสดิกำรแห่งรัฐ เว้นแต่ครอบครวั ท่ีไม่มรี ำยได้ประจ้ำหรือไม่มบี ัตรสวสั ดิกำรแห่งรัฐ ให้จัดหำเจ้ำหน้ำท่ีของ
รัฐ เจ้ำหน้ำที่ของรัฐผู้รับบ้ำเหน็จบ้ำนำญ สมำชิกสภำเขต สมำชิกสภำกรุงเทพมหำนคร ผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนคร
หรือหัวหน้ำสถำนศึกษำท่ีนักเรียนหรือนักศึกษำผู้ขอกู้ยืมเงินศึกษำอยู่ เป็นผู้รับรองรำยได้ เพ่ือให้กองทุนใช้
ประกอบกำรพจิ ำรณำรำยได้ต่อครอบครวั ดงั กล่ำวดว้ ย

รายการเอกสาร/หลกั ฐานท่ใี ช้ประกอบการพจิ ารณากู้ยมื เงิน
1. แบบคาขอกยู้ ืมเงินท่จี ัดพิมพ์ออกจากระบบ e-Studentloan และแบบคาขอกู้ยืมเงินท่เี ป็นเอกสาร(แบบ กยศ.
101)
2. เอกสารของผู้ย่ืนคาขอกูย้ ืมเงิน

- สาเนาทะเบียนบา้ น หรือ
- สาเนาบตั รประจาตวั ประชาชน
3. เอกสารของบดิ า และมารดา หรอื ผู้ปกครอง หรอื คสู่ มรสของผ้ยู นื่ คาขอกยู้ มื เงนิ
- สาเนาทะเบยี นบ้าน หรอื
- สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน
4. เอกสารประกอบการรบั รองรายได้ ดงั น้ี
4.1 กรณบี ิดา มารดา ผู้ปกครอง หรอื คสู่ มรสของผู้ขอกยู้ ืมเงนิ มรี ายได้ประจา ใหใ้ ชห้ นงั สือรบั รองเงนิ เดือน/
สลิปเงินเดอื นของบุคคลนน้ั แลว้ แต่กรณี
4.2 กรณบี ดิ า มารดา ผูป้ กครอง ผู้ย่ืนคาขอกยู้ ืมเงิน หรอื คู่สมรสของผขู้ อกู้ยืมเงินไม่มรี ายไดป้ ระจาให้ใช้
หนังสอื รับรองรายไดค้ รอบครัวของผ้ขู อกูย้ ืมเงิน (แบบ กยศ.102) และสาเนาบตั รประจาตัวข้าราชการของผ้รู บั รอง
รายได้
5. หนงั สอื แสดงความคิดเห็นของอาจารย์แนะแนวหรืออาจารยท์ ี่ปรกึ ษา (แบบ กยศ.103)
6. แผนผังแสดงทตี่ ง้ั ของท่อี ยู่อาศยั พร้อมรูปถา่ ยท่ีอยู่อาศยั ของบดิ า มารดา หรือผูป้ กครอง

188

7. ใบแสดงผลการศึกษา/สาเร็จการศกึ ษาในปีการศึกษาท่ีผ่านมา
8. เอกสารอน่ื ๆ ซง่ึ สถานศกึ ษาพิจารณาเพ่ิมเตมิ
* หมายเหตุ : สาเนาเอกสารทุกฉบับต้องลงลายมือชื่อ โดยเจา้ ของเอกสาร เช่น สาเนาบตั รประจาตวั ประชาชนของ
บดิ า บิดาตอ้ งเป็นผู้รบั รองสาเนาถูกต้อง เป็นตน้

การค้าประกนั
ผคู้ า้ ประกันต้องเป็นผ้บู รรลุนิตภิ าวะ ดงั น้ี

1. บิดา มารดา หรอื ผใู้ ช้อานาจปกครอง หรือคสู่ มรส หรือ
2. บคุ คลท่ปี ระกอบอาชพี มีรายไดน้ ่าเชื่อถือตามที่คณะกรรมการพจิ ารณาใหก้ ยู้ ืมประจาสถานศึกษากาหนดให้
เป็นผคู้ า้ ประกันได้
แนวปฏบิ ตั ิเร่อื งการคา้ ประกัน

