The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบความรู้ที่ 5 การใช้แหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by makaum_num, 2022-12-06 21:45:42

ใบความรู้ที่ 5 การใช้แหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

ใบความรู้ที่ 5 การใช้แหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

ใบความรูท้ ี่ 5 การใชแ้ หลง่ เรยี นรผู้ ่านเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต
**************************************************************************
1. อนิ เทอรเ์ น็ต (Internet) คืออะไร
ถา้ จะถามว่าอนิ เทอรเ์ นต็ (Internet) คืออะไรก็คงจะตอบได้ไมช่ ดั เจนคงตอบได้กว้างๆว่าคือ 1) ระบบ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) ขนาดใหญ่ซ่ึงเกิดจากนาเอาคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
คอมพิวเตอร์จากท่วั โลกมาเชื่อมต่อกันเป็นเครือขา่ ยเดียวกันโดยใช้ข้อตกลงในการส่ือสารระหวา่ งคอมพวิ เตอร์
ใ น เ ค รื อ ข่ า ย ห รื อ ใ ช้ ภ า ษ า ส่ื อ ส า ร ห ลั ก (Protocol) เ ดี ย ว กั น คื อ TCP/IP (Transmission Control
Protocol/Internet Protocol) 2) เป็นแหล่งข้อมูลขนาดใหญ่ใช้เป็นเคร่ืองมือในการค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้
เกือบทุกประเภทเป็นเครื่องมือส่ือสารของคนทุกชาติทุกภาษาทั่วโลกและ 3) เป็นเสื่อ (Media) เผยแพร่ข้อมูล
ไดห้ ลายประเภทเชน่ สือ่ สง่ิ พมิ พ์, ส่อื โทรทศั นส์ ื่อวิทยุสือ่ โทรศพั ท์เปน็ ตน้
2. อินเทอร์เน็ตสาคญั อย่างไร
เทคโนโลยีสนเทศ (Information Technology) หลายประเทศท่ัวโลกกาลงั ให้ความสาคัญเทคโนโลยี
สารสนเทศหรือเรียกโดยย่อว่า “ไอที (IT) ซึ่งหมายถึงความรู้ในวิธีการประมวลผลจัดเก็บรวบรวมเรียกใช้และ
นาเสนอข้อมูลด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เคร่ืองมือที่จาเป็นต้องใช้สาหรับงานไอทีคือคอมพิวเตอร์อุปกรณ์
ส่ือสารโทรคมนาคมโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการส่ือสารไม่ว่าจะเป็นสายโทรศัพท์ดาวเทียมหรือเคเบ้ิลใยแก้วนา
แสงอินเทอร์เน็ตเปน็ เครื่องมือสาคญั อย่างหน่งึ ในการประยุกต์ใชไ้ อทีหากเราจาเป็นต้องอาศัยข้อมูลข่าวสารใน
การทางานประจาวันอินเทอร์เน็ตจะเป็นช่องทางที่ทาให้เราเข้าถึงข้อมูลข่าวสารหรือเหตุการณ์ความเป็นไป
