The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงงานIS2 อาหาร ๔ ภาค

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sachollada96, 2021-03-08 05:28:12

โครงงานIS2 อาหาร ๔ ภาค

โครงงานIS2 อาหาร ๔ ภาค

ชือ่ กลุ่ม : ป้าสมศรมี ณีเจ็ดแสง

โครงงาน : อาหารไทย 4 ภาค

จดั ทาโดย

1. ด.ญ กัญญาพัชร กรินทสทุ ธ์ิ ม. 2/8 เลขที่ 21

2. ด.ญ ชลดา พีชนาหรี ม. 2/8 เลขที่ 23

3. ด.ญ ณฐั ธิชา รอดอินทร์ ม. 2/8 เลขท่ี 26

4. ด.ญ พิมพ์มณี โพธ์เิ ป่ียม ม. 2/8 เลขที่ 30

5. ด.ญ สิรวิ มิ ล ท้าวอานน ม. 2/8 เลขท่ี 37

6. ด.ญ ธนกร กองแก้วกาเหรียญ ม. 2/8 เลขท่ี 43

ครทู ่ีปรกึ ษาโครงงาน
คณุ ครู ศริ ริ ักษ์ สมพงษ์
โรงเรยี น นวมินทราชินทู ศิ เบญจมราชาลยั
วนั ท่ีศกึ ษาโครงงาน วัน องั คาร ที่ 1 ธนั วาคม พ.ศ 2563

ชือ่ เรือ่ ง อาหารไทย 4 ภาค

ผูศ้ ึกษา 1. ด.ญ กัญญาพัชร กรนิ ทสุทธ์ิ ม. 2/8 เลขที่ 21

2. ด.ญ ชลดา พชี นาหรี ม. 2/8 เลขท่ี 23

3. ด.ญ ณฐั ธชิ า รอดอนิ ทร์ ม. 2/8 เลขที่ 26

4. ด.ญ พิมพม์ ณี โพธ์ิเป่ียม ม. 2/8 เลขท่ี 30

5. ด.ญ สริ ิวมิ ล ท้าวอานน ม. 2/8 เลขที่ 37

6. ด.ญ ธนกร กองแกว้ กาเหรยี ญ ม. 2/8 เลขท่ี 43

ครทู ่ีปรึกษา คณุ ครู ศริ ิรกั ษ์ สมพงษ์

ระดับการศึกษา นักเรยี นระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2/8

โรงเรยี น นวมนิ ทราชนิ ทู ศิ เบญจมราชาลยั

รายวิชา การส่อื สารและการนาเสนอ (independent Study : IS2)

ปกี ารศึกษา 2563

บทคัดย่อ

การศกึ ษาครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์เพอ่ื ใหผ้ อู้ ่านได้รับความรไู้ มม่ ากกน็ อ้ ยในการอ่าน
และศึกษาจากโครงงานช้ินนี้ โครงงานชนิ้ น้ศี กึ ษาเกีย่ วกับอาหาร 4 ภาคของไทยเรา เพราะ ณ
ปัจจบุ นั แทบไม่มใี ครศกึ ษาเก่ียวกบั อาหารของไทยเราแล้ว เราควรศกึ ษาไว้ให้รุ่นต่อๆไปได้รับ
ความรู้



กิตติกรรมประกาศ

รายงานฉบบั นส้ี าเร็จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี ต้องขอขอบพระคณุ คุณครู
ศิริรักษ์ สมพงษ์ ครูผู้สอนทีใ่ หค้ วามรู้และคาแนะนา ตรวจทานและให้แก้ไขขอ้ บกพร่องต่างๆ
และให้ความใส่ใจต่างๆและเอาใจใสท่ ุกๆอยา่ ง เพื่อให้รายงานฉบบั นีส้ มบรู ณ์ เพื่อนๆทกุ คนช่วยกนั
หาขอ้ มูลและเอาใจใส่ในงานนเี้ ปน็ อยา่ งย่งิ