1. กรณีที่นักเรยี น/นกั ศึกษา ไมม่ ีบิดา มารดา ใหผ้ ้ใู ชอ้ านาจปกครองเปน็ ผใู้ ห้การยนิ ยอมในการทานิติกรรม
สัญญาและเปน็ ผ้คู ้าประกนั “ผปู้ กครอง” ได้แก่ ผปู้ กครองตามประกาศคณะปฏวิ ตั ิ ฉบับท่ี 132 กฎกระทรวง ระเบียบ
ท่อี อกตามกฎหมายดังกล่าว รวมท้งั ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เร่อื งผูป้ กครอง นักเรยี น/นักศกึ ษา ซึ่งหมายถึง
บคุ คลซง่ึ รับนักเรียน/นกั ศึกษาไวใ้ นความปกครอง หรืออปุ การะเล้ียงดู หรอื บคุ คลท่นี ักเรียน/นักศึกษาอาศยั อยู่

2. กรณีคู่สมรสของผู้ค้าประกนั ไมย่ ินยอมลงนามให้ความยนิ ยอมคา้ ประกัน ให้ผ้คู า้ ประกนั ลงนามฝ่ายเดียวได้
3. กรณีค่สู มรสของผู้คา้ ประกันมอบอานาจใหผ้ คู้ ้าประกนั ลงลายมือชอ่ื ฝ่ายเดียวแทน ให้ผคู้ า้ ประกันลงนาม
ฝา่ ยเดยี วได้
4. ผู้ค้าประกันไม่สามารถเพิกถอนการคา้ ประกนั ได้ ในระหว่างเวลาท่ผี ู้กูย้ มื เงิน ตอ้ งรบั ผดิ ชอบอยู่ตามเงอ่ื นไข
ในสัญญากยู้ มื เงนิ
5. ในการทาสญั ญาก้ยู มื เงินแต่ละครง้ั ผู้กูย้ มื เงนิ อาจเปลยี่ นแปลงผู้คา้ ประกนั ใหม่ได้ โดยไม่จาเป็นต้องใชผ้ ้คู า้
ประกนั คนเดิม

แนวปฏิบตั เิ รอื่ งการเปลยี่ นแปลงข้อมูลผู้คา้ ประกนั

1. กรณที ี่ผกู้ ู้ยืมได้บนั ทึกรายละเอยี ดผคู้ ้าประกัน(ข้ันตอนท่ี 4 ในระบบ e-Studentloan) แตย่ ังมไิ ด้มีการทา
สญั ญาหากผกู้ ู้ยืมประสงคจ์ ะเปล่ยี นแปลงแก้ไขผ้คู ้าประกนั เพราะผู้ค้าประกนั คนเดิมไม่ได้ มีสัญชาติไทยก็ดี หรือเพราะ
ด้วยเหตุผลใดๆ กด็ ี กรณนี ้ีกองทุน เห็นวา่ ควรอนญุ าตให้ผู้กู้ยมื เปล่ยี นแปลงแกไ้ ขผู้คา้ ประกันในระบบ e-
Studentloan ได้

2. กรณีที่ผู้กู้ยืมไดม้ ีการทาสญั ญาแลว้ แต่อยใู่ นขนั้ ตอนสถานศึกษาตรวจสัญญา (ขัน้ ตอนที่ 5 ในระบบ
e-Studentloan) และผู้บรหิ ารสถานศกึ ษายงั มิไดล้ งนามในฐานะผูใ้ หก้ ้ยู ืม หากผ้กู ูย้ มื ประสงค์จะเปลี่ยนแปลงแก้ไขผู้คา้
ประกนั เพราะผคู้ ้าประกันคนเดมิ ไม่ได้มีสัญชาติไทยกด็ ี หรือเพราะด้วยเหตุผลใดๆ กด็ ี กรณีนีก้ องทนุ เห็นวา่ ควร
อนญุ าตใหผ้ ู้กูย้ มื เปลี่ยนแปลงแกไ้ ขผคู้ ้าประกัน โดยการทาสญั ญาฉบบั ใหม่ หรือใชว้ ธิ ขี ดี ฆ่าช่อื ผคู้ า้ ประกันเดิม และระบุ
ชอ่ื ผคู้ ้าประกันคนใหม่แล้วลงนามกากบั และให้ผู้คา้ ประกนั คนใหม่ลงชอ่ื ในฐานะผคู้ า้ ประกนั ด้วย

