The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jirunya_teacher, 2021-04-05 03:11:25

ระบบนิเวศ

ระบบนิเวศ

ทบทวนความรู้

เติมเครื่องหมาย ✓หน้าข้อความท่ีถกู ต้องและ หน้าข้อความท่ีผิด

 1. ส่ิงมีชีวิตแบง่ ออกเป็น 2 กลมุ่ คอื กลมุ่ พืชและกลมุ่ สตั ว์
✓ 2. สง่ิ มชี ีวิตกบั สิ่งมชี ีวติ ในบริเวณเดียวกนั มีความสมั พนั ธ์กนั
✓ 3. สง่ิ มชี ีวิตมีการปรับตวั ด้านโครงสร้างและลกั ษณะให้เหมาะสมกบั แหลง่ ท่ีอยู่

เรอื ขนนำ้ มันลม่ กลำงทะเล
มผี ลตอ่ ระบบนิเวศทำงทะเลอยำ่ งไร

ระบบนิเวศ

หน่วยของควำมสมั พนั ธ์ระหวำ่ งส่งิ มชี วี ิตกับส่ิงแวดล้อมทงั ท่เี ป็นสิ่งมีชีวิตและส่งิ ไมม่ ีชีวิตในแหล่งท่ี
อยอู่ ำศยั แหลง่ ใดแหล่งหนงึ่

สิ่งไมม่ ีชีวติ สิง่ มีชีวิต

• แสง ส่งิ มชี วี ิตชนดิ ตำ่ งๆ ที่มำอำศัย
• ดิน อยู่รวมกนั เรยี กวำ่
• หิน กลมุ่ สง่ิ มชี วี ติ (community)
• นำ้
• อำกำศ องคป์ ระกอบของระบบนเิ วศ
• อณุ หภูมิ ประกอบด้วยอะไรบำ้ ง

องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ดงั นี

องค์ประกอบท่ีมชี วี ิต องค์ประกอบท่ีไม่มีชีวิต
biotic compoment Abiotic compoment

ส่งิ มีชีวิตทุกชนดิ ทีอ่ ำศยั สว่ นทที่ ำให้ระบบนิเวศ
อยู่ในระบบนเิ วศ เกิดควำมสมดุล ซ่ึงมอี ิทธพิ ลตอ่
กำรดำรงชีวติ และกำรกระจำย
เช่น พชื จุลินทรยี ์ สัตว์
โดยส่ิงมีชวี ติ แตล่ ะชนดิ มี ของสงิ่ มชี ีวติ ในระบบนิเวศ
ควำมสัมพันธ์กบั ส่งิ มีชวี ติ ชนิดอื่น หำกขำดองคป์ ระกอบทไ่ี ม่มชี วี ติ เหลำ่ น้ี

และมีควำมสัมพนั ธ์ ส่งิ มชี วี ิตจะไม่สำมำรถ
กับส่ิงแวดลอ้ ม ดำรงชีวติ อย่ไู ด้

องคป์ ระกอบที่ไมม่ ชี ีวิต อนนิ ทรยี สำร (inorganic substance)

แสง แก๊สออกซิเจน แก๊สต่ำงๆ
น้ำตำล
นำ้ เช่น แกส๊ ออกซิเจน แกส๊ คำรบ์ อนไดออกไซด์
เปน็ แก๊สที่เก่ียวขอ้ งกบั กระบวนหำยใจของ
เปน็ ปจั จัยกำหนดสภำพแวดลอ้ ม สง่ิ มชี วี ติ ตวั อยำ่ งเชน่ พชื ใชแ้ ก๊สคำร์บอนได-
ควำมอดุ มสมบรู ณ์ ลักษณะ และชนดิ ออกไซด์ในกำรสังเครำะห์ด้วยแสง และได้
ของระบบนิเวศ สิ่งมีชวี ติ ทกุ ชนดิ ล้วน แก๊สออกซิเจนเป็นผลผลิต ซ่ึงส่ิงมีชีวิตอื่นจะ
จำเปน็ ตอ้ งอำศยั นำ้ ในกำรดำรงชวี ิต หำยใจเอำแกส๊ ออกซิเจนเขำ้ ส่รู ่ำงกำย

