The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1.โครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของครู จำนวน 7 ชุด
2.โครงการครูนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cpondongnok, 2022-10-14 08:06:27

โปรแกรมอบรมออนไลน์ด้วยตนเองเพื่อเสริมพลังการเรียนรู้ของครูสู่การปฏิบัติเพื่อยกระดับการเรียนรู้เชิงรุกในห้องเรียน

1.โครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของครู จำนวน 7 ชุด
2.โครงการครูนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียน

Keywords: การเรียนรู้เชิงรุก,active learning

1

2

คำนำ

การวิจัยเรื่อง “เสริมพลังการเรียนรู้ของครูสู่การปฏิบัติเพ่ือยกระดับการเรียนรู้เชิงรุกใน
ห้องเรียน” น้ีเป็นการวิจัยในหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน ใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา (Research and
Development: R&D) มจี ุดมุ่งหมายเพอ่ื ใหไ้ ด้นวัตกรรมทางการศึกษาที่เป็นโปรแกรมอบรมออนไลน์
ดว้ ยตนเองท่ีประกอบด้วย 2 โครงการ คอื 1) โครงการพัฒนาเพ่ือการเรียนรู้ของครู และ 2) โครงการ
ครูนาผลการเรียนสู่การพัฒนาผู้เรียน โครงการแรกมีคู่มือเพ่ือการอบรมด้วยตนเอง (Self-Training)
ของครู โครงการท่ีสองมีคู่มือเชิงปฏิบัติการเพื่อครูนาไปใช้เป็นแนวการพัฒนาผู้เรียน โดยคาดหวังว่า
นวัตกรรมทางการศึกษานี้ เม่ือผ่านกระบวนการวิจัยและพัฒนาหลายขั้นตอน (Ri&Di) แล้วนาไป
ทดลองใช้ในพน้ื ทที่ ่เี ป็นตัวแทนของประชากร เม่ือผลการทดลองพบว่านวัตกรรมน้ันมีประสิทธิภาพ ก็
สามารถนาไปเผยแพร่ให้กับประชากรที่เป็นพ้ืนที่เป้าหมายได้ใช้ประโยชน์ในวงกว้างได้อย่างมี
ผลการวิจัยรองรับ สาหรับการวิจัยนี้มีกรอบแนวคิดเป็นการวิจัยในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา
ดงั นี้

1. ในเชิงวิชำกำร มหี ลายประการ แต่ขอนามากลา่ วถงึ ท่ีสาคญั ดงั นี้
1.1 งานวิจัยน้ีให้ความสาคัญกับการศึกษาศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงมีความสาคัญเพราะเป็นส่ิง

ท้าทายต่อการบริหารการศึกษาในศตวรรษใหม่นี้ อันเนื่องจากการเปล่ียนแปลงในกระบวนทัศน์ทาง
การศึกษาที่แตกต่างจากศตวรรษท่ี 20 ทุกด้าน ท้ังด้านศาสตร์การสอน หลักสูตร ทักษะการเรียนรู้
ทักษะของครู ทักษะที่คาดหวังให้เกิดข้ึนกับผู้เรียน ลักษณะของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ บริบท
ของสถานศึกษา บรบิ ทของหอ้ งเรยี น และสภาพแวดลอ้ มการเรียนรู้ บทบาทหน้าท่ีและภาวะผู้นาของ
ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา (Churches, 2008; Driscoll, 2022; and
Kashyap, n.d.)

1.2 งานวิจัยน้ีมุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับสถานศึกษา ที่นักวิชาการให้
ความเห็นวา่ การบรหิ ารการศกึ ษาเกดิ ขน้ึ ในระดับต่าง ๆ ตั้งแต่ส่วนกลางถึงระดับสถานศึกษา แต่การ
บริหารการศึกษาระดับสถานศึกษา (คือ โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย หรือช่ือเรียกอื่นๆ) มี
ความสาคัญเพราะเป็นฐานปฏิบัติที่จะทาให้การระดมทรัพยากรบุคคลและทรัพยากรวัตถุ ให้เกิด
ประโยชน์ท่ีใช้งานได้จริง เป็นฐานปฏิบัติท่ีจะช่วยเสริมสร้างการสอนและการเรียนรู้ที่จะส่งผลให้
นักเรียนได้รับการศึกษาที่ถูกต้องจากครูท่ีถูกต้อง และเป็นฐานปฏิบัติท่ีจะสร้างอิทธิพลท่ีส่งผลต่อ
นักเรียนให้เติบโตไปสู่เป้าหมายท่ีกาหนดโดยมีครูเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง (Kashyap, n.d.)
สอดคล้องกับแนวคิดการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management: SBM) ซ่ึง
เป็นรูปแบบการกระจายอานาจให้โรงเรียนทเี่ ป็นหนว่ ยหลกั ในการจัดการศกึ ษา (Edge, 2000)

3

1.3 การวจิ ยั น้ีใช้หลักการ “พัฒนาครู แล้วครูนาผลที่ได้รับไปพัฒนาท่ีส่งผลต่อผู้เรียน”
ถือเป็นหลักการท่ีเป็นจุดเน้นของการบริหารการศึกษา คือ การเสริมสร้างการสอนและการเรียนรู้
(The Focus of Educational Administration is the Enhancement of Teaching and
Learning) (Amadi, 2008) เปน็ กระบวนการช่วยให้นักเรียนได้รับการศึกษาท่ีถูกต้องจากครูท่ีถูกต้อง
(Enables the Right Pupils to Receive the Right Education from the Right Teachers)
(Dhammei, 2022) เป็นการกระตุ้นการพัฒนาโปรแกรมที่เหมาะสมสาหรับการสอนและการเรียนรู้
(Bamte, n.d.) เป็นไปตามหน้าที่ของการบริหารการศึกษาตามทัศนะของ Amadi (2008) ท่ีกล่าวถึง
หน้าที่เก่ียวกับหลักสูตร/การสอน (The Curriculum/Instructional Functions) หน้าที่เกี่ยวกับ
บุคลากร (The Staff Personnel Functions) และหน้าที่เก่ียวกับนักเรียน (The Student
Personnel Functions) และเป็นไปตามวัตถุประสงคข์ องการบริหารการศึกษา คือ เพื่อให้การศึกษา
ที่เหมาะสมแกน่ ักเรยี น (To Provide Proper Education to Students) เพ่ือให้แน่ใจว่ามีการพัฒนา
วิชาชีพของครู (To Ensure Professional Development among Teachers) และเพ่ือความม่ันใจ
ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (To Ensure Qualitative Improvement of Education)
(Kashyap, n.d.) อันเนื่องจากหลักการ “พัฒนาครู แล้วครูนาผลท่ีได้รับไปพัฒนาที่ส่งผลต่อผู้เรียน”
เป็นหลักการส่งเสริมบทบาทการเป็นผู้นาทางการศึกษาให้กับครูตามทัศนะของ Speck (1999) และ
Seyfarth (1999) ส่งเสริมต่อการทาหน้าท่ีของผู้บริหารการศึกษาที่จะต้องสนับสนุนคณะครูด้วยการ
ฝึกอบรมและให้คาแนะนาตามทัศนะของ University of Bridgeport (2022) และ Target Jobs
(n.d.) และส่งเสริมต่อแนวคิดพัฒนาวิชาชีพของครูที่ให้คานึงถึงการส่งผลต่อการพัฒนาผู้เรียนซ่ึงเป็น
เป้าหมายสูงสุด (Ultimate Goal) ของการศึกษาตามทัศนะของ Gusky (2000) และ Hoy and
Miskel (2001)