ต่างๆทั่วโลกที่เกิดขึ้นได้ในเวลาอันรวดเร็วในปัจจุบนั สามารถสบื ค้นข้อมูลได้งา่ ยๆกวา่ สื่ออื่นๆอินเทอร์เน็ตเปน็
แหล่งรวบรวมข้อมูลแหล่งใหญ่ท่ีสุดของโลกและเป็นที่รวมทั้งบริการเครื่องมือสืบค้นข้อมูลหลายประเภท
จนกระทั่งกล่าวได้ว่าอินเทอร์เน็ตเป็นเคร่ืองมือสาคัญอย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทั้งใน
ระดับบคุ คลและองค์กร
3. ความหมายของอนิ เทอร์เน็ต
อนิ เทอร์เน็ต2 (องั กฤษ : Internet) หมายถึงเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญท่ ี่มีการเช่ือมต่อระหว่าง
เครือข่ายหลายๆเครือข่ายทั่วโลกโดยใช้ภาษาท่ีใช้ส่ือการกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่าโพรโทรคอล
(Protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถส่ือสารถึงกันได้ในหลายๆทางอาทิเช่นอีเมล์ (E-mail), เว็บบอร์ด (Web
bord), แชทรูม (Chat room) การสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่างๆรวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมา
ใชไ้ ด้
อินเทอร์เน็ตในลักษณะเปน็ แหลง่ เรยี นรูส้ าคัญในโลกปจั จุบนั
ถ้าจะพูดถึงว่าอินเทอร์เน็ตมีความจาเป็นและเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญที่สุดคงจะไม่ผิดนักเพราะเรา
สามารถใช้ชอ่ งทางน้ีทาอะไรได้มากมายโดยที่เราก็คาดไม่ถึงถ้าอย่างน้ันลองมาดูวิว่าอินเทอร์เน็ตมีความสาคัญ
อยา่ งไรกบั เราในโลกปจั จุบัน
เหตผุ ลสาคัญท่ีทาให้แหล่งเรียนรู้ผา่ นเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ตไดร้ บั ความนิยมแพร่หลายคอื
1. การสื่อสารบนอินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีไม่จากัด ระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ี
ต่างระบบปฏบิ ตั กิ ารกส็ ามารถตดิ ต่อส่อื สารกนั ได้
2. แหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไม่มีข้อจากัดในเร่ืองของระยะทางไม่ว่าจะอยู่ภายในอาคาร
เดยี วกนั หา่ งกนั คนละมุมโลกข้อมูลก็สามารถสง่ ผ่านถงึ กันไดด้ ้วยเวลารวดเร็ว
3. อินเทอร์เน็ตไม่จากัดรูปแบบของข้อมูลซึ่งมีได้ท้ังมูลมูลท่ีเป็นข้อความอย่างเดียวหรืออาจมี
ภาพประกอบรวมไปถึงขอ้ มลู ชนิดมลั ติมเี ดยี คือมีทั้งภาพเคลอื่ นไหวและมเี สยี งประกอบดว้ ยได้