นำ้ แร่ธำตุ แรธ่ ำตุ

พืชและสัตว์แต่ละชนดิ มีควำมต้องกำร
แรธ่ ำตตุ ำ่ ง ๆ ในปรมิ ำณทแ่ี ตกต่ำงกนั
เช่น ถ้ำพืชขำดธำตแุ มกนีเซยี มจะเกิด
โรคคลอโรซิส

องคป์ ระกอบท่ีไม่มีชวี ติ

อินทรียสำร (organic substance)

เปน็ สำรที่ไดจ้ ำกสงิ่ มีชวี ิต เช่น คำร์โบไฮเดรต โปรตนี ไขมนั ซง่ึ ได้จำกกำรเน่ำเป่อื ยและผพุ งั ของซำกพชื ซำกสตั ว์

ซำกพชื ซำกสัตว์ทที่ ับถมในดนิ อนิ ทรียสำรแตกต่ำงจำก
เป็นเวลำนำน จะกลำยเป็นฮิวมัส อนนิ ทรียสำรอยำ่ งไร

ซ่ึงดนิ ท่ีมฮี ิวมัสมกั มสี ีดำ้ คล้ำ

องคป์ ระกอบที่ไมม่ ีชวี ติ

สภำพแวดล้อมทำงกำยภำพ (physical environment)

แสงสว่ำง ควำมเป็นกรด-เบสของดนิ และนำ้

แสงจำกดวงอำทิตยเ์ ปน็ แหลง่
พลงั งำนท่สี ำคัญของโลก

แสงเป็นตวั กำหนดพฤตกิ รรม สิง่ มชี ีวิตแตล่ ะชนิดต้องอำศัยอยใู่ นสภำพแวดลอ้ มทม่ี ี
ของสงิ่ มชี ีวิต เชน่ กำรออกหำกิน ควำมเปน็ กรด-เบส ทเ่ี หมำะสมจงึ จะดำรงชวี ิตอยู่ได้
ของสัตว์บำงชนิด เชน่ พชื สว่ นใหญ่เจริญได้ดใี นดินที่มีสภำพเป็นกลำง

องค์ประกอบที่ไมม่ ีชีวิต

สภำพแวดลอ้ มทำงกำยภำพ (physical environment)

ควำมเคม็ อณุ หภูมิ

ควำมเค็มมีอิทธิพลอย่ำงมำกกับสิ่งมีชีวิตที่อำศัยอยู่ เป็นปัจจัยที่ควบคุมกำรเจริญเติบโต กำรสืบพันธุ์
บริเวณ และกำรแพร่กระจำยของส่ิงมีชีวิต นอกจำกนี้อุณหภูมิ
ผิวนำ้ ตัวอย่ำงเชน่ ป่ำชำยเลนเปน็ บริเวณชำยฝง่ั ทะเลท่ีมี ยงั มผี ลตอ่ กำรปรบั ตัวทง้ั ด้ำนโครงสร้ำงและพฤตกิ รรม
กำรเปลี่ยนแปลงควำมเค็มตลอดเวลำ เนื่องจำกอิทธิพล ของสิง่ มชี ีวิต
ของน้ำขนึ้ น้ำลง

องค์ประกอบท่ีไมม่ ชี วี ิต องคป์ ระกอบท่ไี ม่มชี วี ิต
มคี วำมส้ำคญั กบั ส่งิ มชี ีวิต
สภำพแวดลอ้ มทำงกำยภำพ (physical environment)
ในระบบนิเวศอยำ่ งไร

ควำมชืน

ควำมชืน้ มผี ลต่อกำรระเหยของน้ำในรำ่ งกำยของสิง่ มชี ีวติ
ทำให้ส่ิงมชี ีวติ มกี ำรปรบั ตวั เพอ่ื รักษำสมดลุ ของนำ้ ภำยใน
ร่ำงกำย เช่น กระบองเพชรในทะเลทรำยลดรปู จำกใบ
กลำยเปน็ หนำม

กระแสลม

มีอทิ ธิพลตอ่ กำรผสมพนั ธ์ุของพืช กำรแพร่กระจำยพันธ์พุ ชื
และกำรคำยน้ำของพชื เช่น ลมช่วยพดั พำเกสรของดอกหญำ้
ไปยงั พื้นทีต่ ำ่ งๆ