คณะผศู้ ึกษา
ธันวาคม 2563



สารบัญ หนา้

บทคดั ย่อ ก
กติ ติกรรมประกาศ ข
สารบญั ค
บทที่ 1 บทนา 1
ท่มี าและความสาคัญของโครงงาน 1
วตั ถุประสงค์ของการศึกษา 1
สมมตฐิ านของการศกึ ษา 2
ขอบเขตของการศึกษา 2
ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รับ 2
บทท่ี 2 เอกสารท่ีเกย่ี วข้อง 3
เอกสารอ้างองิ 3
เครอ่ื งมอื และวัสดอุ ปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นการศกึ ษา 4
บทที่ 3 วธิ กี ารดาเนินโครงงาน 5
เคร่ืองมือและวสั ดุอุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา 5
วธิ ีการศึกษา 5
บทที่ 4 ผลการศกึ ษา 6
ผลการศึกษา 6
การศกึ ษาจากภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน 6
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา 9
สรปุ ผลการศกึ ษา 9
ประโยชน์ทไ่ี ด้รับจากโครงงาน 9
ข้อเสนอแนะ 9
ภาคผนวก 10
บรรณานุกรม 23



บทที 1 บทนา

ทมี่ าและความสาคญั ของโครงงาน

ปจั จบุ นั น้ีอาหารไทยกาลังไดร้ บั ความนิยมอยา่ งสูงและแพร่หลายไปสปู่ ระเทศตา่ งๆทว่ั
โลกอยา่ งรวดเร็ว เอกลักษณท์ บี่ ง่ บอกถึงความเปน็ อาหารไทยท่ีชัดเจนก็คอื กลน่ิ ฉุน และรสชาติที่
เผ็ดร้อน และท่ีสาคัญก็คอื มีการนา สมุนไพรและเครื่องเทศมาเปน็ ส่วนผสมในการปรุง อาหารไทย
ในยุคปจั จบุ นั ได้รับอิทธพิ ลจากวฒั นธรรมทาง ด้านอาหารจากนานาประเทศ

อาหารไทย เปน็ อาหารประจาของประเทศไทย ท่ีมกี ารสัง่ สมและถา่ ยทอดมาอย่าง
ต่อเน่ืองตัง้ แตอ่ ดตี จนเป็นเอกลักษณป์ ระจาชาติถือไดว้ ่าอาหารไทยเป็นวฒั นธรรมประจาชาตทิ ี่
สาคญั ของไทย โครงงานนจี้ ึงทาข้นึ เพ่ือสง่ เสริมอาหารของวฒั นธรรมของแต่ละภาคพ้ืนท่ีว่าแต่ละ
พ้นื ทม่ี อี าหารและวฒั นธรรมอย่างไรและมรี สชาติอาหารและวฒั นธรรมแตกตา่ งกันไปอาหารแต่ละ
พื้นที่มาแตกตา่ งกันและมวี ัฒนธรรมการกินที่แตกตา่ งกัน

วัตถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา

1. เพอื่ ใหค้ นรนุ่ ตอ่ ไปได้เรียนรอู้ าหารเหล่านี้
2. เพอื่ ได้เรยี นรู้เก่ยี วกบั อาหารภาคต่าง ๆ
3. เพอ่ื ใหร้ ้วู ัตถุดบิ ของทอ้ งถ่ินภาคนั้น
4. เพอื่ เรียนรู้รสชาติต่าง ๆ ของอาหาร

1

สมมติฐานของการศึกษา

อาหารไทย ณ ปัจจุบันนัน้ สืบกนั มาตง้ั โบราณ อาหารไทยมเี สน่ห์ในรสชาติและวัตถุดบิ ใน
การทาอาหารน้ัน รสชาตขิ องอาหารไทยในแต่ละภาคก็มีความแตกตา่ งกนั ไป อาหารไทยไมแ่ พช้ าติ
ใดในโลก

ขอบเขตของการศกึ ษา

การศกึ ษาครัง้ นี้นั้นเป็นการศกึ ษาเกีย่ วกบั อาหารไทย 4 ภาค โดยเน้นไปทีอ่ าหารของ
ภาคตา่ งๆมดี ังนี้ 1.ภาคกลาง 2.ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 3.ภาคเหนือ 4.ภาคใต้

ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ บั

ทาใหรูถ้ ึงวตั ถดุ ิบตา่ งๆของภาคต่างๆในประเทศไทย และรู้ถึงคุณค่าของอาหาร

2

บทท่ี 2 เอกสารที่เกยี่ วข้อง
เอกสารอ้างองิ

1. อาหารภาคเหนือ

ในอดีตบรเิ วณภาคเหนือเคยเปน็ ส่วนหนงึ่ ของอาณาจักรลา้ นนามากอ่ น จึงได้รบั วัฒนธรรม
หลากหลายจากชนชาตติ า่ ง ๆ เข้ามาในชีวติ ประจาวันรวมทง้ั อาหารการกนิ ดว้ ย อาหารในภาคน้ี
มักจะทานคกู่ บั ข้าวเหนยี วเปน็ หลัก แตเ่ นอ่ื งจากเป็นภูมิภาคที่มีสภาพอากาศหนาวเย็น จึงเปน็ อีก
หนงึ่ เหตุผลทีอ่ าหารส่วนใหญ่ท่นี ี้มักจะมีไขมนั มาก ไมว่ ่าจะเปน็ น้าพริกอ่อง แกงฮังเล ไสอ้ ั่ว
แคบหมู เพอ่ื ชว่ ยให้ร่างกายอบอุ่น เปน็ ด้วยภมู ิประเทศบางสว่ นที่ตงั้ อยู่ในหุบเขาและบนยอดดอย
ทสี่ งู ใกล้แหล่งป่าธรรมชาติ จึงนิยมนาพชื พันธ์ุในป่ามาปรุงเปน็ อาหาร เช่นกัน ไมว่ ่าจะเป็น ผกั แค
บอน หยวกกล้วย ผักหวาน ทาให้เกิดอาหารพื้นบ้าน ชอื่ ตา่ ง ๆ เช่น แกงแค แกงหยวกกลว้ ย แกง
บอน เป็นต้น

2. อาหารภาคกลาง

ถอื เปน็ อาหารที่มีรสชาตอิ ยา่ งหลากหลาย ลักษณะเด่นของอาหารภาคกลาง จะมีรสชาตคิ รบ
เปร้ยี ว หวาน มันเคม็ เผ็ด มีความปราณตี ในการตกแต่งจานอาหารสวยงาม และมกั ใชพ้ วก
เครื่องแกงชนิดตา่ งๆ หรอื กะทิ เป็นวัตถุดิบหลักในการประกอบอาหาร เชน่ ต้มข่าไก่, ฉู่ฉ่ี, ข้าว
แช่, ผัดไทย เปน็ ตน้ อาหารภาคน้ีจงึ มกั จะเป็นที่ถูกปากในหม่ชู าวตา่ งชาติ เพราะมรี สชาติกลางๆ
ไมเ่ ผ็ดจนเกนิ ไป

3

3. อาหารภาคใต้

เนอ่ื งจากภาคใต้ของไทยเคยเป็นศนู ยก์ ลางการเดินเรือค้าขายของพ่อคา้ จากอนิ เดยี จีนและ
ชวาในอดีต ทาใหว้ ัฒนธรรมของชาวต่างชาติโดยเฉพาะอินเดยี ใต้ ซ่งึ เป็นต้นตารบั ในการใช้
เครื่องเทศปรงุ อาหารไดเ้ ขา้ มามีอิทธพิ ลอย่างมาก จึงจะเห็นได้ว่าอาหารใต้ส่วนใหญม่ ักจะใช้
เครอ่ื งเทศท่ีเผด็ ร้อนมากกว่าภมู ภิ าคอน่ื ๆ มีกลน่ิ ฉนุ อาจมาจากเปน็ บริเวณทม่ี สี ภาพอากาศร้อน
ชน้ื และฝนตกตลอดปี การทอ่ี าหารมีรสจดั จ้านกถ็ ือเปน็ อกี หน่งึ ทางทช่ี ่วยในเรื่องเพิม่ ความอบอนุ่
ให้ร่างกายและลดการเจบ็ ป่วยได้อกี ด้วย แตด่ ว้ ยอาหารทจี่ ดั จ้านนนั้ จึงต้องมี “ผกั เหนาะ” คอื ผัด
ชนดิ ตา่ งๆหลากหลายอย่างมาทานค่กู ันเพือ่ ชว่ ยลดความเผ็ดลง อาหารภาคใต้ทเี่ ลือ่ งชอื่ เชน่ แกง
ไตปลา, นา้ พรกิ กุ้งเสยี บ, ข้าวยานา้ บูดู, ผดั เผด็ สะตอ, ใบเหลียงผัดไข่, ขนมจีนแกงปู เปน็ ตน้

