The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by saowanit0982256245, 2021-09-10 05:52:22

การเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ

การเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ

การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

จัดทาโดย

นายธนกร สินธสุ ุวรรณ 2ชฟ7 เลขท่ี 139

การเปลย่ี นแปลงในวยั ผ้สู งู อายุ

การเปลย่ี นแปลงในวัยสูงอายุ
องคก์ ารอนามยั โลกใหค้ าจากดั ความเก่ียวกบั วยั สงู อายุไวด้ งั นี้
-ผสู้ งู อายุ (Elderly) เป็นผทู้ ี่มีอายรุ ะหวา่ ง 60-74 ปี
-คนชรา (Old) เป็นผทู้ ่ีมีอายรุ ะหวา่ ง 75-79 ปี
-คนชรามาก (Very old) เป็นผทู้ ่ีมีอายรุ ะหวา่ ง 90 ปีขนึ้ ไป
การเปลย่ี นแปลงทางด้านร่างกาย
การเปลยี่ นแปลงเม่ือเขา้ สวู่ ยั สงู อายทุ ง้ั ทางรา่ งกาย จิตใจ และสงั คมมีดงั นี้
-ผมและขน จะเปลย่ี นจากสดี าเป็นสีขาว แหง้ และรว่ งงา่ ย
-ผิวหนัง ขาดความเต่งตงึ นา้ มนั ใตผ้ วิ หนงั นอ้ ยลง เลอื ดทมี่ าเลยี้ งนอ้ ยลงทาใหเ้ หย่ี วย่นและ
หยาบขนึ้ ไขมนั ใตผ้ วิ หนงั ลดลงทาใหเ้ กดิ รอยย่น สผี วิ เปล่ยี นไปและผวิ หนงั ตกกระ
-กระดกู มีความเปราะบาง เนื่องจากมีการเส่ือมสลายของแคลเชียม ขาดวติ ามนิ ดี ทาให้
กระดกู พรุน หกั ง่าย หมอนรองกระดกู สนั หลงั สกึ กรอ่ น ทาใหเ้ ตีย้ ลง หลงั โกง

อวัยวะทจี่ ะค่อยเสอื่ มลงในวัยผู้สูงอายุ

ตา จะเลก็ ลงเพราะจานวนไขมนั หลงั ลกู ตานอ้ ยลง หนงั ดาตก ขอบเขต การมองเหน็ แคบลง
กลา้ มเนอื้ ตาเสอ่ื ม กระจกตาขนุ่ นา้ ตาลดลงทาใหต้ าแหง้ ระคายเคืองตอ่ เยื่อบตุ าไดง้ ่าย
ลนิ้ รบั รูร้ สนอ้ ยลง การรบั รสหวานจะสูญเสยี ก่อนการรบั รสอ่ืน ๆ
ระบบทางเดนิ หายใจ ความจปุ อดนอ้ ยลง ปรมิ าณอากาศคา้ งในปอดเพมิ่ ขนึ้ เนอ่ื งจากความ
ยืดหยุน่ ของทรวงอกลดลง
ระบบทางเดนิ อาหาร ต่อมนา้ ลายขบั นา้ ลายออกนอ้ ย ทาใหป้ ากแหง้ การหลง่ั นา้ ยอ่ ยของ
กระเพาะอาหารลดลง การบีบตัวและการเคล่ือนไหวของลาไสล้ ดลง ทาใหก้ ารย่อยและการดดู
ซมึ ลดลงทอ้ งอืดงา่ ย เบ่ืออาหาร ดว้ ยภาวะขาดอาหารและโลหติ จางได้
ระบบการไหลเวียนโลหติ ความยืดหยุน่ ของเสน้ เลอื ดลดลง มีการเกาะจบั แคลเซยี มตามผนงั
เสน้ เลือดสงู ทาใหเ้ กิดการตา้ นการไหลเวียนของเลอื ดและมีความดนั โลหติ สงู กวา่ ปกติ
หู ประสาทรบั เสียงเสื่อมเกดิ หตู ึงไดย้ นิ เสยี งต่า ๆ ไมช่ ดั เจน
จมูก ประสาทรบั กลน่ิ เส่ือมลง ทาใหก้ ารรบั รูก้ ลนิ่ ลดลง
ระบบต่อมไร้ทอ่ ต่อมใต้สมองเสอ่ื มหลง่ั ฮอรโ์ มนลดลง ทาใหอ้ อ่ นเพลยี เบ่ืออาหาร ขน
บรเิ วณรกั แรแ้ ละหวั หนา่ วร่วง อวยั วะเพศเลก็ ลง ต่อมไทรอยดข์ นาดเลก็ ลง ทาใหเ้ บือ่ อาหาร
ตาฝา้ ฟางขุน่ มวั ต่อมพาราไทรอยดม์ ีการลดลงของฮอรโ์ มนทาใหก้ ระดกู ผกุ รอ่ น
ตับอ่อนหล่งั อินซูลนิ นอ้ ยลงจงึ นานา้ ตาลไปใช้ประโยชนไ์ ด้นอ้ ยลง ทาใหม้ ีแนวโน้
เป็นเบาหวานไดง้ ่าย ต่อมหมวกไตทางานมากขนึ้ ทาใหม้ ีอารมณห์ งุดหงิดง่ายแตจ่ ะมีความ
เฉ่ือยชา ตอ่ มเพศในเพศหญิงมีผลดา้ นอารมณม์ ากกวา่ เพศชาย ระบบขับถ่ายการขบั ของเสีย
ไดน้ อ้ ยลงถา่ ยปัสสาวะบอ่ ยหรู ูดบรเิ วณช่องเปิดกระเพาะปัสสาวะ เสอ่ื มระบบประสาท มีการ
เปล่ียนแปลงของเซลลส์ มองและเชลลป์ ระสาททาใหป้ ระสทิ ธิภาพการทางานของสมองและ
ประสาทลดลง การเคลือ่ นไหวและความคดิ ชา้ ลงความจาเสอื่ ม