189

3. กรณที ี่ผู้กู้ยืม ผ้คู า้ ประกัน และผู้ให้กยู้ ืม(ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา) ไดล้ งนามในสัญญาค้าประกันแล้ว หากผู้
กู้ยมื ประสงค์จะแก้ไขเปลย่ี นแปลงผ้คู ้าประกนั เพราะผคู้ า้ ประกนั คนเดิมไมไ่ ดม้ สี ญั ชาติไทย เพราะดว้ ยเหตผุ ลใดๆ ก็ดี
กรณีนี้กองทนุ ขอใหส้ ถานศึกษาดาเนินการจัดทาบนั ทึกข้อตกลงแนบท้ายสัญญา เพ่ือให้ผกู้ ู้ยืม ผู้คา้ ประกนั คนใหม่ และ
ผูบ้ ริหารสถานศึกษาในฐานะผู้ใหก้ ยู้ ืม ลงนามในบันทึกขอ้ ตกลง แลว้ ส่งบนั ทึกข้อตกลงดงั กลา่ วให้ธนาคาร

4. กรณีท่ผี ้กู ู้ยืมเงินได้รับโอนเงินคา่ เล่าเรยี นแล้วไม่สามารถขอเปล่ยี นแปลงข้อมลู การค้าประกนั ได้

วธิ ีการขอกู้ยมื
1. การกยู้ มื เงินกองทุนเงนิ ใหก้ ูย้ มื เพ่ือการศกึ ษาเป็นการกยู้ มื เงนิ รายปี นักเรียน นกั ศกึ ษาต้องยืน่ คาขอกพู้ ร้อม

หลักฐานตอ่
สถาบนั การศึกษาท่ีตนเองกาลังเรยี นอยู่หรือสถาบันการศึกษาท่เี ข้าเรยี นใหม่ โดยรบั แบบคาขอกู้ไดท้ ่ีงานแนะแนวอาชพี
และจดั หางาน

2. นักเรยี น นกั ศกึ ษา กรอกแบบคาขอกู้ยมื
3. นักเรียน นักศึกษาย่นื คาขอกู้พร้อมหลักฐาน ทงี่ านแนะแนวอาชีพและจดั หางาน
4. นักเรียน นักศกึ ษาต้องลงทะเบยี นและยืน่ การกู้ยืมผ่านระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ ของกองทนุ เงนิ ใหก้ ูย้ ืมเพือ่
การศึกษาเวบ็ ไซต์ http://www.studentloan.or.th การลงทะเบียนผา่ นระบบอิเล็กทรอนิกส์ จะต้องดาเนินการเป็น
ภาคเรียน และต้องจารหัสผ่านของตนเอง
5. สถานศึกษาคดั เลอื กนักเรยี น นักศึกษาผู้กู้
6. เม่อื ได้รบั อนุมัตจิ ากสถานศกึ ษา ใหท้ าสญั ญาโดยมีการประกันสญั ญากู้ยมื
7. เปดิ บัญชอี อมทรัพยก์ บั ธนาคารกรุงไทยสาขาใดก็ได้ กรณกี ารกยู้ มื คร้ังแรก

การลงนามค้าประกันในสญั ญาก้ยู ืมเงนิ
ใหผ้ ู้คา้ ประกันลงลายมือชอ่ื ค้าประกันในสญั ญากยู้ ืมตอ่ หน้าสถานศกึ ษา หากผู้ค้าประกันมที ีอ่ ยู่