4. ภาคอสี าน

พดู ถึงภาคอสี านแน่นอนส่งิ แรกท่ที กุ คนมักจะนึกถึง คือ ส้มตา ดว้ ยสภาพภมู ิประเทศท่ีแห้ง
แล้ง ฝนตกนอ้ ย อาหารสว่ นใหญจ่ งึ มาจากการหมัก หรอื ตากแหง้ ซ่งึ ในอาหารแตล่ ะจานมักจะมี
รสชาติเด่นของรสเคม็ จากนา้ ปลาร้า และรสเผด็ จากพรกิ สดหรอื แหง้ นน้ั เอง คนอีสานมักจะนิยม
ทานอาหารคู่กบั ขา้ วเหนยี วเหมอื นกับภาคเหนือเน่ืองจากคนใน2ภาคน้ี มกั เป็นเกษตกรทานาทาไร่
การกนิ ขา้ วเหนยี วจะชว่ ยใหอ้ ม่ิ และอยทู่ อ้ งมากกว่าข้าวสวย อาหารของภาคอีสานที่เปน็ ทน่ี ยิ มใน
หมนู่ ักท่องเทยี่ ว เชน่ ส้มตา ปลารา้ ลาบเปด็ ไส้กรอกอสี าน ตมั แซบ่ เปน็ ต้น

เครอื่ งมือและวัสดุอุปกรณ์ทีใ่ ช้ในการศึกษา

1. คอมพิวเตอร์
2. โทรศัพท์มือถือ

4

บทท่ี 3 วิธีการดาเนินโครงงาน
เครอื่ งมือและวัสดุอุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา

1. คอมพวิ เตอร์
2. โทรศัพท์มอื ถือ

วธิ กี ารศกึ ษา

1. ไปถามชาวบา้ นท้องถิน่ เกย่ี วกบั อาหาร
2. ไปถามจากแม่คา้ ขายอาหารว่าอาหารภาคนี้ทาอยา่ งไร
3. ดจู ากอินเทอร์เนต็ หรือเว็บไซต์
4. ไปศึกษาจากภาคนั้นๆ
5. ไปสอบถามจากผเู้ ก่ียวกับอาหาร
6. สอบถามจากผูป้ กครอง

5

บทท่ี 4 ผลการศึกษา
ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล

1. การทดลองทาอาหารไทย วา่ มีภาคไหนบ้างที่อาหารมอี าหารรสชาตเิ ผด็ จนเกนิ หรอื ไม่ค่อยเผด็
เท่าไหร่
2. การตกแตง่ ของจานอาหารแต่ละภาค

การศึกษาจากภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน

ภมู ปิ ัญญาไทยเป็นสติปญั ญาหรอื ความรอบรู้ ทีค่ นไทยสัง่ สมมาเปน็ ระยะเวลายาวนาน
ดว้ ยการเช่อื มโยงและบรู ณาการวิทยาการด้านต่างๆ เข้าด้วยกัน ใช้ในการแกป้ ัญหา การดารงชวี ิต
การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนเพื่อความบนั เทิงและสนุ ทรียภาพ เปน็ เอกลักษณะ
ประจาชาตไิ ทย สืบทอดประเพณีไทยและวฒั นธรรมต่าง ๆ บางอย่างถือเปน็ มรดกโลกไปแล้ว
บ่งบอกถงึ ศักด์ิศรีและเอกลกั ษณ์ประจาชาติ คนไทยทกุ คนควรภูมิใจในความเปน็ ไทย และควร
ดารงไว้ซง่ึ คณุ คา่ ที่ควรหวงแหน ซึ่งสามารถสรปุ เปน็ ประเด็น ศิลปะ วัฒนาธรรม และ
ขนบธรรมเนยี ม แนวคิดหลักปฏบิ ตั ิและเทคโนโลยี

ลักษณะองคร์ วมของภมู ปิ ัญญามคี วามเดน่ ชดั ในหลายด้าน ดงั น้ี
๑. ดา้ นเกษตรกรรม ไดแ้ กค่ วามสามารถในการผสมผสานองคค์ วามรู้ ทักษะและเทคนคิ ด้าน

การเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพื้นฐานคุณคา่ ดง้ั เดมิ ซง่ึ คนสามารถ พงึ่ พาตนเอง ใน
สภาวะการณ์ตา่ ง ๆได้ เช่น การทาการเกษตรแบบผสมผสาน การแก้ ปญั หาการเกษตรดา้ น
การตลาดการแกป้ ญั หาดา้ นการผลิตและการรจู้ ักปรับใชเ้ ทคโนโลยี ท่ีเหมาะสมกับการเกษตร เป็น
ต้น

6

๒. ดา้ นอตุ สาหกรรมและหัตถกรรม ได้แก่ การรู้จักประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีสมยั ใหมใ่ นการแปร

รูปผลผลติ เพอ่ื การบรโิ ภคอยา่ งปลอดภัย ประหยดั และเปน็ ธรรม อนั เป็นกระบวนการให้ชุมชน
ทอ้ งถ่นิ สามารถพง่ึ ตนเองทางเศรษฐกิจได้ ตลอดทงั้ การผลิตและการจาหน่าย ผลผลิตทาง
หตั ถกรรม เชน่ การรวมกลุ่มของกลุ่มโรงงานยางพารา กลมุ่ โรงสี กล่มุ หตั ถกรรม เปน็ ต้น

๓. ด้านการแพทยแ์ ผนไทย ไดแ้ ก่ ความสามารถในการจดั การป้องกันและรกั ษาสขุ ภาพของ

คนในชมุ ชนโดยเน้นใหช้ ุมชนสามารถพง่ึ พาตนเองทางด้านสขุ ภาพและอนามยั ได้ เช่น ยา จาก
สมนุ ไพร อนั มอี ยู่หลากหลาย การนวดแผนโบราณ การดแู ลและรักษาสขุ ภาพแบบพน้ื บ้าน เป็น
ต้น

๔. ด้านการจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ได้แก่ ความสามารถ เก่ียวกบั การ

จัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท้ังการอนรุ ักษ์พัฒนา และการใช้ประโยชนจ์ าก
ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มอย่างสมดลุ และยั่งยืน เชน่ การบวชป่า การสืบชะตาแม่นา้
การทาแนวปะการังเทียม การอนรุ ักษ์ป่าชายเลน การจดั การป่าตน้ น้าและปา่ ชุมชน เป็นต้น

๕. ดา้ นกองทุนและธุรกจิ ชมุ ชน ได้แก่ ความสามารถในดา้ นการสะสมและบรหิ ารกองทนุ และ

สวสั ดิการ ชมุ ชน ความมน่ั คงใหแ้ ก่ชีวติ ความเป็นอยู่ของสมาชิกในกล่มุ เช่น การจัดการกองทนุ
ของชุมชนในรปู ของสหกรณอ์ อมทรพั ย์รวมถึงความสามารถในการจัดสวสั ดกิ ารในการประกนั
คณุ ภาพชีวิตของคนใหเ้ กิดความมนั่ คงทางเศรษฐกจิ สังคม และวัฒนธรรม โดยการจัดตัง้ กองทุน
สวสั ดกิ ารรกั ษาพยาบาลของชุมชน และการจดั ระบบสวสั ดกิ ารบริการชมุ ชน

๖. ดา้ นศิลปกรรม ได้แก่ ความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานทางด้านศลิ ปะสาขาตา่ ง ๆ เชน่

จิตรกรรมประตมิ ากรรมนาฏศิลป์ ดนตรี ทัศนศิลป์ คีตศลิ ป์ การละเลน่ พ้ืนบ้านและนนั ทนาการ

7

๗. ดา้ นภาษาและวรรณกรรม ไดแ้ ก่ ความสามารถในการอนุรกั ษ์และสรา้ งสรรคผ์ ลงานด้าน

ภาษา คอื ภาษาถ่นิ ภาษาไทยในภูมิภาคต่างๆ รวมถึงด้านวรรณกรรมท้องถ่นิ และการจัดทา
สารานุกรมภาษาถิ่น การปรวิ รรตหนังสอื โบราณ การฟื้นฟูการเรยี นการสอนภาษาถิน่ ของทอ้ งถ่ิน
ต่างๆ

๘. ดา้ นปรัชญา ศาสนา และประเพณี ไดแ้ ก่ ความสามารถประยกุ ตแ์ ละปรบั ใชห้ ลกั ธรรมคา