การเปลย่ี นแปลงทางด้านจติ ใจ

1.ผสู้ งู อายสุ ว่ นใหญม่ กั ยึดตดิ กบั ความคดิ และเหตุผลของตวั เอง เรียนรูส้ งิ่ ใหม่ ๆ ไดย้ ากเพราะ
ขาดความม่นั ใจในการปรบั ตวั มีอารมณก์ งั วลงา่ ยและกลวั ถกู ทอดทงิ้
2. เกิดความทอ้ แท้ ใจนอ้ ย หงดุ หงดิ และโกรธงา่ ย ซมึ เศรา้
3.สนใจเฉพาะเร่อื งทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั ตนเองมากกวา่ เร่ืองของผอู้ ื่น สนใจสงิ่ แวดลอ้ มนอ้ ยลง

แนวทางการปฏบิ ตั ิ
ผสู้ งู อายุควรมีการสรา้ งวถิ ีชีวติ ของตนเองเพ่อื ไม่ใหเ้ ป็นภาระกบั ผอู้ ่ืนควรพงึ่ ตนเองไดใ้ นระดบั
หนงึ่ และทาใจยอมรบั สภาพของการเขา้ สวู่ ยั สงู อายุอย่างมีสติการเปลยี่ นแปลงทางสงั คม

การเปลยี่ นแปลงทางสงั คม

1.ภาระหนา้ ที่และบทบาททางสงั คมจะลดนอ้ ยลง ทาใหผ้ สู้ งู อายุห่างไกลจากสงั คม
2.คนสว่ นใหญม่ กั มองวา่ ผสู้ งู อายุมีสมรรถภาพและความสามารถนอ้ ยลงจงึ ไมใ่ หร้ บั ผดิ ชอบ
3.เปลย่ี นบทบาทจากผนู้ ากลายเป็นผตู้ ามหรือผอู้ าศยั ในครอบครวั

โรคทพ่ี บบอ่ ยในผ้สู งู อายุ

โรคท่ีพบบอ่ ยในผสู้ งู อายุสว่ นหนง่ึ มาจากการเจบ็ ป่ วยสะสมตง้ั แต่วยั หนมุ่ สาวหรอื วยั
ทางาน แต่ชาดการรกั ษาหรือดแู ลอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ทาใหเ้ กดิ อาการรุนแรงในวยั สงู อายุ โรคทีพ่ บ
บอ่ ยในผสู้ งู อายุ ไดแ้ ก่

1.โรคความดนั โลหติ สูง
ในคนปกติมีค่าความดนั โลหติ 120/80 มิลลเิ มตรปรอท แต่ในผทู้ ่มี ีความเสยี่ งเป็นโรคความ

ดนั โลหติ สงู จะมีคา่ ประมาณ 140/90 มิลลเิ มตรปรอทหรอื มากกวา่ ขอ้ สงั เกตอาการบางครงั้ มี
อาการหนา้ มืด ใจสน่ั และตาพร่ามวั เมื่อเกิดอาการผดิ ปกติจงึ ควรปรกึ ษาแพทย์

2.โรคเบาหวาน
เกดิ จากความผดิ ปกติของรา่ งกายทเี่ กี่ยวกบั กระบวนการผลติ ฮอรโ์ มนอินซลู นิ ไมเ่ พยี งพอ