2. ในเชิงวิชำชีพ การวิจัยน้ีคานึงถึงมาตรฐานวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาและ
ผู้บริหารการศึกษาท่ีคุรุสภากาหนดตามมาตรฐานด้านความรู้ ในกรณีสามารถพัฒนาครูและบุคลากร
ให้สามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนาความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎี
ไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์และสร้างองค์ความรู้ในการบริหารจัดการการศึกษา
สามารถนากระบวนการทางการวิจัย การวัดและประเมินผล ไปใช้ในการบริหารจัดการการศึกษาได้
สามารถส่งเสริมสนับสนนุ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การศึกษา และสามารถบริหารจัดการข้อมูล
ข่าวสารไปสู่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา และตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน ในกรณีปฏิบัติ
โดยคานงึ ถึงผลท่ีจะเกดิ ขนึ้ กับการพัฒนาของบุคลากร ผู้เรียน และชุมชน พัฒนาผู้ร่วมงานให้สามารถ
ปฏบิ ตั งิ านได้เตม็ ศกั ยภาพ พัฒนาและใช้นวัตกรรมการบริหารจนเกิดผลงานท่ีมีคุณภาพสูง และสร้าง
โอกาสการพฒั นาไดท้ กุ สถานการณ์ (The Teachers Council of Thailand, n.d.)

เฉลิมชัย พลดงนอก

สำรบัญ 4

1. โครงกำรพัฒนำเพื่อกำรเรยี นรขู้ องครู หนำ้
1.1 คู่มือชุดท่ี 1 ทัศนะเกย่ี วกบั นิยามของการเรียนรู้เชงิ รุก 6
1.2 คู่มือชดุ ที่ 2 ทัศนะเกี่ยวกับความสาคัญของการเรยี นรู้เชิงรุก 17
1.3 ค่มู ือชดุ ที่ 3 ทัศนะเก่ยี วกบั ลกั ษณะของการเรียนรูเ้ ชิงรกุ 30
1.4 ค่มู ือชดุ ท่ี 4 ทัศนะเกย่ี วกับอุปสรรคและวธิ กี ารเอาชนะอปุ สรรคการ 44
พฒั นาการเรียนรู้เชงิ รุก
1.5 คู่มือชุดท่ี 5 ทศั นะเกย่ี วกบั แนวการพัฒนาการเรยี นรู้เชงิ รุก 57
1.6 ค่มู ือชดุ ที่ 6 ทัศนะเกี่ยวกับข้นั ตอนการพัฒนาการเรยี นรู้เชิงรกุ 96
1.7 คู่มือชุดท่ี 7 ทัศนะเกีย่ วกบั การประเมินผลการเรียนรเู้ ชิงรกุ 111

2. โครงกำรครนู ำผลกำรเรียนรสู้ กู่ ำรพัฒนำนกั เรียน 122
2.1 คมู่ ือเพื่อการปฏิบัตกิ ารในการพฒั นาการเรียนรู้เชงิ รกุ ของนักเรียน

5

6

7

หลังจากการศกึ ษาคู่มือชดุ นแ้ี ล้ว ท่านมีพัฒนาการด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ซึ่ง
เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาท่ีเกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตาม The Revised
Taxonomy (2001) ของ Benjamin S. Bloom โดยจาแนกพฤตกิ รรมในขอบเขตนี้ออกเป็น 6 ระดับ
เรียงจากพฤติกรรมที่สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ากว่าไปหาทักษะการคิด
ขั้นสูงกว่า ดังนี้ คือ ความจา (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้
(Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating)
ดงั นี้

1. บอกคณุ สมบตั ิ จบั คู่ เขียนลาดับ อธิบาย บรรยาย ขดี เส้นใต้ จาแนก หรือระบุนิยาม
ของการเรยี นรู้เชิงรกุ ได้

2. แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรปุ ความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกตา่ ง หรือ
เรยี บเรียงนยิ ามของการเรียนร้เู ชิงรุกได้

3. แก้ปญั หา สาธติ ทานาย เชื่อมโยง ความสมั พนั ธ์ เปล่ยี นแปลง คานวณ หรอื ปรับปรุง
นยิ ามของการเรยี นรเู้ ชิงรุกได้

4. แยกแยะ จัดประเภท จาแนกใหเ้ ห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผลนยิ ามของการ
เรียนรเู้ ชิงรุกได้

5. วดั ผล เปรยี บเทยี บ ตีคา่ ลงความเห็น วิจารณ์นิยามของการเรียนรู้เชิงรกุ ได้
6. รวบรวม ออกแบบ จดั ระเบียบ สรา้ ง ประดิษฐ์ หรอื วางหลักการนิยามของการเรยี นรู้

เชงิ รกุ ได้

Source - https://bit.ly/3yjAvB1

8

1. โปรดศึกษาเนอ้ื หาเก่ยี วกับนิยามของการเรียนรู้เชิงรุกจากทัศนะที่นามากล่าวถึงแต่ละ
ทศั นะ

2. หลังจากการศึกษาเน้ือหาโปรดทบทวนความเข้าใจจากคาถามท้ายเนื้อหาของแต่ละ
ทศั นะ

3. ศึกษารายละเอียดของนิยามที่เป็นต้นฉบับภาษาอังกฤษ โปรด “คลิก” เว็บไซต์ที่
นาเสนอไว้ทา้ ยเนอื้ หาของแต่ละทศั นะ

Prince (2004) เป็นอาจารย์ประจาภาควิชาวิศวกรรมเคมี Bucknell University ได้
กล่าวถึงนยิ ามของการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ว่าเป็นวิธีการสอนใดๆ ก็ตามที่ดึงดูดนักเรียน
ให้มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้เชิงรุกต้องการให้นักเรียนทากิจกรรมการเรียนรู้ที่มี
ความหมายและคิดเกี่ยวกบั สิ่งทกี่ าลงั ทาอยู่ เช่น การบ้าน โดยในทางปฏิบัติการเรียนรู้เชิงรุก หมายถึง
กจิ กรรมทีน่ าเขา้ มาในห้องเรียน มอี งค์ประกอบหลกั ของการเรียนรู้เชิงรุกคือกิจกรรมของนักเรียนและ
การมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน การเรียนรู้เชิงรุกจึงตรงกันข้ามกับการบรรยาย
แบบเดมิ ๆ ซ่ึงนกั เรียนจะไดร้ ับขอ้ มลู จากผู้สอนโดยไมม่ ีการโต้ตอบ

โปรดทบทวน - นิยามของการเรียนรู้เชิงรุกจากทัศนะของ Prince มีสาระสาคัญ
อะไร ?
…………………………………………………………………………………………….......................
...............................................................................................................................
..................................................................................................................... ............