สอน ทางศาสนาปรัชญาความเชอื่ และประเพณีที่มคี ุณค่าให้เหมาะสมตอ่ บริบททางเศรษฐกิจสังคม
เช่น การถ่ายทอดวรรณกรรมคาสอน การบวชป่า การประยุกตป์ ระเพณบี ญุ ประทายขา้ ว

๙. ดา้ นโภชนาการ ไดแ้ ก่ ความสามารถในการเลอื กสรรประดิษฐแ์ ละปรุงแต่งอาหารและยาได้

เหมาะสมกับความตอ้ งการของรา่ งกายในสภาวะการณ์ต่างๆ ตลอดจนผลติ เป็นสินค้าและบรกิ าร
ส่งออกทไ่ี ด้รบั ความนยิ มแพรห่ ลายมากรวมถงึ การขยายคุณค่าเพ่ิมของทรพั ยากร

๑๐. ดา้ นองคก์ รชมุ ชน ได้แก่ รา้ นค้าชุมชนศนู ยส์ าธติ การตลาดกลุ่มออมทรัพยอ์ งค์กรดา้ นการ

ตดั เย็บเสื้อผ้า

8

บทที่ 5 สรปุ ผลการศึกษา

สรปุ ผลการศกึ ษา

จากการศึกษาครั้งนี้ ทาให้พวกเราไดร้ บั รู้ความเป็นมาเพ่ิมมากขึ้น ทาใหไ้ ด้รภู้ มู ปิ ญั ญา
ท้องถ่นิ ของชาวบา้ นจากภาคตา่ งๆ ทาใหร้ ู้คุณคา่ ของอาหารเพ่ิมมากขึน้ การศึกษาของอาหารคร้ัง
นี้ทาให้พวกเรามีความร้เู พิ่มมากขึ้น

ประโยชน์ทไ่ี ด้รับจากโครงงาน

1. ไดศ้ กึ ษาได้ความรเู้ พิ่มขนึ้
2. ได้รเู้ กย่ี วกับอาหารทงั้ หมด 4 ภาค
3. ควรมีอาหารหลาย ๆ อย่าง

ขอ้ เสนอแนะ

1. ควรศกึ ษาหาความรู้เพ่ิมเติมและฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ รูป โดย

สอบถามจากชาวบา้ นที่ปรึกษาโดยตรง ให้ชาวบ้านเปน็ ผู้สอนและใหค้ าแนะนา

2. ควรตรวจสอบเอกสารก่อนทา การบนั ทึกเอกสารเพือ่ ตรวจสอบว่า เอกสารมีความ

ถกู ต้องและครบถว้ นหรอื หากมีความผดิ พลาดควรรบี แก้ไขอย่างรวดเร็ว

3. ควรขอคาปรกึ ษาจากชาวบ้านเมือ่ เกดิ ข้อสงสยั หรือไมเ่ ข้าใจในงานที่

ไดร้ บั มอบหมาย เพือ่ ไมใ่ ห้เกดิ ข้อผดิ พลาดและเพ่ือเรียนรูว้ ิธีการปฏิบัติงานท่ถี ูกต้องที่สุด

9

ภาคผนวก

10

1. ภาคกลาง = ต้มข่าไก่ 6 ออนซ์
11/2 ถว้ ย
ส่วนผสมในการทา 3-4 แว่น
3-4 ต้น
1. เนื้ออกไก่หน่ั เต๋า 2 ใบ
2. นา้ ซุปไก่ หรือน้าเปลา่ 1/3 ถ้วย
3. ขา่ ห่ันเป็นแว่น 31/2 ชอ้ นโตะ๊
4. ตะไครซ้ อยบาง ๆ 11/2 ถ้วย
5. ใบมะกรูด 1/2 ถว้ ย
6. นา้ ปลา 1/3 ถ้วย
7. นา้ ตาลทราย 1-2 ช้อนโต๊ะ
8. กะทิ 4 เม็ด
9. เห็ด (ตามชอบ) 1 ต้น
10. น้ามะนาว (หรือน้าเลมอน) 1/2 ถว้ ย
11. น้ามนั น้าพรกิ เผา
12. พรกิ ขหี้ นสู ด
13. ตน้ หอม
14. ผักชี