หน้าที่และความสาคญั ของแหล่งเรยี นรู้อินเทอร์เน็ต
การส่ือสารในยุคปัจจุบันที่กล่าวขานกันว่าเป็นยุคไร้พรมแดนนั้นการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย

จานวนมากๆได้ในเวลาอันรวดเร็วและใชต้ ้นทุนในการลงทุนต่าเป็นส่ิงท่ีพงึ ปรารถนาของทุกหน่วยงาน
และอินเทอร์เน็ตเป็นส่ือที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการดังกล่าวได้จึงเป็นความจาเป็นที่ทุ กคน
ต้องให้ความสนใจและปรับตัวให้เข้ากับเทคโนโลยีใหม่น้ีเพื่อจะได้ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดังกลา่ ว
อย่างเตม็ ที่
ความสาคญั ของแหลง่ เรียนร้อู นิ เทอรเ์ น็ตกับงานด้านตา่ งๆ
ดา้ นการศกึ ษา

1. สามารถใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูลไม่ว่าจะเป็นข้อมูลทางวิชาการข้อมูลด้านการเมือง
ดา้ นการแพทยแ์ ละอ่นื ๆทีน่ า่ สนใจ

2. ระบบเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ตจะทาหน้าท่เี สมือนเป็นห้องสมดุ ขนาดใหญ่
3. ผู้ใช้สามารถใช้อินเทอร์เน็ตติดต่อกับแหล่งเรียนรู้อื่นๆเพ่ือค้นหาข้อมูลท่ีกาลังศึกษาอยู่ได้
ท้งั ท่ีข้อมูลท่ีเป็นขอ้ ความเสียงภาพเคล่ือนไหวต่างๆเป็นต้น
ด้านธุรกิจและการพาณชิ ย์
1. ในการดาเนินงานทางธรุ กจิ สามารถคน้ หาข้อมลู ต่างๆเพื่อชว่ ยในการตัดสนิ ใจทางธรุ กิจ
2. สามารถซ้ือขายสินคา้ ผา่ นระบบเครอื ขา่ ยอินเทอร์เน็ต
3. บริษัทหรือองค์กรต่าง ๆก็สามารถเปิดให้บริการและสนับสนุนลูกค้าของตนผ่านระบบ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้เช่นการให้คาแนะนาสอบถามปัญหาต่างๆให้แก่ลูกค้าแจกจ่ายตัวโปรแกรม
ทดลองใช้ (Shareware) หรอื โปรแกรมแจกฟรี (Freeware) เปน็ ตน้
ดา้ นการบันเทงิ
1. การพักผ่อนหย่อนใจสันทนาการเช่นการค้นหาวารสารต่างๆผ่านระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตท่ีเรียกว่า Magazine Online รวมท้ังหนังสือพิมพ์และข่าวสารอ่ืนๆโดยมีภาพประกอบที่
จอคอมพิวเตอร์เหมือนกบั วารสารตามร้านหนงั สอื ท่ัวๆไป
2. สามารถฟงั วิทยุผา่ นระบบเครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ ได้
3. สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตร์ตัวอย่างทั้งภาพยนตร์ใหม่และเก่ามาดูได้จาก
เหตผุ ลดังกล่าวพอจะสรปุ ได้กล่าวอินเทอร์เน็ตมีความสาคญั ในรูปแบบดังน้ี
3.1 การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทีท่ ันสมยั
3.2 การตดิ ต่อสอ่ื สารที่สะดวกและรวดเรว็
3.3 แหล่งรวบรวมข้อมูลแหล่งใหญ่ที่สุดของโลกโดยสรุปอินเทอร์เน็ตได้นามาใช้
เครื่องมือ ท่ีจาเป็นสาหรับงานไอทีทาให้เกิดช่องทางในการเข้าถึงข้อมูลท่ีรวดเร็วช่วยในการ
ตดั สนิ ใจและบริหารงานทงั้ ระดับบุคคลและองค์กร
ความสาคัญของแหล่งเรียนรผู้ า่ นเครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็
ความสาคัญของข้อมลู แหล่งเรียนรูผ้ ่านเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ตเป็นส่งิ ทต่ี ระหนักกนั อยูเ่ สมอ
การจัดเก็บข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ง่ายและสื่อสารได้รวดเร็ว
การจัดเก็บข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งอยู่ในรูปแบบของสัญญาณ
อิเล็กทรอนิกส์ผู้เรียนสามารถจัดเก็บไว้ในแผ่นบันทึกข้อมูลสามารถบันทึกได้มากกวา่ 1 ล้านตัวอักษร
สาหรับการส่ือสารข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ผา่ นเครือข่ายอินเทอร์เน็ตน้นั ข้อมูลสามารถส่งผ่านสญั ญาณ

อเิ ล็กทรอนิกส์ไดด้ ้วยอตั รา 120 ตวั อกั ษรต่อวินาทีและสามารถสง่ ขอ้ มูล 200 หน้าได้ในเวลาเพยี ง 40 นาทีโดย
ที่ผเู้ รียนไม่ต้องเสยี เวลานัง่ ป้อนขอ้ มูลเหล่าน้ันช้าใหม่อีก