หมำยเหตุ - ศึกษาจากต้นฉบับภาษาองั กฤษ โปรด “คลกิ ” ดไู ด้จากเวบ็ ไซต์ข้างล่างน้ี

https://www.engr.ncsu.edu/wpcontent/uploads/drive/1smSpn4AiHSh8z7a0MHDBwhb_JhcoLQmI/200
4-Prince_AL.pdf

9

Gifkins (2015) เป็นนักวิจัยของ Asia-Pacific Center for the Responsibility to
Protect ได้กล่าวถึงนิยามของการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ว่าเป็นกระบวนการเรียนรู้ผ่าน
การมสี ว่ นรว่ มในเน้ือหาการเรียนรู้ ซงึ่ หมายความว่านักเรยี นจะมีปฏิสัมพนั ธ์กับเน้ือหาในลักษณะใดๆ
ทส่ี ามารถสง่ เสรมิ ความคิดเชิงรุกผ่าน 'กิจกรรม' เพื่อการเรียนรู้หรือผ่านการจัดกรอบกระบวนการจด
บันทึกใหม่เพื่อส่งเสริมการคิดเก่ียวกับเนื้อหามากกว่าแค่การถอดความจากเน้ือหา แม้ว่าคาจากัด
ความของการเรียนรู้เชิงรุกจะแตกต่างกันไป แต่ก็มีความสาคัญเหมือนกันคือ : นักเรียนได้ปฏิบัติ
มากกว่าแค่การฟัง จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้เชิงรุกคือการพัฒนาทักษะไม่ใช่แค่การถ่ายทอดข้อมูล
โดยใหน้ กั เรียนมสี ่วนรว่ มในกิจกรรม (เช่น การอภปิ ราย โตว้ าที การประยกุ ตใ์ ชห้ ลักการ) ที่มุ่งส่งเสริม
การคิดขั้นสูง (เช่น การคิดเชิงวิพากษ์ การวิเคราะห์ ฯลฯ) การจาลองสถานการณ์ก็มีการใช้เป็น
เครื่องมือสาหรับการเรียนรู้เชิงรุกมากขึ้นในการเรียนรู้ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
(International Relations) และมคี วามเหมาะสมอย่างย่ิงกับบางหัวข้อที่มีความเฉพาะ

Gifkins ได้กล่าวถึงการส่งเสริมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ในการจัดการเรียน
การสอนของครูมีประโยชน์มากมายสาหรับการเรียนรู้ของนักเรียน การใช้รูปแบบการเรียนรู้ท่ี
แตกตา่ งกันในทกุ ๆ 15 นาที (ซง่ึ หมายถึงการเปล่ยี นวิธที ี่นกั เรยี นมสี ว่ นรว่ ม ไมใ่ ช่การเปลยี่ นหัวข้อการ
เรียนรู้) จะช่วยป้องกันความสนใจในเน้ือหาท่ีลดลงระหว่างการเรียนรู้ของนักเรียน การเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) ยังช่วยส่งเสริมการเรียกใช้ข้อมูลการเรียนรู้ย้อนหลังและทาให้เกิดความเข้าใจ
เน้ือหาที่ลกึ ซึ้งย่งิ ขน้ึ เน่ืองจากนกั เรียนมีส่วนร่วมกับเนื้อหามากกว่าเพียงแค่ฟัง นอกจากนี้การเรียนรู้
เชิงรุก (Active Learning) ยังส่งผลใหเ้ กดิ ความเท่าเทียมกัน เนื่องจากนักเรียนท่ีมีผลการเรียนต่ากว่า
จะไดร้ ับประโยชน์จากการเรยี นรู้เชิงรุกมากกว่านกั เรยี นทีม่ ีผลการเรียนสูงอยู่แล้ว ความยุติธรรมท่ีได้
จากการเรียนรู้เชิงรุกอีกประการหนึ่งคือ การใช้วิธีการถ่ายทอดความรู้ที่แตกต่างกันออกไปช่วย
สนับสนุนนักเรียนที่มีความชอบในรูปแบบการเรียนรู้ที่ต่างกัน เห็นได้ชัดว่าการใช้เทคนิคการเรียนรู้
เชิงรุกมีประโยชน์ในดา้ นจริยธรรมและการสอน

นอกจากน้ัน Gifkins ยงั กล่าวอกี วา่ การมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั เนือ้ หาท่ีเรียนผ่านการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) มีขอ้ ดที ่นี า่ สนใจกว่าการบรรยายใน "รูปแบบการสง่ มอบความรู้" ช่วยรักษาสมาธิ
ของนักเรียนและเกิดการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งต่อทักษะระดับสูง เช่น การคิดเชิงวิพากษ์ นอกจากนี้ยัง
ช่วยดึงดูดนักเรียนที่อาจมีปัญหา โดยใช้การบูรณาการวิธีต่างๆ เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมกับเน้ือหา
ตลอดการบรรยาย

10

โปรดทบทวน - นิยามของะการเรียนรู้เชิงรุกจากทัศนะของ Gifkins มี
สาระสาคญั อะไร ?
…………………………………………………………………………………………….......................
...............................................................................................................................
..................................................................................................................... ............

หมำยเหตุ - ศกึ ษาจากต้นฉบับภาษาองั กฤษ โปรด “คลิก” ดูไดจ้ ากเวบ็ ไซตข์ ้างลา่ งนี้

https://www.e-ir.info/pdf/58910

Nata and Tungsiriwat (2017) เป็นอาจารย์ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้กล่าวถึงนิยามของการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ว่า
หมายถึง การเปิดโอกาสให้นักเรียนได้พูดคุย ฟัง เขียน อ่าน และไตร่ตรองเนื้อหา แนวคิด ประเด็น
ปัญหา และข้อกังวลของหัวข้อทางวิชาการอย่างมีความหมายสาคัญ นอกจากน้ีการเรียนรู้เชิงรุกยัง
เป็นวิธีการเรียนรู้ท่ีเน้นการเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติมากกว่าการเรียนรู้จากการบรรยาย ผู้สอนจะเป็นผู้
อานวยความสะดวก มากกว่าที่จะเป็นเพียงผู้ควบคุมหรือครูผู้สอนเท่านั้น การเรียนรู้เชิงรุกสามารถ
ช่วยผู้เรียนให้ฝึกฝนกระบวนการเรียนรู้ของตนเองและการคิดข้ันสูง ได้แก่ การวิเคราะห์ การ
สังเคราะห์ และการประเมนิ

โปรดทบทวน - นิยามของการเรียนรู้เชิงรุกจากทัศนะของ Nata and
Tungsiriwat มีสาระสาคัญอะไร ?
……………………………………………………………………………………………..................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................