องค์ประกอบท่ีมชี วี ิต ไดแ้ ก่ พชื จลุ นิ ทรยี ์ สตั ว์ ซ่งึ มีบทบำทและหนำ้ ที่ท่แี ตกตำ่ งกนั

องคป์ ระกอบท่มี ชี ีวติ

ผูบ้ ริโภคขันท่ี 1

ผูบ้ ริโภคขนั ที่ 2

องค์ประกอบ
ทำงชีวภำพผู้ผลติ ผบู้ รโิ ภคขนั ท่ี 3

ผบู้ รโิ ภคขนั สดุ ท้ำย

ผยู้ ่อยสลำย

องคป์ ระกอบทม่ี ีชวี ิต

ผผู้ ลติ (producer)
สง่ิ มชี วี ิตท่ีสำมำรถสรำ้ งอำหำรไดเ้ อง
ผ่ำนกระบวนกำรสงั เครำะห์ดว้ ยแสง
เชน่ พชื สำหร่ำย และสง่ิ มีชวี ติ เซลลเ์ ดียวบำงชนดิ

องคป์ ระกอบทมี่ ชี วี ิต

ผบู้ ริโภค (consumer)
ส่งิ มชี ีวิตที่ไมส่ ำมำรถสรำ้ งอำหำรได้เอง

แต่บรโิ ภคสิง่ มชี ีวิตอื่นเป็นอำหำร
แบ่งเป็น 4 ประเภท ไดแ้ ก่

ผบู้ รโิ ภคพืช (herbivore) เช่น ม้ำ กวำง
ผู้บรโิ ภคสตั ว์ (carnivore) เช่น สงิ โต เสอื
ผบู้ ริโภคทังพืชและสัตว์ (omnivore) เชน่ นก มนษุ ย์
ผ้บู รโิ ภคซำกสตั ว์ (scavenger) เชน่ แรง้ หนอน

องคป์ ระกอบท่มี ชี ีวติ

ผ้ยู อ่ ยสลำย (decomposer)

ส่ิงมีชีวิตที่ไมส่ ำมำรถสร้ำงอำหำรได้เอง
แตจ่ ะย่อยสลำยซำกสิง่ มชี ีวิตใหก้ ลำยเปน็ สำรอนนิ ทรีย์

แลว้ จงึ ดดู ซมึ เขำ้ สูเ่ ซลล์ เชน่ เห็ด รำ แบคทเี รยี

แผนผังระบบนิเวศ สถำพแวดลอ้ มทำงกำยภำพ สภำพแวดลอ้ มทำงชวี ภำพ

สีงมีชวี ติ (Organism) สง่ิ แวดลอ้ ม(Environment)
ประชำกร (Population)
กลมุ่ สงี มชี วี ิต (Communities)

ระบบนเิ วศ (Ecosystem)
ชวี ภูมิภำค (Biomes)

โลกของสีงมีชีวิต (Biosphere)

สง่ิ มีชีวิตชนิดตำ่ งกนั ทม่ี ำอยู่รวมกนั จะมีควำมสมั พันธ์
ในรูปแบบใดรปู แบบหนึ่ง

โลก ระบบนเิ วศ กลุ่มส่งิ มชี วี ิต ประชำกร

(Biosphere) (Ecosystem) (Community) (Population)

โลกเปน็ ระบบนิเวศท่ีมีขนำด หน่วยควำมสัมพันธ์ระหว่ำง ส่งิ มชี ีวติ หลำยชนิดมำอำศัย ส่งิ มชี วี ติ ชนดิ เดยี วกันมำอำศยั
ใหญ่ที่สุด ประกอบด้วย สิ่งมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม ทังที่ อยู่ในแหล่งที่อยู่เดียวกัน อยรู่ ว่ มกนั ในบรเิ วณเดยี วกนั
สิ่งมีชวี ติ และส่ิงไม่มชี วี ิต เป็นสิ่งมชี ีวิตและส่งิ ไม่มชี ีวิต และมีควำมสัมพนั ธ์กนั และชว่ งเวลำเดยี วกนั