ความถูกต้องของขอ้ มูลจากแหล่งเรยี นรผู้ า่ นเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็
โดยปกติมีการส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์จากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่งด้วยระบบดิจิตอลวิธีการ
รับสง่ ข้อมูลจะมกี ารตรวจสอบสภาพของขอ้ มูลหากข้อมูลผดิ พลาดกม็ ีการรับรู้และพยายามหาวิธแี ก้ไขให้ข้อมูล
ที่ได้รับมีความถูกต้องโดยอาจให้ทาการส่งใหม่กรณีที่ผิดพลาดไม่มากผู้รับอาจใช้โปรแกรมของตนแก้ไขข้อมูล
ให้ถูกตอ้ งได้ดว้ ยตนเอง
ความรวดเร็วของการทางานจากแหล่งเรียนรู้ผา่ นเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ตโดยปกติสัญญาณทางไฟฟ้า
จะเดินทางด้วยความเร็วเท่าแสงทาให้การส่งผ่านข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจากซีกโลก
หน่ึงสามารถทาได้รวดเร็วถึงแม้ว่าข้อมูลจากฐานข้อมูลของแหล่งเรียนรู้นั้นจะมีขนาดใหญ่ก็ตามความรวดเร็ว
ของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะทาให้ผู้เรียนสะดวกสบายอย่างยิ่งเช่นการทาบัตรประจาตัวประชา ชน
ผู้รับบริการสามารถทาที่ใดก็ได้เพราะระบบฐานข้อมูลจะเช่ือมต่อถึงกันได้ทุกท่ีท่ัวประเทศทาให้เกิดความ
สะดวกกบั ประชาชนผรู้ บั บรกิ าร
แหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีต้นทุนประหยัดการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าหากันเป็น
เครือข่ายเพื่อรับและส่งหรือสาเนาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาให้ราคาต้นทุนของการ
ใช้ข้อมูลประหยัดมากเมื่อเปรียบเทียบกับการจัดส่งแบบอ่ืนซ่ึงผู้เรียนสามารถรบั และส่งข้อมูลจากแหลง่ เรียนรู้
ใหร้ ะหว่างกนั ผ่านทางสญั ญาณอเิ ล็กทรอนิกสไ์ ดส้ ะดวกรวดเร็วและถูกต้อง
ช่ือและเลขท่อี ยูไ่ อพขี องแหลง่ เรยี นรู้ผ่านเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องท่ีต่ออยู่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะมีเลขท่ีอยู่ไอพี (IP address) และแต่ละ
เคร่ืองทั่วโลกจะต้องมีเลขที่อยู่ไอพีไม่ซ้ากันเลขท่ีอยู่ไอพีน้ีจะได้รับการกาหนดเป็นกฎเกณฑ์ให้แต่ละองค์กร
นาไปปฏิบตั เิ พื่อให้ระบบปฏิบตั ิการเรียกช่ือง่ายและการบรหิ ารจัดการเครือข่ายทาได้ดีจึงกาหนดชื่อแทนเลขที่
อยู่ไอพเี รยี กวา่ โดเมนโดยจะมีการตั้งชอื่ สาหรับเคร่ืองคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องท่ีอยู่บนเครือข่ายเช่น nfe.go.th
ซ่ึงใช้แทนเลขท่ีอยู่ไอพี 203.172.142.0 การกาหนดให้มีการใช้ระบบชื่อโดเมนมีการกาหนดรปู แบบเป็นลาดับ
ชน้ั คอื
บริการจากอนิ เทอรเ์ นต็
1. การสืบค้นข้อมูลความรู้จากเว็บไซต์ต่างๆเพียงแต่พิมพ์คาสาคัญจากเน้ือหาหรือเร่ืองท่ีต้องการ
ค้นคว้าก็จะได้ช่ือเว็บไซต์จานวนมากผู้เรียนสามารถเลือกหาอ่านได้ตามความต้องการเช่นกล้วยไม้สัตว์สงวน
ข่าวด่วนวันนี้ราคาทองคาอุณหภูมิวันน้ีอัตราแลกเปลี่ยนเงินฯลฯ (ผู้เรียนสามารถฝึกการใช้อินเทอร์เน็ตจาก
หอ้ งสมดุ ประชาชนหรอื เรียนรู้ด้วยตนเองจากหนังสือ)
2. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) หรือที่เรียกกันว่าอีเมล์เป็นการติดต่อส่ือสารด้วยตัวหนังสือแบบ
ใหมแ่ ทนจดหมายบนกระดาษสามารถรับส่งข้อมูลระหว่างกันได้อยา่ งรวดเร็วเป็นท่ีนยิ มในปจั จุบัน
3. การสนทนาหรือห้องสนทนา (Chat room) เป็นการสนทนาผ่านอินเทอร์เน็ตสามารถโต้ตอบกันได้
ทันทีแลกเปลีย่ นเรียนรถู้ ามตอบปัญหาได้หลายๆคนในเวลาเดียวกนั
4. กระดานข่าว (Web Board) ผู้ใช้สามารถแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารต่างๆการให้ข้อเสนอข้อคิดเห็น
อภิปรายโต้ตอบทุกคนสามารถเข้าไปให้ข้อคิดเห็นได้โดยมีผู้ให้บริการเป็นผู้ตรวจสอบเนื้อหาและสามารถลบ
ออกจากขอ้ มูลได้