หมำยเหตุ - ศกึ ษาจากต้นฉบับภาษาองั กฤษ โปรด “คลิก” ดไู ด้จากเวบ็ ไซต์ข้างลา่ งน้ี

https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/109808/86230

11

Surakarn, Junprasert, Chaiakkarakkan, Peungposop, and Boonlop (2020)
เป็น คณะวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงนิยามของการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning Skills) ว่าเปน็ แนวทางการเรียนร้ทู ่นี กั เรียนมีส่วนร่วมในความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้และ
มีความกระตือรือร้นในทุกข้ันตอนของกระบวนการเรียนรู้ นอกจากนี้การมีส่วนร่วมของนักเรียนใน
กระบวนการเรียนรู้ช่วยให้พวกเขามุ่งความสาคัญไปที่การสร้างความรู้และทักษะเชิงสร้างสรรค์ เช่น
การคิดเชงิ วิเคราะห์ การแก้ปญั หา และกิจกรรมท่ีพฒั นาความคิด การเรียนรู้ประเภทนี้ทาให้นักเรียน
ได้ทากิจกรรมการเรยี นรทู้ ีม่ คี วามหมายและคดิ เก่ยี วกับสง่ิ ที่กาลังทา ซง่ึ กจิ กรรมประเภทนี้อาจรวมถึง
การยกกรณีศึกษา การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม การอภิปราย การแสดงละคร การแสดงบทบาทสมมติ
และการจาลอง และการสอนแบบเพ่ือนช่วยสอนแนวทางนี้ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตและ
ช่วยให้นักเรียนมีทักษะการเรียนรู้และทักษะทางอารมณ์ ทักษะเหล่าน้ีส่งเสริมทักษะการคิดเชิง
วพิ ากษ์ การแก้ปัญหา และทักษะการจดั การเรยี นรแู้ บบเน้นภาระงานในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เชิง
รุก ลักษณะสาคัญบางประการของการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ได้แก่ (1) นักเรียนมีส่วน
ร่วมมากกว่าแค่การรับฟัง (2) นักเรียนมีส่วนร่วมในการคิดข้ันสูง (การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และ
การประเมิน) (3) นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม (การอ่าน การอภิปราย หรือการเขียน) และ (4) ให้
ความสาคัญกบั การสารวจทศั นคตแิ ละคา่ นยิ มของตนเอง

โปรดทบทวน - นิยามของการเรียนรู้เชิงรุกจากทัศนะของ Surakarn,
Junprasert, Chaiakkarakkan, Peungposop, and Boonlop มี
สาระสาคัญอะไร ?
……………………………………………………………………………………………....................
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................

หมำยเหตุ - ศกึ ษาจากตน้ ฉบับภาษาองั กฤษ โปรด “คลิก” ดไู ดจ้ ากเวบ็ ไซต์ข้างลา่ งนี้

https://so06.tci-thaijo.org/index.php/IJBS/article/view/143725

12

Brame (n.d.) เปน็ ผู้ช่วยผู้อานวยการ CFT ได้กลา่ วถึงนยิ ามของการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) โดยอ้างถึง Bonwell and Eison ได้ให้ความหมายของ การเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) ว่า “เป็นกิจกรรมการสอนท่ีเก่ียวข้องกับนักเรียนในการทาสิ่งต่างๆ และคิดเกี่ยวกับสิ่งที่
นักเรียนกาลังทา” แนวทางส่งเสริมการเรียนรู้เชิงรุกจะเน้นท่ีการพัฒนาทักษะของนักเรียนมากกว่า
การส่งข้อมูลและต้องการให้นักเรียนทากิจกรรมบางประการ เช่น อ่าน สนทนา เขียน ซึ่งต้องใช้การ
คิดขั้นสงู

และ Bonwell and Eison ได้แนะนากิจกรรมที่หลากหลายเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) ต้ังแต่แบบธรรมดามาก (เช่น หยุดการบรรยายชั่วคราวเพื่อให้นักเรียนช้ีแจงและ
จัดระเบยี บความคดิ โดยการพูดคุยกับเพ่ือนข้างๆ) ไปจนถึงความซับซ้อนยง่ิ ข้ึน (เช่น ใช้กรณีศึกษาเป็น
จุดศูนย์กลางในการตัดสินใจ การปฏิบัติ) และในหนังสือ Scientific Teaching ผู้เขียนได้แก่
Handelsman, Miller and Pfund ยังระบวุ า่ การสอนทีส่ ่งเสริมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
ของนักเรียนน้นั คือการขอให้นกั เรียนทาหรือผลติ บางส่ิง ซึ่งจะช่วยประเมินความเข้าใจ

และอ้างถึง National Survey of Student Engagement (NSSE) and Australasian
Survey of Student Engagement (AUSSE) ให้คาจากัดความการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) เกี่ยวข้องกับ "ความพยายามของนักเรียนในการสร้างความรู้อย่างแข็งขัน" เช่น การ
ทางานกับนักเรียนคนอ่ืนในโครงการระหว่างเรียน; การทาพรีเซนเทช่ันเพื่อนาเสนอ; ถามคาถาม
หรือมีส่วนร่วมในการอภิปราย การเข้าร่วมในโครงการชุมชนซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของหลักสูตร ทางาน
กับนักเรียนคนอื่นนอกช้ันเรียนในงานที่ได้รับมอบหมาย อภิปรายแนวคิดจากหลักสูตรกับผู้อื่นนอก
ชั้นเรียน การตวิ หนงั สือให้เพอื่ น

อีกท้ังยังอ้างถึง Freeman และเพ่ือนร่วมงานของเขาได้รวบรวมคาจากัดความจากผู้คน
มากกวา่ 300 คนทีเ่ ข้ารว่ มสัมมนาเก่ยี วกับการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) และได้มาซึ่งคาจากัด
ความ คือ การใช้ความคิดข้ันสูงของนักเรียนเพ่ือทากิจกรรมให้สาเร็จหรือเข้าร่วมการอภิปรายในชั้น
เรียน และสามารถระบุถึงความเชื่อมโยงทีเ่ กิดขนึ้ ระหวา่ งการเรยี นรูเ้ ชงิ รุกและการทางานเปน็ กลุ่ม