ส่ิงมชี วี ิต

(Organism)

สิ่งมีชีวติ ตอ้ งกำรอำหำร
น้ำ และปัจจัยทำงกำยภำพ
ในกำรด้ำรงชวี ติ

ระดบั ควำมสัมพนั ธ์ของสิ่งมชี ีวติ ในระบบนเิ วศ

ระดบั ควำมสัมพนั ธข์ องสง่ิ มีชวี ิตในระบบนเิ วศ - สงิ่ มชี ีวติ (organism)
- ประชำกร (population)
organism - สังคม (community)
population - ระบบนเิ วศ (ecosystem)
community - ชีวำลัย/ชีวมณฑล (biospere)
ecosystem
biosphere

ความสมั พนั ธ์ของสิ่งมีชีวติ ในระบบนิเวศ

ทบทวนความรู้ เติมคาท่ีกาหนดให้ลงในชอ่ งวา่ ง

ผ้ผู ลติ ผ้บู ริโภค

ควำมสมั พันธ์ของสง่ิ มชี วี ติ

ผบู้ รโิ ภคขนั ที่ 1 ผู้บริโภคขนั ที่ 2

ผผู้ ลติ (producer) องค์ประกอบ ผูบ้ ริโภคขนั ท่ี 3 ผบู้ ริโภค (consumer)
ผ้บู รโิ ภคขันสดุ ท้ำย
สงิ่ มชี วี ิตทสี่ ำมำรถสรำ้ งอำหำรได้เอง ทำงชีวภำพ สิง่ มชี วี ติ ท่ีไม่สำมำรถสร้ำงอำหำรไดเ้ อง
ผำ่ นกระบวนกำรสงั เครำะห์ดว้ ยแสง แต่บรโิ ภคสิ่งมชี วี ิตอ่ืนเป็นอำหำร
เช่น พืช สำหรำ่ ย และสิ่งมชี ีวิตเซลล์เดยี วบำงชนดิ แบง่ เปน็ 4 ประเภท ได้แก่

ผูผ้ ลติ ผบู้ รโิ ภคพชื (herbivore) เช่น มำ้ กวำง
ผู้บริโภคสตั ว์ (carnivore) เชน่ สงิ โต เสอื
ผยู้ อ่ ยสลำย (decomposer) ผยู้ ่อยสลำย ผู้บริโภคทังพืชและสัตว์ (omnivore) เช่น
นก มนษุ ย์
สง่ิ มชี วี ติ ท่ไี ม่สำมำรถสรำ้ งอำหำรไดเ้ อง ผู้บริโภคซำกสัตว์ (scavenger) เช่น แร้ง
แต่จะยอ่ ยสลำยซำกส่งิ มชี วี ิตใหก้ ลำยเป็นสำรอนนิ ทรีย์ หนอน

แลว้ จงึ ดดู ซมึ เขำ้ สเู่ ซลล์ เช่น เห็ด รำ แบคทีเรีย

กำรถ่ำยทอดพลงั งำนในระบบนเิ วศ เมือ่ สัตวก์ นิ พชื และสัตวก์ ินสตั ว์ตอ่ ไป
อีกทอดหนง่ึ พลังงำนจำกผ้ผู ลติ จะถ่ำยทอดไป
พืชเป็นผู้ผลิตท่ีสำมำรถสรำ้ งอำหำรเองได้ ยั ง ผู้ บ ริ โ ภ ค ผ่ ำ น ก ำ ร กิ น ข อ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต
ด้วยกำรสังเครำะหด์ ้วยแสง โดยเปล่ยี น เ รี ย ก ค ว ำ ม สั ม พั น ธ์ น้ี ว่ ำ โ ซ่ อ ำ ห ำ ร
พลงั งำนแสงให้เป็นพลังงำนเคมี (food chain) ธรรมชำติสิ่งมีชีวิตไม่ได้กินสัตว์
เพียงชนิดเดียว แต่อำจกินมำกกว่ำ 1 ชนิด
จึ ง ท ำ ใ ห้ เ กิ ด โ ซ่ อ ำ ห ำ ร ห ล ำ ย โ ซ่ ที่ มี ค ว ำ ม
ซับซ้อนมำกขึ้น เรียกควำมสัมพันธ์น้ีว่ำ
สำยใยอำหำร
(food web)