5. การโฆษณาประชาสัมพันธ์หนว่ ยงานต่างๆจะมีเว็บไซต์ให้บรกิ ารข้อมูลและประชาสัมพนั ธ์
องค์กรหรือหน่วยงานเราสามารถเข้าไปใช้บริการเช่นสถานท่ีต้ังของห้องสมุดบทบาทภารกิจของ
พิพธิ ภัณฑส์ วนสตั ว์อยทู่ ใ่ี ดบ้างแหล่งเรียนรูม้ ีท่ีใดบ้างตารางสอบของนักศึกษากศน. เปน็ ตน้

6. การอ่านข่าวมีเว็บไซต์บริการข่าวเช่น CNN New York Time ตลอดจนข่าวจาก
หนังสอื พิมพต์ ่างๆในประเทศไทย

7. การอ่านหนังสือวารสารและนิตยสารมีบริษัทที่ผลิตส่ือสิ่งพิมพ์จานวนมากจัดทาเป็น
นติ ยสารออนไลนเ์ ชน่ นิตยสาร MaxPC นิตยสาร Interment ToDay นติ ยสารดิฉนั เป็นตน้

8. การส่งการ์ดอวยพรสามารถส่งการ์ดอวยพรอิเล็กทรอนิกส์หรือ E-Card ผ่านอินเทอร์เน็ต
โดยไมเ่ สียคา่ ใช้จ่ายสะดวกรวดเรว็

9. การซื้อสินค้าและบริการเป็นการซื้อสินค้าออนไลน์โดยสามารถเลือกดูสินค้าพร้อมท้ัง
คณุ สมบตั ขิ องสนิ ค้าและส่ังซื้อสนิ ค้าพร้อมชาระเงินด้วยบัตรเครดติ ในทนั ทบี ริษทั ต่างๆจงึ มีการโฆษณา
ขายสินคา้ ผ่านอินเทอรเ์ น็ตเปน็ การใช้อินเทอร์เน็ตเชิงพาณชิ ยซ์ ่ึงไดร้ บั ความนยิ มในตา่ งประเทศมาก

10. สถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่ายปัจจุบันสถานีวิทยุบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีหลาย
ร้อยสถานีผู้ใช้สามารถเลือกสถานีท่ี..และได้ยินเสียงเหมือนการเปิดฟังวิทยุขณะเดียวกันก็มีการส่ง
กระจายภาพวิดีโอบนเครือข่ายด้วยแต่ยังมีปัญหาตรงท่ีความเร็วของเครือข่ายท่ียังไม่สามารถรองรับ
การส่งขอ้ มลู จานวนมากทาใหค้ ณุ ภาพของภาพไมต่ อ่ เน่ือง
ประโยชน์โทษและมารยาทในการใช้อนิ เทอร์เนต็ เปน็ แหลง่ เรยี นรู้
1. ประโยชนข์ องแหล่งเรยี นรูผ้ ่านเครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ต

อินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนชุมชนเมืองแห่งใหม่ของโลกเป็นชุมชนของคนท่ัวมุมโลกจึงมี
บรกิ ารต่างๆเกดิ ขึ้นใหมต่ ลอดเวลาในท่นี ้ีจะกล่าวถงึ ประโยชน์ของอนิ เทอร์เนต็ หลกั ๆดังนี้

1.1 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic mail=E=mail) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรือ E-
mail เป็นการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยผู้ส่งจะต้องส่งข้อความไปยังที่
อยู่ของผู้รับซึ่งเป็นที่อยู่ในรปู แบบของอีเมล์เมอื่ ผู้ส่งเขียนจดหมาย 1 ฉบับแล้วส่งไปยังท่ีอยู่น้ันผู้รับจะ
ได้รับจดหมายภายในเวลาไม่ก่ีวินาทีแม้จะอยู่ห่างกันคนละซีกโลกก็ตามนอกจากนี้ยังสามารถส่ง
แฟม้ ขอ้ มูลหรอื ไฟลแ์ นบไปกับอีเมล์ได้ด้วย