ดังน้ันการเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ (Active Learning) จงึ ถูกกาหนดให้เป็นกิจกรรมท่ีนักเรียนทาเพ่ือ
สร้างความรู้และความเข้าใจ โดยกิจกรรมการเรียนรู้อาจแตกต่างกันออกไป แต่จุดประสงค์เพ่ือ
ต้องการให้นักเรียนทาการคิดข้ันสูง สามารถใช้ปัญญาในการคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของตนเอง โดย
เป็นการเช่ือมโยงระหวา่ งกิจกรรมและการเรียนรู้ของนักเรยี นเอง

13

โปรดทบทวน - นิยามของะการเรียนรู้เชิงรุกจากทัศนะของ Brame มี
สาระสาคญั อะไร ?
…………………………………………………………………………………………….......................
...............................................................................................................................
..................................................................................................................... ............
หมำยเหตุ - ศกึ ษาจากตน้ ฉบับภาษาองั กฤษ โปรด “คลิก” ดูไดจ้ ากเวบ็ ไซต์ขา้ งลา่ งน้ี

https://cft.vanderbilt.edu/wp-content/uploads/sites/59/Active-Learning.pdf

Source - https://bit.ly/3QHGxmp

14

จากทัศนะของแหล่งอ้างอิงต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่าการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) หมายถึง แนวทางการเรียนรู้ท่ีนักเรียนมีส่วนร่วมในความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้และมี
ความกระตือรือร้นในทุกขั้นตอนของกระบวนการเรียนรู้ เน้นการเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติมากกว่าการ
เรียนร้จู ากการบรรยาย เปิดโอกาสให้ได้พูดคุย ฟัง เขียน อ่าน และไตร่ตรองเนื้อหา แนวคิด ประเด็น
ปัญหา และข้อกังวลของหัวข้อทางวิชาการอย่างมีความหมายสาคัญ อันจะช่วยให้นักเรียนมุ่ง
ความสาคัญไปที่การสร้างความรู้และทักษะการคิดขั้นสูง ได้แก่ การคิดเชิงวิพากษ์ การวิเคราะห์ การ
สังเคราะห์ และการประเมิน ทาให้ได้ทากิจกรรมที่มีความหมายเก่ียวกับส่ิงที่กาลังทา ซ่ึงอาจรวมถึง
การยกกรณีศึกษา การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม การอภิปราย การแสดงละคร การแสดงบทบาทสมมติ
และการจาลอง และการสอนแบบเพ่ือนช่วยสอน เป็นตน้ แนวทางน้สี ่งเสรมิ กระบวนการเรียนรู้ตลอด
ชีวิต ช่วยให้นักเรียนมีทักษะการเรียนรู้และทักษะทางอารมณ์ ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์ และทักษะ
การการทางานแบบยึดโครงงานเป็นฐาน หรือยึดปัญหาเป็นฐาน ประเด็นสาคัญของการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) คือ นักเรียนมีส่วนร่วมมากกว่าแค่การรับฟัง นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม (เช่น
การอภิปราย โตว้ าที การประยกุ ตใ์ ชห้ ลักการ) ท่มี ุ่งสง่ เสริมการคดิ ข้ันสูง (เช่น การคิดเชิงวิพากษ์ การ
วเิ คราะห์ การสงั เคราะห์ และการประเมิน) และนกั เรียนได้สารวจทศั นคตแิ ละค่านยิ มของตนเอง

Source - https://bit.ly/39QFsYG

15

จากนานาทัศนะเก่ียวกับนิยามของการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ดังกล่าวข้างต้น
ท่านเห็นว่ามีแนวคิด (Concepts) ท่ีสาคัญอะไรบ้าง ท่ีทาให้เข้าใจในนิยามน้ันได้อย่างกระชับและ
ชดั เจน โปรดระบุแนวคิดนั้นในภาพที่แสดงขา้ งล่าง

16

Amaraporn Surakarn, A., Junprasert, T., Chaiakkarakkan, N., Peungposop, N., &
Boonlop, R. (2020). Active learning and its outcomes: A case study from the
education reform project in Thailand. Retrieved July 27, 2021 from
https://so06.tci-thaijo.org/index.php/IJBS/article/view/143725

Brame, C. J. (n.d.). Active learning. Retrieved July 27, 2021 from
https://cft.vanderbilt.edu/wp-content/uploads/sites/59/Active-Learning.pdf

Gifkins, J. (2015, October 8). What is ‘active learning’ and why is it important?.
Retrieved July 27, 2021 from https://www.e-ir.info/pdf/58910

Nata, N., & Tungsirivat, K. (2017). Active learning for language skills development.
Retrieved July 27, 2021 from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-
Journal/article/view/109808/86230

Prince, M. (2004). Does active learning work? a review of the research. Retrieved July
27, 2021 from https://www.engr.ncsu.edu/wp-
content/uploads/drive/1smSpn4AiHSh8z7a0MHDBwhb_JhcoLQmI/2004-
Prince_AL.pdf

17

18

หลงั จากการศึกษาค่มู ือชดุ นี้แล้ว ท่านมีพัฒนาการด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ซ่ึง
เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาท่ีเกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตาม The Revised
Taxonomy (2001) ของ Benjamin S. Bloom โดยจาแนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเป็น 6 ระดับ
เรียงจากพฤติกรรมท่ีสลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ากว่าไปหาทักษะการคิด
ขั้นสูงกว่า ดังน้ี คือ ความจา (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้
(Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating)
ดังนี้

1. บอกคณุ สมบตั ิ จับคู่ เขยี นลาดับ อธิบาย บรรยาย ขดี เส้นใต้ จาแนก หรอื ระบุ
ความสาคญั ของการเรยี นรเู้ ชงิ รุกได้

2. แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกตา่ ง หรอื
เรยี บเรียงความสาคญั ของการเรียนรู้เชิงรุกได้

3. แก้ปญั หา สาธิต ทานาย เชือ่ มโยง ความสัมพันธ์ เปลี่ยนแปลง คานวณ หรอื ปรบั ปรุง
ความสาคัญของการเรยี นรเู้ ชงิ รุกได้

4. แยกแยะ จดั ประเภท จาแนกให้เหน็ ความแตกต่าง หรอื บอกเหตุผลความสาคัญของ
การเรียนร้เู ชงิ รุกได้

5. วัดผล เปรียบเทียบ ตคี า่ ลงความเหน็ วจิ ารณ์ความสาคัญของการเรยี นรู้เชงิ รุกได้
6. รวบรวม ออกแบบ จัดระเบยี บ สรา้ ง ประดิษฐ์ หรอื วางหลักการความสาคญั ของการ

เรยี นรเู้ ชงิ รกุ ได้

19

1. โปรดศึกษาเนอ้ื หาเก่ยี วกบั ความสาคัญของการเรียนรู้เชิงรุกจากทัศนะท่ีนามากล่าวถึง
แต่ละทศั นะ