ห่างไกลจาก
สถานศึกษาให้จดั สง่ สญั ญาให้ผคู้ า้ ประกนั ลงลายมือช่ือคา้ ประกันได้ และต้องให้เจา้ พนักงานทะเบียนทอ้ งที่ (อาเภอ)
หรือเจ้าพนักงานทะเบยี นท้องถนิ่ (เทศบาลหรือสานักงานเขต) ในเขตพ้ืนทีท่ ผี่ ู้ค้าประกนั อาศัยอยู่ ลงนามรับรองลายมือ
ชอ่ื ของผู้ค้าประกัน

เงอื่ นไขและข้อปฏบิ ตั ทิ ่คี วรทราบในการทาสญั ญากยู้ ืม
๑. ตอ้ งไม่ทาสญั ญาเกนิ ขอบเขตวงเงินกู้ยมื ที่ไดร้ บั
๒. ให้ผกู้ ู้ยืมเงนิ กรอกสัญญาให้ครบถ้วน โดยเฉพาะเลขบตั รประจาตัวประชาชน ทอ่ี ยู่ ระดับการศึกษา และชัน้ ปี
การศึกษา หากเอกสารไม่ถูกต้องครบถว้ นจะมผี ลให้การพิจารณาอนมุ ัตเิ งนิ กู้ยืมลา่ ช้า
๓. กรณมี ีการแก้ไขแหง่ ใดในสญั ญา ผกู้ ้ยู มื ต้องลงลายมือชื่อกากบั ทกุ แหง่ และหา้ มใช้น้ายาลบคาผดิ
(ลคิ วดิ เปเปอร)์ และหากกรอกข้อมลู ทไี่ ม่ตรงกบั ความเป็นจรงิ จะถือวา่ ใหข้ ้อมลู เป็นเทจ็ มคี วามผดิ ตาม
ประมวลกฎหมายอาญา
๔. เอกสารทุกฉบบั ต้องลงลายมือช่ือรบั รองสาเนาถูกต้อง โดยเจา้ ของเอกสารเป็นผูล้ งลายมือชือ่ ด้วยตนเอง ไดแ้ ก่
ผกู้ ูย้ มื บิดามารดา ผูป้ กครอง และผคู้ า้ ประกัน ผูร้ บั รองเงินเดือนหรือรายได้ อาจารย์แนะแนวและ อาจารยท์ ี่
ปรึกษา เปน็ ต้น

190

๕. ผกู้ ยู้ ืมทีศ่ ึกษาช้ันปสี ุดท้ายของหลกั สูตร ให้ระบุ “ช้ันปีสดุ ท้าย” ทม่ี มุ ขวาของสญั ญาด้วย
๖. ผกู้ ูย้ ืม ผคู้ ้าประกนั ผู้แทนโดยชอบธรรม (กรณผี ู้กู้ยืมยังไมบ่ รรลุนิติภาวะ) ต้องลงลายมือช่ือด้วยตนเอง
๗. ผกู้ ยู้ ืม ผู้คา้ ประกนั ผแู้ ทนโดยชอบธรรม (กรณีที่มใิ ช่บดิ าหรือมารดา) ใหใ้ ชท้ ง้ั สาเนาบตั รประจาตัวประชาชน

และสาเนา
ทะเบียนบ้าน และต้องรบั รองสาเนาดว้ ยตนเองทุกฉบบั ในกรณีท่ีผ้คู า้ ประกนั ผแู้ ทนโดยชอบธรรม เป็นบคุ คลเดยี วกัน
ให้ใช้สาเนาบตั รประจาตวั ประชาชน และสาเนาทะเบียนบ้านเพยี งชดุ เดยี ว

๘. เอกสารสัญญาจัดทาข้นึ 2 ฉบบั มขี ้อความถูกต้องตรงกันโดยผู้ก้ยู ืมตอ้ งจดั เกบ็ สัญญากยู้ ืมคฉู่ บับไว้กับตนเอง
จนกว่า