1.2 การขอเขา้ ระบบจากระยะไกลหรอื เทลเน็ต (Telnet) เป็นการบริการอนิ เทอรเ์ น็ตรปู แบบ
หนึ่งโดยท่ีเราสามารถเข้าไปใช้งานคอมพิวเตอร์อีกเคร่ืองหนึ่งที่อยู่ไกลๆได้ด้วยตนเองเช่นถ้าเราอยู่ที่
โรงเรียนทางานโดยใช้อินเทอร์เน็ตของโรงเรียนแล้วกลับไปที่บ้านเรามีคอมพิวเตอร์ที่บ้านและต่อ
อินเทอร์เน็ตไว้เราสามารถเรียกข้อมูลจากท่ีโรงเรียนมาทาท่ีบ้านได้เสมือนกับเราทางานท่ีโรงเรียน
นน่ั เอง

1.3 การโอนถ่ายข้อมูล (File Transfer Protocol หรือ FTP) เป็นการบริการอีกรูปแบบหน่ึง
ของระบบอินเทอร์เน็ตเราสามารถค้นหาและเรียกข้อมูลจากแหล่งต่างๆมาเก็บไว้ในเคร่ืองของเราได้
ทัง้ ขอ้ มูลประเภทตัวหนงั สือรปู ภาพและเสยี ง

1.4 การสืบค้นข้อมูล (Gopher, Archie, World wide Web) หมายถึงการใช้เครือข่าย
อินเทอร์เน็ตในการคน้ หาข่าวสารที่มีอย่มู ากมายแล้วชว่ ยจดั เรียงข้อมูลขา่ วสารหัวข้ออยา่ งมีระบบเป็น
เมนูทาใหเ้ ราหาขอ้ มลู ไดง้ ่ายหรอื สะดวกมากข้นึ

1.5 การแลกเปลี่ยนข่าวสารและความคิดเห็น (Usenet) เป็นการให้บริการแลกเปล่ียน
ข่าวสารและแสดงความคิดเห็นที่ผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตทั่วโลกสามารถพบปะกันแสดงความคิดเห็น
ของตนโดยมีการจัดการผู้ใช้เป็นกลุ่มหรือนิวกรุ๊ป (New Group) แลกเปล่ียนความคิดเห็นกันเป็น
หัวข้อต่างๆเช่นเร่ืองหนังสือเร่ืองการเล้ียงสัตว์ต้นไม้คอมพิวเตอร์และการเมืองเป็นต้นปัจจุบันมี

Usenet มากกว่า 15,000 กลุ่มนับเป็นเวทีขนาดใหญ่ให้ทุกคนจากท่ัวมุมโลกแสดงความคิดเห็นอย่าง
กว้างขวาง

1.6 การส่ือสารด้วยข้อความ (Chat, IRC-Internet Relay Chat) เป็นการพูดคุยระหว่างผู้ใช้
อินเทอร์เน็ตโดยพิมพ์ข้อความตอบกันซงึ่ เป็นวธิ ีการส่ือสารที่ได้รับความนิยมมากอีกวิธีหนึ่งการสนทนากันผ่าน
อินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนเรานั่งอยู่ในห้องสนทนาเดียวกันแต่ละคนก็พิมพ์ข้อความโต้ตอบกันไปมาได้ในเวลา
เดียวกนั แมจ้ ะอยคู่ นละประเทศหรือคนละซกี โลกก็ตาม

1.7 การซื้อขายสินค้าและบริการ (E-Commerce = Electronic Commerce) เป็นการจับจ่ายซื้อ
สินค้าและบริการเช่นขายหนังสือคอมพิวเตอร์การท่องเที่ยวเป็นต้นปัจจุบันมีบริษัทใช้อินเทอร์เน็ตในการทา
ธรุ กจิ และให้บรกิ ารลูกค้าตลอด 24 ช่วั โมงในปี 2540 การค้าขายบนอินเทอร์เนต็ มีมูลค่าสูงถึง 1 แสนลา้ นบาท
และจะเพิม่ เป็น 1 ลา้ นล้านบาทในอกี 5 ปีข้างหน้าซึง่ เป็นโอกาสธรุ กิจแบบใหม่ท่ีน่าสนใจและเปิดทางให้ทุกคน
เขา้ มาทาธรุ กรรมไมม่ ากนกั