2. หลังจากการศึกษาเนื้อหาโปรดทบทวนความเข้าใจจากคาถามท้ายเนื้อหาของแต่ละ
ทศั นะ

3. ศึกษารายละเอยี ดของความสาคัญทีเ่ ป็นต้นฉบบั ภาษาอังกฤษ โปรด “คลิก” เว็บไซต์ท่ี
นาเสนอไวท้ า้ ยเนอื้ หาของแต่ละทศั นะ

Gifkins (2015) เป็นนักวิจัยของ Asia-Pacific Center for the Responsibility to
Protect ได้กล่าวถึงความสาคัญของการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ว่าการเรียนรู้เชิงรุกในการ
เรียนการสอนมปี ระโยชนม์ ากสาหรับการเรียนรู้ของนักเรียน พวกเขาสามารถจดจ่อต่อการเรียนไม่ให้
ลดลงโดยใช้วิธีการท่ีแตกต่างกันในการเรียนรู้ทุกๆ 15 นาที (ซ่ึงหมายถึงการเปลี่ยนวิธีในการมีส่วน
ร่วมของนักเรียน แทนทจ่ี ะเปลี่ยนหัวข้อการเรียน) การเรียนรู้เชิงรุกยังช่วยส่งเสริมความจาและความ
เข้าใจเนื้อหาที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น เน่ืองจากนักเรียนมีส่วนร่วมกับเนื้อหามากกว่าเพียงแค่ฟัง นอกจากน้ีการ
เรยี นรูเ้ ชิงรุกยังทาให้นกั เรียนได้รับประโยชน์จากการเรียนท่ีเท่าเทียมกัน เน่ืองจากนักเรียนท่ีมีผลการ
เรยี นตา่ กว่าจะไดร้ ับประโยชนจ์ ากการเรยี นรู้เชงิ รุกมากกว่านกั เรยี นท่ีมผี ลการเรียนสูงอยู่แล้ว ผลลัพธ์
ที่เท่าเทยี มกันอกี ประการหน่ึงที่ได้จากการเรียนรู้เชิงรุก คือ การใช้วิธีการส่งมอบความรู้ท่ีแตกต่างกัน
นี้ช่วยสนับสนุนเหล่านักเรียนท่ีมีรูปแบบการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน แสดงให้เห็นว่าการใช้เทคนิคการ
เรยี นร้เู ชงิ รกุ มีประโยชนท์ งั้ ในดา้ นจรยิ ธรรมและการสอนทช่ี ดั เจน

อกี ทงั้ การเรียนรู้เชงิ รุก นักเรียนมกี ารตอบสนองต่อเน้ือหาได้ดีและน่าสนใจกว่า "โหมดการ
ส่งมอบ" หรือการบรรยาย คือ ช่วยรักษาสมาธิของนักเรียนและทาให้เกิดการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งต่อ
ทักษะระดับสูง เช่น การคิดอย่างมีวิจารณญาณ นอกจากน้ียังช่วยดึงดูดนักเรียนที่อาจมีปัญหา น่ัน
หมายถึงการรวบรวมวธิ ีต่างๆ ในการทาให้นักเรียนมีสว่ นรว่ มกบั เนือ้ หาในตลอดช่วงเวลาการบรรยาย

20

โปรดทบทวน - ความสาคัญของการเรียนรู้เชิงรุกจากทัศนะของ Gifkins มี
สาระสาคัญอะไร ?
…………………………………………………………………………………………….......................
...............................................................................................................................
..................................................................................................................... ............

หมำยเหตุ - ศึกษาจากตน้ ฉบบั ภาษาอังกฤษ โปรด “คลกิ ” ดไู ด้จากเวบ็ ไซต์ข้างลา่ งน้ี

https://www.e-ir.info/pdf/58910

Shaaruddin and Mohamad (2017) เป็นอาจารย์ Faculty of Education,
National University of Malaysia ได้กล่าวถึงความสาคัญของการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
ว่า การเรียนรู้เชิงรุกเป็นกระบวนการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีสนุกสนานและเป็นท่ีพึงพอใจ
อย่างมาก ช่วยให้บรรยากาศในห้องเรียนไม่น่าเบ่ือ อีกทั้งวิธีการและกลยุทธ์ของการเรียนเชิงรุกน้ันมี
ความสาคัญเปน็ อยา่ งมากท่ีช่วยส่งเสริมความจาและความเข้าใจเน้ือหาท่ีลึกซึ้งย่ิงข้ึน ต่อยอดไปสู่การ
คิดอย่างมีวิจารณญาณ นอกจากนั้นยังช่วยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียนและการทากิจกรรม
เช่น ครูและนักเรียนมีปฏิสัมพันธ์โดยตรงระหว่างกันเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น อีกท้ังจะช่วย
เพิ่มทกั ษะในการส่อื สาร และทุกคนจะได้เรียนรู้ที่จะเคารพความคิดเห็นของคนอ่ืน ช่วยให้นักเรียนได้
มีส่วนรว่ มกับกจิ กรรมการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง และสรา้ งสภาพแวดล้อมการเรยี นรู้เชงิ บวก

โปรดทบทวน - ความสาคัญของการเรียนรู้เชิงรุกจากทัศนะของ Shaaruddin
and Mohamad มีสาระสาคญั อะไร ?
…………………………………………………………………………………………….......................
...............................................................................................................................
................................................................................. ................................................

21

หมำยเหตุ - ศกึ ษาจากตน้ ฉบบั ภาษาองั กฤษ โปรด “คลกิ ” ดูได้จากเว็บไซต์ข้างล่างน้ี

https://www.researchgate.net/publication/321313371_Identifying_the_Effectiveness_of_Active_Learni
ng_Strategies_and_Benefits_in_Curriculum_and_Pedagogy_Course_for_Undergraduate_TESL_Stude
nts

Wasserman (2019) เป็นอาจารย์และผู้เชี่ยวชาญด้านการส่ือสาร at Washington
University in St. Louis ได้กล่าวถึงความสาคัญของการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ว่า จาก
งานวิจัยล่าสุดจากนักวิจัยของมหาวิทยาลัย Harvard โดยให้นักเรียนในชั้นเรียนฟิสิกส์เบ้ืองต้นที่
Harvard ได้มีโอกาสเรียนรู้แบบบรรยายและเรียนรู้เชิงรุก ซ่ึงในช่วง 11 สัปดาห์แรกของหลักสูตร
นักเรียนได้เข้าเรียนแบบบรรยายสอนโดยอาจารย์ท่ีมีประสบการณ์ และในสัปดาห์ที่ 12 นักเรียน
ครง่ึ หนง่ึ ของชั้นเรยี น ได้รับการสุม่ เลือกใหย้ ้ายไปเรียนห้องเรียนท่ีใช้การเรียนรู้เชิงรุก พบว่าห้องเรียน
ท่ีใช้กลยทุ ธ์การเรียนรู้เชิงรุกจะเรียนรู้ไดม้ ากกวา่ หอ้ งเรยี นท่ีมกี ารบรรยายแบบเดิมๆ