ควำมสัมพันธ์ของสง่ิ มีชวี ิตรปู แบบใด
ทำ้ ใหเ้ กดิ กำรถำ่ ยทอดพลงั งำน
ในระบบนเิ วศ

กำรเขยี นแผนภำพโซอ่ ำหำร

สำมำรถเขยี นเปน็ แผนภำพโดยเรม่ิ จำกผผู้ ลิตอย่ทู ำงดำ้ นซ้ำย และตำมด้วยผบู้ ริโภคล้ำดบั ที่ 1 ผู้บริโภคลำ้ ดบั ท่ี 2 ตอ่ ไปเรอ่ื ยๆ
จนถึงผู้บรโิ ภคลำ้ ดับสดุ ทำ้ ย และเขียนลูกศรแทนกำรถำ่ ยทอดพลงั งำน โดยให้หวั ลูกศรชไี ปทำงผบู้ ริโภค

ปรมิ ำณพลังงำนในส่งิ มีชวี ติ
ในโซ่อำหำรเป็นอย่ำงไร

ปรมิ ำณ
พลังงำน

ผผู้ ลติ ผู้บรโิ ภคล้ำดับท่ี 1 ผูบ้ รโิ ภคลำ้ ดบั ที่ 2 ผู้บรโิ ภคล้ำดับท่ี 3
ผู้บรโิ ภคพชื ผูบ้ รโิ ภคสัตว์ ผบู้ รโิ ภคซำกสัตว์





หว่ งโซอ่ ำหำรและสำยใยอำหำรตำ่ งกันอยำ่ งไร?????

ตอบ

กำรถ่ำยทอดพลังงำนในระบบนิเวศ

พีรำมดิ พลงั งำน (pyramid of energy) เปน็ ปริ ำมิดแสดงปริมำณพลงั งำนของแตล่ ะลำดบั ชั้นของกำรกนิ ซึ่งจะมีคำ่ ลดลง
ตำมลำดบั ขนั้ ของกำรโภค

พลงั งานที่ถกู ถา่ ยทอดตามกฎ 10%



กำรสะสมสำรพิษในระบบนเิ วศ

สารเคมีที่ปะปนในระบบนิเวศจะสะสมใน
ผ้บู ริโภคลาดบั ท่ีสงู ขนึ ้



กำรสะสมสำรพษิ ในโซอ่ ำหำร มำก นอ้ ย

ผบู้ ริโภคลำ้ ดบั ที่ 4 นอ้ ย มำก
ผู้บรโิ ภคล้ำดบั ท่ี 3 ปรมิ ำณสำรพษิ ปริมำณพลงั งำน
ผบู้ ริโภคล้ำดบั ที่ 2
ผู้บริโภคลำ้ ดบั ที่ 1

ผผู้ ลิต

ควำมสัมพนั ธร์ ะหวำ่ งสิ่งมชี วี ติ ในระบบนเิ วศ

ทำ้ ไมตน้ ไม้ 2 ตน้
จงึ เจริญเติบโตแตกตำ่ งกนั

รปู แบบควำมสัมพนั ธร์ ะหว่ำงส่ิงมชี ีวติ ในระบบนิเวศ

ฝำ่ ยหนึ่งได้รบั ประโยชน์ อกี ฝำ่ ยหน่งึ ไม่ได้รบั ตำ่ งฝำ่ ยต่ำงได้รบั ประโยชน์ ฝำ่ ยหน่งึ ไดร้ ับประโยชน์ อกี ฝำ่ ยหนง่ึ ตำ่ งฝ่ำยตำ่ งเสียประโยชน์
และไม่เสียประโยชน์
(+,+) เสยี ประโยชน์ (-,-)
(+,0)
(+,-)

• ภำวะองิ อำศัย • ภำวะกำรได้รบั ประโยชน์ • ภำวะประสิต • ภำวะกำรแก่งแยง่ แข่งขนั
ร่วมกัน • ภำวะกำรลำ่ เหยอ่ื
• ภำวะพงึ่ พำกนั

ภำวะอิงอำศยั (commensalism)