1.8 การให้ความบันเทิง (Entertain) ในอินเทอร์เน็ตมีบริการด้านความบันเทิงในทุกรูปแบบต่างๆเชน่
เกมเพลงรายการโทรทัศน์รายการวิทยุเป็นต้นเราสามารถเลือกใช้บริการเพ่ือความบันเทิงได้ตลอด 24 ช่ัวโมง
และจากแหล่งต่างๆทวั่ ทกุ มุมโลกทง้ั ประเทศไทยอเมริกายุโรปและออสเตรเลยี เป็นตน้
2. โทษของแหล่งเรยี นร้ผู า่ นเครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต

ทุกสรรพส่ิงในโลกย่อมมีทง้ั ดา้ นท่ีเปน็ คณุ ประโยชนแ์ ละดา้ นท่ีเป็นโทษเปรยี บเสมือนเหรียญที่มี 2 ดา้ น
เสมอขึ้นอยู่กับว่าเราจะเลือกใช้อย่างไรให้เกิดผลดีต่อเราขอยกตัวอย่างโทษที่อาจจะเกิดข้ึนได้จากการใช้งาน
อนิ เทอร์เน็ตดงั นี้

2.1 โรคติดอินเทอร์เน็ต (Webaholic) ถ้าจะถามว่าอินเทอร์เน็ตก็เป็นสิ่งเสพติดหรือ? ก็คงไม่ใช่แต่ถ้า
เปรยี บเทียบกันแลว้ ก็คงไม่แตกต่างหากการเลน่ อนิ เทอรเ์ นต็ ทาให้คณุ เสียงานหรือแม้แต่ทาลายสขุ ภาพ

2.2 อินเทอร์เน็ตทาให้รู้สึกหมกมุ่นมีความต้องการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเวลานานข้ึนไม่สามารถควบคุม
การใช้อินเทอร์เน็ตได้รู้สึกหงุดหงิดเม่ือต้องใช้อินเทอร์เน็ตน้อยลงหรือหยุดใช้อินเทอร์เน็ตเป็นวิธีในการ
หลีกเลี่ยงปญั หาหรือคิดวา่ การใช้อนิ เทอร์เน็ตทาให้ตนเองร้สู ึกดีขึ้นหลอกคนในครอบครวั หรือเพื่อนเร่ืองการใช้
อนิ เทอรเ์ นต็ ของตวั เองการใช้อนิ เทอรเ์ นต็ ทาใหเ้ กิดการเสยี่ งต่อการสูญเสยี งานการเรียนและความสัมพนั ธ์ยังใช้
อนิ เทอร์เน็ตถงึ แมว้ ่าตอ้ งเสียค่าใชจ้ า่ ยมากมอี าการผิดปกติอย่างเชน่ หดหู่กระวนกระวายเมื่อเลิกใชอ้ นิ เทอร์เน็ต
ใช้เวลาในการใชอ้ นิ เทอร์เนต็ นานกว่าท่ีตวั เองไดต้ ้ังใจไว้

2.3 เรื่องอนาจารผิดศีลธรรมเร่ืองของข้อมูลต่างๆที่มีเนื้อหาไปในทางขัดต่อศีลธรรมลามกอนาจาร
หรือรวมถงึ ภาพโป๊เปลอื ยตา่ งๆน้นั เปน็ เร่อื งทม่ี ีมานานพอสมควรแลว้ บนโลกอนิ เทอร์เนต็ แต่ไม่โจง่ แจ้งเนื่องจาก
สมัยก่อนเป็นยุคที่ www ยังไม่พัฒนามากนักทาให้ไม่มีภาพออกมาแต่ในปัจจุบันภาพเหล่านี้เป็นท่ีโจ่งแจ้งบน
อินเทอร์เน็ตและส่ิงเหล่าน้ีสามารถเข้าสู่เด็กและเยาวชนได้ง่ายโดยผู้ปกครองไม่สามารถท่ีจะให้ความดูแลได้
เต็มทเี่ พราะว่าอนิ เทอร์เน็ตน้ันเป็นโลกท่ีไร้พรมแดนและเปิดกว้างทาใหส้ ื่อเหล่านี้สามารถเผยแพร่ไปได้รวดเร็ว
จนเราไมส่ ามารถจับกุมหรือเอาผิดผทู้ ีท่ าส่งิ เหลา่ นข้ี ึน้ มาได้