มกี ารสารวจความคิดเห็นนักเรยี นและทดสอบว่าได้เรียนรู้มากแค่ไหนระหว่างการสอนแบบ
บรรยายและการเรียนรเู้ ชงิ รุก โดยทดสอบแบบเลือกตอบส้ันๆ ผลการวิจัยพบว่าหลังการเรียนรู้เชิงรุก
นักเรยี นทาคะแนนได้สูงกว่าการบรรยาย

ผลลัพธ์ที่ได้ให้ความชัดเจนว่านักเรียนรู้สึกอย่างไรกับการเรียนรู้เชิงรุก บ่อยครั้งท่ีนักเรียน
อาจรู้สึกหงุดหงิดและต่อต้านเทคนิคต่างๆเม่ือเร่ิมเรียนรู้เชิงรุกในครั้งแรก แต่ไม่นานหลังจากนั้นพวก
เขาก็จะเหน็ ประโยชน์ของกลยทุ ธ์การเรยี นรู้เชิงรกุ นน้ั

โปรดทบทวน - ความสาคัญของการเรียนรู้เชิงรุกจากทัศนะของ Wasserman มี
สาระสาคญั อะไร ?
…………………………………………………………………………………………….......................
...............................................................................................................................
..................................................................................................................... ............

หมำยเหตุ - ศึกษาจากตน้ ฉบบั ภาษาองั กฤษ โปรด “คลิก” ดไู ด้จากเว็บไซตข์ ้างล่างน้ี

https://ctl.wustl.edu/new-harvard-study-shows-benefits-of-active-learning-versus-lecture/

22

Doyle (2019) ผู้เขียน blog โปรแกรมบัณฑิต Northeastern University ได้กล่าวถึง
ความสาคญั ของการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ว่าการเรียนรู้เชิงรุกมีประโยชน์มากมายดังน้ี 1)
ช่วยให้นกั เรียนเข้าใจหัวข้อท่ีกาหนดให้ อย่างลึกซ้ึงย่ิงขึ้น 2) ทาให้ครูรู้ว่านักเรียนเข้าใจแนวคิดใหม่ๆ
ได้ดีเพียงใด 3) สร้างความเชื่อมโยงระหว่างเหล่านักเรียน ซ่ึงช่วยทาให้เพิ่มอัตราจานวนนักเรียนท่ี
สาเร็จการศกึ ษาในหลักสูตรดว้ ย

การศึกษาวิจัยจานวนมากได้แสดงให้เห็นว่ากลยุทธ์การสอนการเรียนรู้เชิงรุกนั้นมี
ประสทิ ธภิ าพในการสร้างความเข้าใจเชิงแนวคิดของเน้ือหาการเรียนรู้มากกว่าเป็นสองเท่าของวิธีการ
แบบเดิม โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการเพิ่มประสิทธิภาพในด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ คณิตศาสตร์
และเทคโนโลยีของนักเรียน แนวทางปฏิบัติเหล่าน้ียังเป็นประโยชน์ในการลดช่องว่างความสาเร็จแก่
นักศกึ ษามหาวิทยาลัยท่ีด้อยโอกาส

นอกจากนี้งานวิจัยโดย National Academy of Sciences ได้เปิดเผยว่านักเรียนใน
ห้องเรียนท่ีมีการบรรยายแบบด้ังเดิมมีโอกาสประสบความล้มเหลวมากกว่านักเรียนในห้องเรียนท่ีมี
กิจกรรมการเรียนร้เู ชิงรุกถงึ 1.5 เท่า “นักเรียนมีความกระหายในการเรียนรูอ้ ย่างแท้จริง”

โปรดทบทวน - ความสาคัญของการเรียนรู้เชิงรุกจากทัศนะของ Doyle มี
สาระสาคัญอะไร ?
…………………………………………………………………………………………….......................
...............................................................................................................................
.................................................................................. ...............................................

หมำยเหตุ - ศกึ ษาจากตน้ ฉบบั ภาษาอังกฤษ โปรด “คลิก” ดไู ด้จากเวบ็ ไซต์ขา้ งล่างน้ี

https://www.northeastern.edu/graduate/blog/active-learning- higher-education/

Source -https://bit.ly/3a6dpVf

23

Whenham (2020) เป็นนักเขียนและบรรณาธิการในภาคเทคโนโลยี และยังเป็นนัก
การศึกษาได้กล่าวถึงความสาคัญของการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ว่าการเรียนรู้เชิงรุกน้ันคือ
การทาให้นักเรียนเป็นศูนย์กลาง และให้ความสาคัญกับการสร้างและการทางานร่วมกันอย่างมี
ความหมายมากกว่าการรับความรู้แบบไม่มีการตอบโต้ และมีการรายงานถึงผลลัพธ์ที่ดีในห้องเรียน
การเรยี นรเู้ ชงิ รุก ซ่ึงมี 9 เหตผุ ลดงั ต่อไปน้ี