สง่ ผลใหร้ ะดบั นา้ ตาลในเลอื ดพงุ่ ขนึ้ สงู ขอ้ สงั เกตคือ มีอาการกระหายนา้ ปีสสาวะบอ่ ย ด่ืมนา้
มาก ออ่ นเพลยี นา้ หนกั ตวั ลดลงโดยไมม่ ีสาเหตุ อาจเกดิ ภาวะแทรกชอ้ นรว่ มด้วย เช่น ตาพรา่
มวั หรอื ตาบอด ไตเสื่อม ชาปลายมือปลายเทา้ เสย่ี งตอ่ การติดเชือ้ งา่ ย

3.โรคขอ้ เข่าเสอ่ื ม
ขอ้ เสื่อมขนึ้ อย่กู บั การใชง้ านขอ้ และสภาพรา่ งกาย ถา้ นา้ หนกั มากจะกดกระแทกขอ้ ขอ้ จะเสือ่ ม
เรว็ ถา้ ใชง้ านขอ้ มาก เช่น เดนิ มาก ยืนมเดินขนึ้ ลงบนั ไดมาก ๆ ขอ้ จะเส่อื มเรว็ ขอ้ สงั เกตคือ มี
อาการปวดขอ้ อาจมีเสยี งก็อบแกบ้ ในขอ้ ขณะเดนิ ยืน หรือขนึ้ บนั ได

4.โรคภาวะสมองเสอ่ื ม
ภาวะท่ีความสามารถทางสติปัญญาลดลง คิดและจาไม่ไดม้ ีอากหลงลืม การพดู ผดิ ปกติ
พฤติกรรมและอารมณเ์ ปล่ียนแปลงง่าย ขอ้ มีอาการสญู เสยี ความจา โดยเฉพาะเรอื่ งท่เี พงิ่
เกิดขนึ้ (หลงลืม) เชน่ ลืมของอาหารทีเ่ พง่ิ รบั ประทานไป ทากจิ วตั รประจาวนั ท่ีคุน้ เคยดว้ ย

ลืมวธิ ีการแต่งตวั มีปัญหาในการใชภ้ าษากบั ผอู้ ่ืนลาบาก สบั สนวนั เวลา สถานที่ หลงทางกลบั
บา้ น การตดั สนิ ใจแย่ลงเก็บของผดิ ท่ี อารมณเ์ ปลยี่ นแปลงงา่ ย

5.โรคหลอดเลอื ดหวั ใจตบี

เกดิ จากภาวะหลอดเลือดหวั ใจตีบ ถือวา่ เป็นอนั ตรายถึงแก่ชีวติ ได้ ขอ้ สงั เกตคือ มีอาการเจ็บ
แนน่ หนา้ อกในระหวา่ งชว่ งราวนม สนิ้ ปี โดยรูส้ กึ เหมือนมีอะไรมากดทบั ไวจ้ นหายใจไม่สะดวก
และอาจรา้ วไปยงั คอ กลา้ มแขนขา้ งซา้ ยดา้ นใน เหนอื่ ยหอบ เหงื่อออก ตวั เยน็ หนา้ มืด ใจส่นั
นอนราบไม่ได้

6.โรคตาในผู้สูงอายุ

โรคตาท่ีพบบอ่ ยในผสู้ งู อายุ ไดแ้ ก่

-โรคตอ้ กระจก เมื่ออายุยมากขนึ้ แกว้ ตาจะเปล่ยี นจากสีใสเป็นสนี า้ ตาลหรอื สขี าวขนุ่ มากขนึ้
เรอ่ื ย ๆ ทาใหแ้ สงผา่ นเขา้ ไปในตาไมไ่ ด้ มีผลใหต้ ามวั ลง ควรไดร้ บั การตรวจจากแพทย์ ใน
ระยะแรกถา้ พบวา่ ตอ้ กระจกอยู่ในระยะทส่ี กุ แลว้ แพทยจ์ ะสามารถลอกตอ้ กระจกออกก่อนท่จี ะ
มีโรคแทรกซอ้ น

-โรคต้อหนิ เกิดจากภาวะความดนั ในลกู ตาสงู กวา่ ปกติ ถ้าเป็นตอ้ หนิ แบบเฉียบพลนั มีอาการ
ตาแดง รูมา่ นตาขยาย ปวดตามาก คลื่นไส้ เหน็ สีรุง้ รอบดวงไฟ สายตาจะมวั ลงอย่างรวดเรว็
ตอ้ งรบี รกั ษาโดยดว่ น เพราะทาใหต้ าบอดไดภ้ ายใน 2-3 วนั หากเป็นตอ้ หนิ ชนดิ เรอื้ รงั จะเกดิ ขนึ้
ชา้ ๆ โดยไมร่ ูต้ วั สายตาจะคอ่ ย ๆ มวั ลง