11

ขน้ั ตอนการทา

1. ใส่น้าซปุ ไก่ (หรอื นา้ เปล่า) ลงในหมอ้ ตามด้วยขา่ ตะไคร้ ใบมะกรูด และกา้ นผักชีทซี่ อยเตรียม
ไว้ลงไป นาขนึ้ ตง้ั ไฟปานกลาง ต้มนานประมาณ 5-6 นาทจี นน้าเดือดและหอม
2. ใส่เนอ้ื อกไก่ลงไป ปรุงรสดว้ ยน้าปลาและน้าตาลทราย (จะยงั ไม่ใสก่ ะทิลงไปในข้ันตอนนี้ เพราะ
ถ้าต้มกะทินาน ๆ กะทิจะแตกมนั และไมส่ วยงาม) ต้มจนเดือด ประมาณ 5-6 นาที
3. เมื่อตม้ จนไกส่ กุ ขาวแล้ว ใส่กะทลิ งไป
4. ใส่เห็ดทเี่ ตรียมไวล้ งไป รอจนเดอื ดอกี ครั้ง
5. ใส่น้ามะนาวลงในหมอ้ หรอื ชาม ตามดว้ ยพริกท่ีทุบไว้ นา้ มันน้าพริกเผา พริกขหี้ นูสด และ
ตน้ หอมผกั ชซี อย
6. จากนั้นตกั ส่วนผสมต้มข่าไกล่ งไป ตกแต่งให้สวยงาม พร้อมเสิร์ฟ

1. ตม้ ขา่ ไก่

12

2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ = แกงออ่ มหมู 1 หอ่
สว่ นผสมในการทา 1 ชอ้ นโตะ๊
3 ชอ้ นโตะ๊
1. ซ่โี ครงอ่อนหมู ตราซีพี (500กรมั )(ห่อ) 3 ถว้ ย
2. น้าปลา 10 เม็ด
3. นา้ ปลาร้า 3 ลูก
4. นา้ เปล่า (ถ้วย) 3 ลูก
5. พรกิ แดงจนิ ดา 1 มัด
6. มะเขอื เปราะหนั่ เส้ียว 3 ราก
7. ต้นหอมหัน่ เป็นทอ่ น (ต้น) 3 ตน้
8. ผักชลี าวเดด็ ใบ 5 หวั
9. รากผักชบี บุ (ราก) 3 ชอ้ นโตะ๊
10. ตะไคร้บบุ พอแตก 1 หวั
11. หอมแดง (หวั )
12. ข้าวเบอื ตา
13. กะหล่าปลี

13

ขนั้ ตอนการทา

1. โขลกเคร่ือง : นาตะไครม้ าซอยแล้วใส่ลงในครก ตามด้วยหอมแดง พริกแดงจนิ ดา รากผกั ชี
จากน้นั โขลกให้ละเอียดกอ่ นนาไปพกั ไวเ้ พอ่ื นาไปคว่ั
2. ตม้ : ต้งั หม้อบนเตาแก๊สโดยใชไ้ ฟกลางคอ่ นออ่ น จากน้นั สันคอหมู ตราซีพี ตามด้วยเครอ่ื งแกง
ทีโ่ ขลกเอาไว้ นามาคว่ั ให้พริกแกงหอม ใสป่ ลารา้ น้าขา้ วเบือ และนา้ เปลา่ แลว้ คนให้เขา้ กัน เมอื่ นา้
เร่มิ เดือดใหใ้ สม่ ะเขือเปราะหน่ั เสยี้ วลงไป เมือ่ มะเขอื เปราะใกลส้ ุกให้ใส่น้าปลาลงไป ปรงุ รสตาม
ชอบได้เลย ใสต่ ้นหอมห่ันทอ่ นและผักชลี าวเดด็ ลงไปรอใหผ้ กั สกุ แลว้ ปิดไฟยกลงจากเตา
3. จดั เสิรฟ์ : ตกั แกงอ่อมหมใู สล่ งในถว้ ย เสิร์ฟพรอ้ มขา้ วเหนยี ว