เปน็ ควำมสัมพนั ธ์ของส่งิ มีชีวิต 2 ชนดิ ทีม่ ำอย่รู วมกนั โดยฝำ่ ยท่ขี ออิงอำศยั จะไดร้ ับประโยชน์ (+) ส่วนอกี ฝำ่ ยทีเ่ ปน็
ผใู้ หอ้ ำศยั จะไม่ได้รับและไมเ่ สียประโยชน์ (0)

ตวั อย่ำงเช่น

ปลำฉลำม (0) นก (+)

เหำฉลำม (+) ต้นไม้ (0)

เหำฉลำมกบั ปลำฉลำม นกท้ำรงั บนต้นไม้

เหำฉลำมกนิ เศษอำหำรทเ่ี หลือจำกปลำฉลำม และไม่ได้สร้ำง นกทำรังบนท่ีสูงโดยอำศัยควำมสูงของต้นไม้ เพ่ือป้องกัน
ควำมเดือดรอ้ นให้กับปลำฉลำม จงึ อำศยั อย่รู ว่ มกนั ได้ อนั ตรำยจำกสตั ว์ใหญ่ โดยนกไม่ได้สร้ำงควำมเสียหำยให้กับ
ตน้ ไม้ จงึ อำศัยอยู่รว่ มกนั ได้

ภำวะพ่ึงพำกนั (mutualism)

เปน็ ควำมสัมพันธ์ของสงิ่ มชี วี ติ 2 ชนิด ท่ีมำอยรู่ วมกนั แล้วพง่ึ พำซึง่ กันและกนั ไม่สำมำรถแยกจำกกันได้ ต้องอย่รู ว่ มกันไปตลอดชีวติ
ตวั อย่ำงเช่น

โพรโทซวั ในลำไส้ปลวก (+)
(Trichonympha sp.)

รำ (+) กบั สำหร่ำย (+)

ปลวก (+)

โพรโทซวั ในลำ้ ไส้ปลวก ไลเคนหรอื รำกบั สำหรำ่ ย

ปลวกกินไม้เป็นอำหำรได้ เน่ืองจำกในลำไส้ปลวกมีโพรโทซัวชนิด สำหร่ำยสำมำรถสรำ้ งอำหำรเองได้ด้วยกำรสงั เครำะหด์ ว้ ยแสง
ไทรโคนิมฟำ ที่สรำ้ งเอนไซม์เซลลเู ลสมำชว่ ยยอ่ ยไม้ และโพรโทซัว สว่ นรำใหค้ วำมช้ืนแกส่ ำหร่ำย และดูดซมึ อำหำรจำกสำหร่ำย
จะได้รบั สำรอำหำรจำกกำรย่อยไม้เป็นอำหำร

ภำวะกำรได้รับประโยชนร์ ว่ มกนั (cooperation)

เป็นควำมสัมพันธข์ องสิง่ มชี วี ิต 2 ชนดิ ที่มำอยูร่ วมกัน แล้วต่ำงฝ่ำยต่ำงได้รบั ประโยชนร์ ว่ มกัน สำมำรถแยกจำกกันได้ โดยไม่สง่ ผล
กระทบกับกำรดำ้ รงชวี ติ

ตวั อย่ำงเช่น นกเอย้ี ง (+)

ดอกไม้ (+)
ผีเสอ้ื (+)

ควำย (+)

ดอกไม้กับผเี สอื ควำยกับนกเอยี ง

ผีเสื้อดูดน้ำหวำนจำกดอกไม้เป็นอำหำร และดอกไม้ได้รับ นกเอี้ยงช่วยกินเห็บ หมัด บนผิวหนังควำยเป็นอำหำร
ประโยชน์จำกผีเสื้อในกำรช่วยผสมเกสร ส่วนควำยไดน้ กเอี้ยงช่วยกำจัดปรสติ บนผิวหนัง

ภำวะปรสติ (Parasitism)

เปน็ ควำมสมั พันธ์ของสง่ิ มีชีวิตทมี่ ำอยูร่ วมกนั แล้วฝ่ำยหน่งึ ไดร้ บั ประโยชน์ เรยี กวำ่ ปรสิต (parasite) ส่วนฝำ่ ยเสียประโยชน์
เรยี กว่ำ ผู้ถูกอำศยั (host)
ตัวอยำ่ งเชน่