2.4 ไวรัสม้าโทรจันหนอนอินเทอร์เน็ตและระเบิดเวลาทาให้ข้อมูลที่เก็บไว้ถูกทาลายหมด ไวรัสเป็น
โปรแกรมอิสระซ่ึงจะสืบพันธ์ุโดยการจาลองตัวเองให้มากข้ึนเร่ือยๆเพ่ือที่จะทาลายข้อมูลหรืออาจทาให้เครื่อง
คอมพวิ เตอรท์ างานช้าลงโดยการแอบใช้สอยหน่วยความจาหรอื พืน้ ท่วี ่างบนดสิ ก์โดยพลการ

หนอนอินเทอร์เน็ตถูกสร้างขึ้นโดย Robert Morris, Jr. จนดังกระฉ่อนไปท่ัวโลกมันคือโปรแกรมท่ีจะ
สืบพันธ์ุโดยการจาลองตัวเองมากข้ึนเร่ือยๆจากระบบหน่ึงครอบครองทรัพยากรและทาให้ระบบช้าลงระเบิด
เวลาคือรหัสซึ่งจะทาหน้าท่ีเป็นตัวกระตุ้นรูปแบบเฉพาะของการโจมตีนั้นๆทางานเม่ือสภาพการโจมตีน้ันๆ
มาถงึ เช่นระเบดิ เวลาจะทาลายไฟลท์ ้ังหมดในวนั ที่ 31 กรกฎาคม 2542
สว่ นโทษเฉพาะทเ่ี ป็นภยั ต่อเด็กมอี ยู่ 7 ประการบนอินเทอร์เน็ตสามารถจาแนกออกไดด้ ังนี้

1. การแพรส่ ่อื ลามกมที ้ังที่เผยแพร่ภาพลามกอนาจารภาพการสมสู่ภาพตดั ต่อลามก
2. การล่อล่วงโดยปล่อยให้เด็กและเยาวชนเข้าไปพูดคุยกันใน Chat จนเกิดการล่อลวงนัด
หมายไปขม่ ขืนหรือทาในสงิ่ ท่เี ลวร้าย
3. การค้าประเวณีมีการโฆษณาเพอ่ื ขายบริการรวมทงั้ ชักชวนใหเ้ ข้ามาสมัครขายบริการ
4. การขายสนิ คา้ อันตรายมตี งั้ แตย่ าสลบยาปลุกเซก็ ซ์ปืนเคร่ืองช็อตไฟฟ้า
5. การเผยแพร่การทาระเบิดโดยอธบิ ายข้ันตอนการทางานอย่างละเอยี ด
6. การพนนั มใี หเ้ ข้าไปเล่นไดใ้ นหลายรปู แบบ
7. การเลม่ เกมมีทง้ั เกมทร่ี ุนแรงไลฆ่ า่ ฟนั และเกมละเมิดทางเพศ

3. มารยาทในการใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ เปน็ แหล่งเรียนรู้
ทุกวันนี้อินเทอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาทและส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ใน

แทบทุกด้านรวมทั้งได้ก่อให้เกิดประเด็นปัญหาขึ้นในสังคมไม่ว่าในเรื่องความเป็นส่วนตัวความ
ปลอดภัยเสรีภาพของการพูดอ่านเขียนความซ่ือสัตย์รวมถึงความตระหนักในเรื่องพฤติกรรมท่ีเรา
ปฏบิ ัตติ ่อกนั และกันในสังคมอนิ เทอร์เน็ตในเรื่องมารยาทหรอื จรรยามารยาทบนเนต็ ซึ่งเป็นพน้ื ที่ที่เปิด
โอกาสให้ผู้คนเข้ามาแลกเปล่ียนส่ือสารและทากิจกรรมรว่ มกันชมุ ชนใหญ่บ้างเล็กบ้างบนอินเทอรเ์ นต็
น้ันก็ไม่ต่างจากสังคมบนโลกแห่งความเปน็ จริงท่ีจาเป็นต้องมีกฎกติกา (Codes of Conducr) เพ่ือใช้
เปน็ กลไกสาหรับการกากบั ดูแลพฤติกรรมและการปฏสิ ัมพันธ์ของสมาชกิ


Click to View FlipBook Version