จะชาระหน้ไี ด้เสรจ็ สิ้นแลว้
๙. ผกู้ ูย้ มื ต้องเก็บรักษาสมุดบัญชเี งินฝากและบัตรเอทีเอ็มไว้กบั ตนเอง แม้วา่ ในภายหลงั จะบอกเลิกสัญญาการ
กยู้ มื ก็ตาม

และไม่ควรให้ผู้อืน่ ทราบรหัสบัตรเอทีเอ็มของตน
๑๐. เพือ่ สทิ ธปิ ระโยชนใ์ นอนาคตของผกู้ ู้ยมื ตอ้ งแจ้งสถานภาพกับธนาคารกรุงไทย ได้ทราบในกรณที ี่มีการ
เปลย่ี นแปลง

ขอ้ มลู สว่ นตัว (แบบฟอร์ม กยศ. 203) ดงั นี้
1. ชอื่ – นามสกลุ
2. ทอี่ ยปู่ จั จุบัน และท่ีอยู่ตามภมู ิลาเนา
3. การยา้ ยสถานศึกษา
4. การสาเรจ็ การศึกษา
5. การเลิกการศึกษา

การชาระคืน เงื่อนไขการชาระหนี้
หลักเกณฑก์ ารชาระหน้ี

1. เมอื่ ผูก้ ู้ยืมสาเรจ็ การศึกษาหรือเลิกการศกึ ษาแลว้ เปน็ เวลา 2 ปี ผกู้ ยู้ ืมเงินมหี นา้ ทตี่ ้องชาระเงนิ กูย้ ืมคนื ให้แก่
กองทุนเงนิ ให้

กยู้ มื เพื่อการศกึ ษา ตามระยะเวลาและวธิ กี ารท่กี าหนดไวใ้ นระเบียบคณะกรรมการกองทุนฯ
2. ผกู้ ยู้ ืมทก่ี าลังศกึ ษาอยู่และไม่ไดก้ ู้ยืมเงนิ ติดตอ่ กนั เปน็ เวลา 2 ปี และไม่ได้แจง้ สถานภาพ
3. การเปน็ นักเรียนหรือนกั ศกึ ษาให้ธนาคารทราบ ถอื ว่าเป็นผู้ครบกาหนดชาระหนี้
4. ก่อนวันที่ 5 กรกฎาคมของปีทคี่ รบกาหนดชาระหน้ี ผกู้ ยู้ ืมจะไดร้ ับหนังสือจากธนาคารเพ่ือแจ้งเงินต้นท้ังหมด
จานวนเงนิ

ทตี่ ้องชาระหน้ี งวดแรก ค่าธรรมเนียมการชาระหน้ี รวมทั้งตารางการชาระหนี้ของแตล่ ะปี ใหผ้ ูก้ ู้ยืมทราบ
5. ผกู้ ูย้ มื ทีค่ รบกาหนดชาระหนจ้ี ะต้องชาระหน้ีงวดแรกภายในวันท่ี 5 กรกฎาคมของปีทคี่ รบกาหนดชาระหนี้
6. ผู้กูย้ มื ตอ้ งชาระหนี้เงินตน้ พร้อมดอกเบยี้ ร้อยละ 1 ตอ่ ปีของเงนิ ต้นคงคา้ งของปีที่ 1 เป็นต้นไป โดยจะต้อง
ชาระหน้ีภายใน

191

วันท่ี 5 กรกฎาคม ของทุกปแี ละจะต้องชาระหน้ีใหเ้ สรจ็ ส้ินภายในระยะเวลา 15 ปี นบั จากวนั ครบกาหนดชาระหน้ี
งวดแรก

7. ผกู้ ้ยู ืมสามารถเลือกผ่อนชาระหน้ีเป็นรายปีหรือรายเดือนได้แตร่ ะยะเวลารวมกันตอ้ งไม่เกิน 15 ปี
8. หากผกู้ ู้ยมื ไม่ชาระหนี้ไดภ้ ายในระยะเวลาท่ีกาหนด คือภายในวนั ท่ี 5 กรกฎาคมของทกุ ปีถือว่าผกู้ ู้ยืมผดิ นัด