พยำธิใบไมต้ ับ (+) กำฝำก (+) กบั ตน้ ไม้ (-)
ในท่อนำ้ ดขี องคน (-)

พยำธิตวั ตืด (+) เพลีย้ (+) กบั ต้นไม้ (-)
ในลำไส้ใหญ่ของคน (-
) ปรสติ ภำยนอก

ปรสิตภำยใน

ภำวะกำรลำ่ เหยื่อ (predation)

เป็นควำมสัมพันธข์ องสิ่งมีชวี ิตท่มี ำอย่รู วมกนั แล้วฝ่ำยหนง่ึ ได้รับประโยชน์ เรยี กว่ำ ผ้ลู ำ่ (predator) ส่วนฝำ่ ยเสยี ประโยชน์
เรยี กว่ำ เหยอื่ (prey)

ตัวอย่ำงเช่น

หมีสีน้ำตำล (+) สงิ โต (+)
ปลำ (-) ม้ำลำย (-)

หมสี ีน้ำตำลล่ำปลำเป็นอำหำร สงิ โตลำ่ ม้ำลำยเป็นอำหำร

ภำวะกำรลำ่ เหย่อื (predation)

จากภาพประชากรของแมวป่าลงิ ซ์มีความสมั พนั ธ์กบั กระตา่ ยป่ า เม่ือกระตา่ ยป่ามีจานวนเพิ่มขนึ ้ แมวป่าลงิ ซ์
ก็จะเพิ่มขนึ ้ ตามไปด้วย เพราะมีอาหารสมบรู ณ์ในทางตรงกนั ข้ามเม่ือกระตา่ ยป่าลดลงกจ็ ะสง่ ผลให้จานวนประชากร
แมวป่าลิงซ์ลดลงไปด้วย เพราะขาดแคลนอาหาร นอกจากนีห้ ากเกิดภาวะแห้งแล้งเป็นเวลานานหรือเกิดภยั พิบตั อิ ่ืน ๆ
อาจสง่ ผลตอ่ จานวนประชากรของกระตายป่าและแมวลงิ ซ์ลดลงเชน่ กนั

ภำวะกำรแก่งแย่งแขง่ ขนั (Competition)

เป็นควำมสมั พันธ์ของสิ่งมชี วี ติ 2 ฝ่ำย ที่ต้องกำรทรพั ยำกรเดยี วกนั ทำ้ ให้เกิดกำรแก่งแยง่ กนั แบง่ ออกเป็น 2 แบบ ดงั นี

กำรแกง่ แยง่ แข่งขันระหวำ่ งส่งิ มีชวี ติ ชนิดเดียวกัน กำรแก่งแยง่ แขง่ ขันระหว่ำงสิง่ มีชวี ิตตำ่ งชนดิ กนั
(intraspecific competition) (interspecific competition)

หมตี ่อสู้กันเพอ่ื แย่งอำหำร หมตี ่อสกู้ บั หมำป่ำเพอ่ื
แยง่ อำณำเขต

กวำงต่อส้กู ันเพ่อื แยง่ อำณำเขต หมำในและแรง้ แยง่ กัน
กินซำกสิ่งมชี วี ติ

Summary หนว่ ยกำรเรียนรูท้ ่ี 1 ระบบนิเวศ ระบบนิเวศ
คอื กลุ่มส่งิ มีชีวิตทอ่ี ำศัยอยู่ในบรเิ วณ
ของระบบนิเวศ เดียวกนั และมคี วำมสัมพันธก์ นั และ
สัมพันธ์กบั สง่ิ ไมม่ ีชวี ติ ในสิง่ แวดลอ้ ม
องค์ประกอบที่มชี วี ิต นันๆ อย่ำงเป็นระบบ