2. แกงออ่ มหมู

14

3. ภาคเหนือ = น้าพรกิ ออ่ ง 1 กามอื
1 ชอ้ นชา
สว่ นผสมในการทา 5-8 กลบี
5 หวั
1. พรกิ แห้ง 1 ช้อนโต๊ะ
2. เกลอื 1 ชอ้ นชา
3. กระเทยี ม 1 ชอ้ นโต๊ะ
4. หอมแดง 1 ถว้ ย
5. รากผักชี 500 กรัม
6. กะปิ 1-2 ช้อนโตะ๊
7. เต้าเจย้ี ว 2-3 ชอ้ นโตะ๊
8. มะเขือเทศหัน่ ช้ิน 1 ชอ้ นโต๊ะ
9. หมสู บั 2 ชอ้ นโต๊ะ
10. น้ามะขามเปยี ก
11. น้าปลา
12. น้าตาลปบ๊ี
13. น้ามนั พืช

15

ข้ันตอนการทา

1. ทาน้าพรกิ อ่อง โดยเอาพรกิ ไปปั่น จากนนั้ นามาใส่ครก ใส่เกลอื นิดหน่อย ตามดว้ ยกระเทยี ม
หอมแดง และรากผักชี หรือก้านผกั ชี ตาพอแหลกใส่กะปิ ใสเ่ ตา้ เจ้ียวแทนถวั่ เน่า ตารวมกับ
น้าพริก ตาละเอียดแล้วแตช่ อบ
2. เริม่ ผัดโดยใสน่ ้ามันในกระทะ เปิดไฟกลางค่อนไปออ่ น ใส่นา้ พริกท่ตี าไว้ลงผัดใหห้ อม ใส่หมสู บั
ถ้าติดมันจะอร่อยมาก ผัดให้หมูสุกดี ปรุงรสดว้ ยนา้ ปลา น้าตาลปีบ๊ และนา้ มะขามเปียก ผดั ให้เข้า
กนั พอมะเขอื เทศสุกเปอ่ื ยแลว้ ชมิ รสตามชอบ
3. ตกั ใส่ถว้ ยพร้อมผักสด ๆ ตามชอบ กนิ กบั ขา้ วเหนยี ว หรือข้าวสวยร้อน ๆ

3. น้าพรกิ ออ่ ง

16

4. ภาคใต้ = แกงไตปลา ½ ถว้ ย
ส่วนผสมในการทา ¼ ถ้วย
¼ ถว้ ย
1. เนื้อปลาทแู กะ เอาก้างออก
2. ไตปลา สาเร็จรปู 3 ถ้วย
3. พรกิ แกงไตปลา 50 กรัม
4. น้าซปุ 50 กรมั
5. ฟกั ทองหน่ั เปน็ ชนิ้ เลก็ พอดีคา 30 กรมั
6. หน่อไม้ตม้ สุกหนั่ เปน็ ชิ้นเล็ก 20 กรัม
7. มะเขอื เปราะ 20 กรัม
8. ถ่วั ฝักยาว 10 กรัม
9. มะเขือพวง 10 กรัม
10. ขา่ หั่นแวน่ 5 กรัม
11. ตะไครท้ บุ 1 ชอ้ นชา
12. ใบมะกรูด
13. กะปิ

17

ข้ันตอนในการทา

1. ตม้ ตะไคร้ ใบมะกรูด และ ขา่ ใสห่ มอ้ ท่ีมีนา้ ซปุ รอให้น้าเดอื ด แล้วใส่ไตปลา
2. ปลอ่ ยให้เดอื ดก่อนคนใหเ้ ข้ากัน ใส่น้าพริกแกงไตปลา และเน้ือปลาททู ี่แกะไว้ ใส่ผักทลี ะอยา่ ง
และรอจนเดือด ปรุงรสดว้ ยกะปิ
3. รับประทานกบั ข้าวสวยรอ้ น ๆ ตะกรา้ ผักสด และขนมจนี

4. แกงไตปลา

18

อาหารภาคกลาง

19

อาหารภาคอสี าน

20

อาหารภาคเหนอื

21

อาหารภาคใต้

22

บรรณานุกรม

1. https://quarter.rtaf.mi.th/wp-
content/uploads/2019/05/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%
B2%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8
%B5%E0%B9%88%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84-1.pdf

2. https://www.happyfresh.co.th/blog/recipe/%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B
8%A1%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2-
%E0%B9%84%E0%B8%81%E0%B9%88/

3. https://www.knorr.com/th/recipe-
ideas/%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B9%88%E0
%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B9.html

4. https://food.mthai.com/food-recipe/96772.html
5. https://www.suaheew.com/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8

%B5%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%87%E0%B
9%84%E0%B8%95%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2/

23


Click to View FlipBook Version