ชาระหน้ี
ซง่ึ ผู้ก้ยู มื จะต้อง เสียเบ้ยี ปรบั เฉพาะเงินตน้ ท่ีค้างชาระในอัตราดงั นี้

- ค้างชาระ 1-12 เดอื น เสยี เบี้ยปรบั รอ้ ยละ 12 ตอ่ ปี
- ค้างชาระเกิน 12 เดอื น เสยี เบี้ยปรบั ร้อยละ 18 ต่อปี
ผู้กยู้ มื อาจชาระหนี้ท้งั หมดหรือบางสว่ นก่อนถงึ กาหนดชาระได้โดยไม่เสียดอกเบ้ีย
4. บริการการศึกษาต่อ
- คดั เลอื กนกั ศึกษาเพ่ือศึกษาตอ่ ในสถาบันอื่น
- บรกิ ารข้อมูลและขา่ วสารการศึกษาต่อ
5. บริการดา้ นการประกอบอาชีพ/ การทางาน
- ขา่ วสารและขอ้ มูลตลาดแรงงาน
- ขา่ วสารการรับสมัครงาน
- ขอ้ มลู การประกอบอาชพี

192

งานวิทยบรกิ ารและห้องสมดุ

หนา้ ทคี่ วามรับผิดชอบ
1. เปน็ ศนู ย์กลางการเรียนร้ดู ้วยตนเองของนักเรียน นกั ศึกษา ผ้เู ข้ารับการอบรม และบุคคลทวั่ ไป
2. พัฒนาการบริการห้องสมดุ ใหเ้ ปน็ แหลง่ เรียนรทู้ ่เี หมาะสมกับการจัดการศึกษา
3. วางแผนพัฒนาห้องสมุด การให้บรกิ ารดา้ นเอกสารการพิมพ์ สอื่ การเรียนการสอน
4. รบั ผิดชอบดแู ล บารุงรกั ษา วัสดุอุปกรณใ์ ห้อย่ใู นสภาพเรียบรอ้ ย และให้บริการด้านโสตทศั นูปกรณต์ า่ งๆรวมทัง้

ศูนยก์ ารเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
5. จัดหา รวบรวมวัสดุ ส่งิ พิมพ์ สอ่ื โสตทัศนูปกรณต์ า่ งๆ เพื่อใหบ้ รกิ ารในการศึกษา ค้นคว้าของครู นักเรียน

นกั ศกึ ษา และประชาชนทัว่ ไป
6. ควบคุม ดูแลห้องสมดุ จดั หาหนังสือ เอกสาร ส่งิ พิมพ์เข้าห้องสมดุ ใหส้ อดคล้องกบั หลักสูตรการเรียนการสอน

ในสถานศกึ ษา
7. วิเคราะหเ์ ลขหมู่หนังสือ และจดั ทาเคร่ืองชว่ ย เช่น ดรรชนีวารสาร บรรณานุกรม โปรแกรมคอมพิวเตอร์

เป็นต้น เพ่ืออานวยความสะดวกแก่ผู้ใชบ้ ริการ
8. ประสานงานและใหค้ วามร่วมมือกบั หน่วยงานต่างๆทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา
9. ดูแล บารงุ รักษา และรับผดิ ชอบทรัพย์สินของสถานศึกษาทไี่ ด้รบั มอบหมาย
10.เสนอโครงการและรายงานการปฏิบตั ิงานตามลาดบั ชั้น
11.ปฏิบตั งิ านอ่นื ตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย

ขอ้ ปฏบิ ัติสาหรับผ้ใู ช้บรกิ ารศนู ย์วิทยบริการ
1. วางกระเปา๋ ย่าม หนังสือส่วนตวั และอื่นๆในท่ที ี่จดั ไว้ให้
2. แต่งกายสภุ าพ เคารพสถานที่ สารวมกริยาวาจา และปฏิบตั ติ นไมใ่ ห้รบกวนผู้อน่ื
3. หา้ มตัดฉีก ขีดเขยี นหรือทาลายสว่ นหน่ึงสว่ นใดของหนงั สือหรอื วสั ดุอปุ กรณ์อื่นๆ ในศูนย์วิทยบริการ
4. ไมน่ าอาหาร เคร่ืองดม่ื และส่งิ ขบเคยี้ ว เข้ารับประทาน
5. เมือ่ ลุกจากท่นี ่ัง ให้เลื่อนเก้าอี้เกบ็ ใตโ้ ต๊ะใหเ้ รยี บร้อย
6. หนงั สือทกุ เล่มเมื่ออา่ นเสรจ็ แล้ว ควรนาเก็บไวท้ เ่ี ดิม
7. ไม่ควรรอ้ื คน้ หนงั สอื ให้กระจยุ กระจาย หากมีปัญหาควรถามเจา้ หน้าที่
8. ไมค่ วรหยบิ หนงั สอื วารสาร หรือหนงั สอื พิมพ์มาอ่านคราวละหลายเลม่
9. ห้ามนาหนงั สือ วัสดุ อุปกรณ์ ออกนอกศูนย์วิทยบริการกอ่ นไดร้ ับอนุญาต
10.หากพบสงิ่ พิมพ์ หรืออุปกรณ์อน่ื ๆที่เปน็ สมบัติของศนู ย์วิทยบรกิ ารให้ชว่ ยนาสง่ ศนู ย์วทิ ยบริการทนั ที
11.เมือ่ พบเครื่องคอมพิวเตอร์มีปัญหาให้แจง้ เจา้ หนา้ ที่ทนั ที
12.ห้ามถอดหรือถอดเสียบอปุ กรณ์ตา่ งๆในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศดว้ ยตนเอง
13.ห้ามเลน่ Chat , ICQ , MSM , เกมส์ หรอื เข้าเว็บไซต์ที่ไมเ่ หมาะสม
14.ถา้ ตอ้ งการบนั ทึกข้อมูลหรือนาอปุ กรณ์บันทกึ ข้อมลู เขา้ ห้องให้แจง้ และแสดงตอ่ เจ้าหน้าท่ีกอ่ นเขา้ ใช้
15.ผใู้ ช้บริการรับผดิ ชอบความเสียหาย หรอื การสูญหายของวัสดุอุปกรณ์ทเ่ี กดิ จากการใชง้ าน

193

หอ้ งสมดุ ( Library )

ศูนยว์ ิทยบรกิ ารประกอบด้วย
1. หอ้ งสมุด
2. มุมค้นควา้ อนิ เตอรเ์ น็ต
3. ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตัวเอง
4. Smart Classroom

การบรกิ ารภายในหอ้ งสมดุ
1. บริการยมื คนื หนงั สือ
2. บริการอา่ น
3. บรกิ ารสืบคน้ ข้อมูล
4. บริการคน้ คว้าทางอนิ เตอรเ์ น็ต
5. บรกิ ารแนะนาการใชห้ ้องสมุด

ระเบียบการยืมหนังสอื
1. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ยืมหนังสอื ได้คร้งั ละ 5 เลม่ ระยะเวลา 1 เดอื น (หากยมื เกนิ ระยะเวลา กรณุ า
แจง้ ต่อเจา้ หนา้ ทีก่ ่อนลงบันทึกการยืม
2. นกั เรยี นนกั ศึกษา ยืมหนังสือไดค้ รั้งละ 3 เล่ม ระยะเวลา 7 วนั
3. การยืมคนื หนงั สือ ต้องกระทาด้วยตนเอง
4. นกั เรียนนักศึกษา ต้องแสดงบัตรประจาตัวในการยืมคืนหนงั สือ
5. ส่งคนื หนงั สอื ตามกาหนดเวลา หากชา้ เกินกาหนด เสียค่าปรับวันละ 1 บาท ตอ่ หนงั สือ 1 เล่ม