“ผผู้ ลิต”พืช องคป์ ระกอบท่ีไมม่ ชี วี ิต
“ผู้บรโิ ภค”
อนินทรยี สำร
ผ้บู ริโภคพืช เช่น กระตำ่ ย
ผ้บู รโิ ภคสตั ว์ เช่น เสือ - แร่ธำตุ เช่น N, P, K
ผู้บรโิ ภคทงั พชื และสตั ว์ เชน่ มนุษย์
ผู้บรโิ ภคซำกสตั ว์ เช่น แรง้ - แก๊สตำ่ งๆ เช่น CO2, O2, N2
- น้ำ
“ผู้ยอ่ ยสลำยสำรอินทรยี ์”
อนิ ทรยี สำร
รำ แบคทเี รยี
- ซำกพืชซำกสัตว์

สภำพแวดลอ้ มทำงกำยภำพ

- แสงสวำ่ ง - อณุ หภูมิ

- ควำมเปน็ กรด-เบส - ควำมชนื

- ควำมเคม็ - กระแสลม

โซอ่ ำหำรท่มี คี วำมซับซอ้ นมำกขนึ

ควำมสมั พันธข์ องสิ่งมีชวี ิตในบรเิ วณเดียวกนั
ทีม่ กี ำรถำ่ ยทอดพลังงำนผ่ำนกำรกนิ ตอ่ กนั
เป็นทอด ๆ เชน่

หญำ้ = ผผู้ ลติ

ตั๊กแตน = ผบู้ ริโภคลำ้ ดับท่ี 1

กบ = ผู้บริโภคลำ้ ดบั ที่ 2

งู = ผบู้ รโิ ภคลำ้ ดับที่ 3

เหยี่ยว = ผบู้ ริโภคลำ้ ดับท่ี 4
โดยปริมำณพลังงำนทถ่ี กู ถำ่ ยทอดจะ
ลดลงไปทีละขันตำมลำ้ ดับของผบู้ ริโภคที่
สงู ขนึ

ควำมสัมพนั ธ์ ในระบบนเิ วศ
ลักษณะ
รูปแบบ ตัวอย่ำง
ควำมสมั พนั ธ์
ควำมสัมพันธ์ ควำมสมั พันธ์
ควำมสัมพันธ์ของสิง่ มชี ีวติ 2 ชนิด ที่ได้รบั ประโยชน์
, ร่วมกนั ขำดจำกกันไมไ่ ด้ • ไลเคน (รำกบั สำหรำ่ ย)
• โพรโทซวั ในลำไส้ปลวก
ภำวะพ่งึ พำกัน ควำมสัมพนั ธข์ องส่งิ มีชีวติ 2 ชนิด ฝ่ำยหนึ่งไดร้ ับประโยชน์ • แบคทีเรยี ในปมรำกถ่วั
(mutualism) (ผู้อำศยั ) อีกฝ่ำยหนงึ่ ไม่ไดร้ ับและไม่เสียประโยชน์
(ผ้ใู หอ้ ำศยั ) • เหำฉลำมกับปลำฉลำม
, • นกทำรังบนตน้ ไมใ้ หญ่
ควำมสมั พนั ธ์ของส่ิงมชี วี ิต 2 ชนดิ ฝ่ำยปรสติ • กลว้ ยไมก้ ับตน้ ไม้ใหญ่
ภำวะองิ อำศยั (parasite) ได้รับประโยชน์อำจอยู่ภำยนอกหรอื อยู่
(commensalism) ภำยในอีกฝำ่ ยหนงึ่ ซงึ่ เปน็ ผูถ้ ูกอำศยั (host) จะเสยี • พยำธใิ นลำไส้ใหญ่มนุษย์
ประโยชน์ • กำฝำกกับตน้ ไม้ใหญ่
, • เห็บและหมดั บนตวั สุนัข
ควำมสัมพนั ธ์ของส่งิ มชี ีวิต 2 ชนดิ ฝ่ำยทีเ่ ปน็ ผ้ลู ำ่
ภำวะปรสิต (predator) ไดร้ บั ประโยชน์ ส่วนอีกฝ่ำยทเ่ี ป็นเหย่อื • เสอื ลำ่ กวำง
(parasitism) (prey) จะเสยี ประโยชน์ เพรำะเปน็ อำหำรของผูล้ ่ำ • นกกนิ หนอน
• ตน้ กำบหอยแครงกบั แมลง
,

ภำวะกำรลำ่ เหยอื่
(predation
)


Click to View FlipBook Version