จุดรับภาพเสอ่ื ม เกดิ จากบรเิ วณจดุ ศนู ยก์ ลางของการรบั ภาพและสถี ูกทาลายเหน็ ภาพมวั บดิ
เบยี้ ว สีจางลง มีปัญหาในการอ่านหรอื จาหนา้ คน

การสง่ เสรมิ สุขภาพผู้สงู อายุ

การสง่ เสรมิ สขุ ภาพผสู้ งู อายุประกอบด้วยการดแู ลในดา้ นตา่ ง ๆ ดงั นี้

1.ด้านอาหาร ผสู้ งู อายมุ ีความตอ้ งการอาหาร 5 หมู่ เช่นเดียวกบั ทกุ วยั แต่เนอ่ื งจากผสู้ งู อายุ
เคล่อื นไหวร่างกายนอ้ ย จึงตอ้ งการอาหารนอ้ ยลง ทงั้ มกั มีปัญหาดา้ นการยอ่ ยอาหาร มีปัญหา
ของเหงือกและฟันสง่ ผลตอ่ การเคีย้ วอาหาร นา้ ลายลดลง การเคล่อื นไหวของกระเพาะอาหาร
และลาไสน้ อ้ ยลง เกดิ อาการ

2.ด้านการเคลอื่ นไหวร่างการ การบรหิ ารกลา้ มเนอื้ และขอ้ ต่าง ๆ ที่สาคญั เช่น ขอ้ เขา่ ขอ้
ไหล่ ขอ้ นวิ้ ต่าง ๆ เพราะขอ้ ต่าง ๆจะตดิ ขดั ไดง้ ่ายจากการเส่ือมของเนอื้ เยื่อขอ้ กระดกู และ
กลา้ มเนอื้ การเดินวนั ละประมาณ 20-30 นาที

3.ดา้ นการขับถ่าย อาหารเป็นสง่ิ สาคญั ที่มีผลตอ่ การขบั ถา่ ย ผสู้ งู อายุควรรบั ประทานอาหาร
ทม่ี ีใยอาหารสงู เช่น ผกั ผลไม้ พชื ตระกลู ถ่วั ธญั พืชต่าง ๆ เช่น ขา้ วกลอ้ ง ขา้ วซอ้ มมือ ขา้ วสาลี
หลีกเลยี่ งอาหารที่มีแขง็ เชน่ ขนมหวาน บะหม่ีกึ่งสาเรจ็ รูป อาหารสจดั เผด็ จดั เคม็ จดั ชา

4.ดา้ นการป้องกนั อุบัตเิ หตุ สภาพแวดลอ้ มนบั เป็นปัจจยั สาคญั อีกอย่างที่สง่ ผลต่อคุณภาพ
ชีวติ ของผสู้ งู อายุ สภาพแวดลอ้ มท่ปี ลอดภยั สง่ ผลใหผ้ สู้ งู อายมุ ีสขุ ภาพท่ดี ีได้ โดยการจดั บา้ น
ใหป้ ลอดภยั เก็บของใหเ้ ป็นระเบยี บ เลอื กใชต้ ิมเมลด็ หรอื ชดั และไมห่ กลมั อาจใหผ้ สู้ งู อายุ
สวมรองเทา้ สาหรบั ใสเ่ ดนิ ภายในบา้ น ติดตง้ั โคมไฟตามทางเดิน

5.ดา้ นสขุ ภาพชอ่ งปาก ปัญหาในช่องปากทพ่ี บบอ่ ยในผสู้ งู อายุทว่ั ไปไดแ้ กโ่ รคฟันผุ
โดยเฉพาะฟันผสุ ว่ นรากฟัน ฟันสกึ และเหงือกรน่ เป็นแผลทเ่ี หง่ือก ลนิ้ หรอื มมุ ปาก โรคปรทิ นั ต์
อกั เสบหรอื โรครามะนาด ซงึ่ มีความสมั พนั ธก์ บั โรคเบาหวาน ไม่อยากรบั ประทานอาหาร

6.ดา้ นสขุ ภาพจติ ผสู้ งู อายสุ ว่ นหนง่ึ อาจมีปัญหาดา้ นสขุ ภาพจิต จึงควรใหค้ วามรกั ความนบั
ถือ เขา้ ใจและไม่แสดงใหผ้ สู้ งู อายุรูส้ กึ วา่ เป็นภาระ หาทางช่วยเสรมิ สรา้ งศรทั ธาในตนเองใหก้ บั
ผสู้ งู อายุ เช่น การไดม้ ีสว่ นรว่ มในกิจกรรมของผสู้ งู อายุดว้ ยกนั


Click to View FlipBook Version