การใชง้ านมมุ อินเตอร์เน็ตภายในหอ้ งสมดุ
1. ให้บริการคอมพวิ เตอร์สาหรบั คน้ ควา้ อินเตอร์เน็ต ทารายงาน และโปรแกรมสาเร็จรูปอืน่ ๆ
2. แสดงบตั รนกั เรียนนักศึกษาต่อเจา้ หน้าท่ที ุกคร้ังก่อนการใช้งาน
3. ใช้งานคอมพิวเตอร์ตามท่เี จา้ หนา้ ท่ีแนะนา
4. ตอ้ งมีหูฟังสว่ นตัวสาหรบั การใช้งานคอมพิวเตอรภ์ ายในห้องสมดุ
5. ห้ามถอดหรอื เสยี บอปุ กรณ์ของคอมพวิ เตอร์ด้วยตัวเอง
6. หา้ มเข้าเลน่ เวป็ ไซต์ที่ไม่เหมาะสม
7. หลักจากทใ่ี ช้งานเครอื่ งคอมพิวเตอรเ์ สร็จแลว้ ให้ปดิ เครื่องอย่างถูกวิธี

194

ศนู ยก์ ารเรยี นรดู้ ว้ ยตัวเอง
1. การใชบ้ รกิ ารหากไม่มีครูควบคุม ต้องแสดง ตารางเรียนต่อเจา้ หน้าที่ ว่าเปน็ คาบวา่ ง ถงึ จะสามารถเข้าใชบ้ ริการ
ได้
2. นักเรยี นนกั ศึกษา ต้องแสดงบัตร ต่อเจา้ หนา้ ท่ใี นการใชง้ านทุกครง้ั โดย มจี านวนผู้เข้าใช้งานไม่น้อยกวา่ 5 คน
3. นักเรยี นนักศึกษาตอ้ งเตรียมอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์notebook มาด้วยตัวเอง โดยทางเจ้าหน้าที่จะมีบริการสาย
เชื่อมต่อให้
4. มีภาพยนตร์บริการนักเรียนนักศกึ ษา โดยสามารถติดตอ่ ได้ที่เจา้ หนา้ ที่
5. ไมอ่ นุญาตให้นักเรียนนกั ศึกษานาภาพยนตรส์ ่วนตวั มาเปิดในศูนยก์ ารเรียนรดู้ ว้ ยตัวเอง

การใช้ห้องSmart Classroom
1.แจ้งความประสงค์การใชห้ ้องกบั เจ้าหน้าที่ประจาห้องสมุด
2.บรกิ ารแนะนาการใชง้ านเบื้องต้นของอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ภายในหอ้ ง Smart Classroom

ระเบียบใช้ห้องสมดุ
1. แต่งกายสภุ าพเรียบรอ้ ย
2. ต้องฝากกระเป๋า สิ่งของ หรอื สมั ภาระไวท้ ี่ ทจี่ ดั เตรยี มไว้ (ยกเว้นของมีค่า)
3. ไมพ่ ูดคยุ เสยี งดงั
4. ไม่สูบบหุ ร่ภี ายในห้องสมุด
5. การใช้งาน Smart Phone ภายในห้องสมดุ กรณุ าใช้หฟู งั เพอ่ื เป็นการไมร่ บกวนผอู้ ่ืน
6. ไมใ่ ชส้ มดุ หนงั สอื หรือสิง่ ของวางจองทน่ี ั่ง
7. ไมใ่ ชส้ มดุ หนงั สอื หรอื สิง่ ของวางรองนอนภายในห้องสมุด
8. ไม่นาอาหาร ขนมและเคร่ืองด่มื เข้ามารับประทานในห้องสมดุ
9. ไมเ่ ลน่ การพนนั และเกมส์ในห้องสมุด
10. ไมฉ่ กี กรดี หรอื ขีดเขียนหนังสอื เอกสาร และส่ิงพมิ พ์ทกุ ชนดิ ของห้องสมุด

195

196


Click to View FlipBook Version