1. พฒั นำทักษะกำรทำงำนร่วมกัน (Develops Collaborative Skills)
ก า ร ท า ง า น ร่ ว ม กั น เ ป็ น เ ส า ห ลั ก ข อ ง แ น ว ท า ง ก า ร เ รี ย น รู้ เ ชิ ง รุ ก ส่ ว น ใ ห ญ่ นั ก เ รี ย น ท่ี มี
ประสบการณเ์ พียงด้านการเขยี นเรียงความและการสอบจะพบว่าตัวเองเสียเปรียบในสถานท่ีทางานท่ี
เน้นการทางานเป็นทีมมากกว่า นักเรียนจะพัฒนาความสามารถท่ีจาเป็นในการทางานร่วมกันใน
ทมี งานดว้ ยการทางานร่วมกนั เปน็ กล่มุ ย่อย
2. สง่ เสริมใหก้ ลำ้ รับควำมเสี่ยง (Encourages Risk Taking)
ในเบือ้ งต้นนักเรยี นอาจต่อตา้ นการเปล่ยี นไปสกู่ ารเรียนรเู้ ชิงรุก เพราะมันง่ายที่จะนั่งในช้ัน
เรยี นและจดบันทึก (หรือเหม่อลอย) จนกว่าครูจะพูดเสร็จ การเรียนรู้เชิงรุกดึงนักเรียนออกจากพื้นท่ี
ปลอดภัยโดยการสร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนให้กล้ารับความเสี่ยง เม่ือพวกเขารู้สึกสบายใจที่จะ
แบ่งปันความคิด แก้ต่างข้อสรุปและต่อยอดจากความคิดของกันและกัน พวกเขาจะมีความมั่นใจและ
ควบคุมตนเองได้
3. ทำให้นกั เรยี นรู้จักเตรยี มกำร (Requires Student Preparation)
ในช่วงชีวิตเรียนมหาวิทยาลัยของคุณ มีหลักสูตรท่ีมีแนวโน้มว่าไม่ต้องใช้ความพยายามใน
แต่ละวันมากไปกว่าการปรากฏตัวในช้ันเรียน คุณอาจเหนื่อยหรือใจลอย และศาสตราจารย์ก็คงไม่
สังเกต โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าคุณซ่อนตัวอยู่ท่ีแถวหลังของห้องบรรยาย และตอนน้ีด้วยช้ันเรียน
ออนไลน์เป็นบางส่วนหรอื อาจจะทงั้ หมด กย็ ิ่งง่ายข้ึนไปอกี แตใ่ นหอ้ งเรียนแหง่ การเรยี นรู้เชิงรุกนี้ ไม่มี
ใครซอ่ นตัวได้ นักเรียนจะโดดเด่นทันทีเมื่อไม่ได้มีการเตรียมตัว ดังน้ันจึงมีแรงจูงใจมากขึ้นท่ีจะแสดง
ตนท้งั ในดา้ นความคดิ และตัวตนออกมา
4. เพมิ่ กำรมสี ว่ นร่วม (Increases Engagement)
นักเรียนท่ีกาลังเรียนรู้เชิงรกุ จะตอ้ งมีสว่ นรว่ มอย่างแขง็ ขันในการเรียนรู้ ไม่ว่าจะแก้ปัญหา
โต้วาที หรือค้นคว้าแนวคิด พวกเขาประมวลผลความคิดและสร้างความเข้าใจท่ีลึกซ้ึงย่ิงขึ้น (และมี

24

แนวโน้มนอ้ ยกว่ามากท่ีจะแอบทาอย่างอ่ืนระหว่างการใช้ Zoom หรือ Google Meet ในการเรียนรู้)
หากคุณกาลงั มองหาแนวคิดใหม่ๆ เพื่อให้นักเรียนได้คิด ให้ลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้ที่รวดเร็วเหล่านี้
ได้

5. ปรบั ปรงุ กำรคิดเชิงวพิ ำกษ์ (Improves Critical Thinking)
ในโลกท่ีขา่ วปลอมกลายเป็นส่วนหน่ึงของบทสนทนาในประจาวันของเรา ความสามารถใน
การระบุแหลง่ ทมี่ าท่ถี ูกต้องหรอื หาขอ้ คดิ เหน็ ที่ไม่ถกู ต้องก็มคี วามสาคญั มากขึ้นเท่านั้น การเรียนรู้เชิง
รุกเปล่ียนจดุ มุ่งเน้นของการเรียนรู้ - จากการรับข้อมูลอย่างไม่มีการตอบโต้ (และอาจไม่มีคาถาม) ไป
เป็นการรับผิดชอบต่อการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันกับแหล่งท่ีมาและมุมมอง และเม่ือนักเรียนแบ่งปัน
ความคิด พวกเขาจะเรียนรู้ท่ีจะสร้างข้อโต้แย้งท่ีแข็งแกร่งขึ้น ท้าทายข้อสันนิษฐาน และรับรู้ถึงการ
สรปุ ที่ขาดขอ้ มลู ทหี่ นกั แน่น
6. เพมิ่ กำรจดจำข้อมูล (Increases Retention)
จากข้อมูลของ Dale's Cone of Experience นักเรียนจะจาได้ประมาณร้อยละ 10 ของ
ส่ิงที่พวกเขาอ่าน จาในสิ่งท่ีพวกเขาได้ยินได้ร้อยละ 20 แต่จะจดจาได้ถึงร้อยละ 90 ของสิ่งท่ีพวกเขา
ได้ลงมือทา ในห้องเรียนการเรียนรู้เชิงรุกนั้นมีความกระตือรือร้นมากกว่า นักเรียนมักจะนาแนวคิด
ของตนไปลองใช้งานจริง ทางานในโครงการร่วมกัน หรือใช้วิธีต่างๆ เช่น การคิดเชิงออกแบบ หรือ
กระบวนการที่คลอ่ งตัวเพอ่ื เสรมิ สร้างการเรียนรู้ของพวกเขา
7. ทำให้เทคโนโลยีมปี ระสทิ ธภิ ำพมำกขึน้ (Makes Tech More Powerful)
หอ้ งเรียนทม่ี ีการเรียนรู้เชิงรุกจานวนมากพร้อมด้วยเคร่ืองมือและระบบที่ทามุ่งให้นักเรียน
เป็นศูนย์กลาง ซึ่งตรงกันข้ามกับห้องเรียนแบบบรรยายซ่ึงมักจะมีจอแสดงผลท่ีนักเรียนไม่ได้ใช้งาน
และระบบเสียงท่ีรับเฉพาะเสียงของผู้นาบรรยาย หารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับเทคโนโลยีและ
รายการสาคัญอ่นื ๆ ที่คุณสามารถเพิม่ ลงในพนื้ ทีก่ ารเรยี นร้เู ชงิ รกุ ด้วยเชค็ ลิสตพ์ ืน้ ที่การเรียนรู้เชงิ รุก
8. จดุ ประกำยควำมคดิ สร้ำงสรรค์ (Sparks Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์เป็นหนึ่งในทักษะสาคัญที่จาเป็นสาหรับท่ีทางานแห่งอนาคต และเป็น
หน่ึงในทักษะที่ยากท่ีสุดที่จะสอนโดยใช้วิธีการแบบเดิมๆ การเรียนรู้เชิงรุกช่วยให้นักเรียนเข้าใจว่า
ความคิดสร้างสรรค์เป็นบางสิ่งท่ีเหนือกว่าความรู้สึกดีใจท่ีได้ค้นพบข้อเท็จจริงหรือความรู้ใหม่
(Eureka Moment) – มนั มีการพัฒนาด้วยความพยายามและการทางานหนัก ด้วยการฝึกฝนหลายๆ
อย่างเพื่อยืดมัดกล้ามเนื้อท่ีสร้างสรรค์ นักเรียนยังเห็นว่าทั้งการไตร่ตรองของแต่ละบุคคลและการ
แลกเปล่ียนความร่วมมือสามารถนาไปสู่ความคิดที่ดีข้ึนและการแก้ปัญหาท่ีแปลกใหม่มากขึ้นเกิดขึ้น
ไดอ้ ย่างไร
9. ส่งเสรมิ กำรแก้ปญั หำท่แี ทจ้ ริง (Fosters Real Problem Solving)

25

มีการพูดถึงความสามารถในการแกป้ ัญหาท่ีซบั ซ้อนใน World Economic Forum ในปี 2015
วา่ เปน็ ทกั ษะทส่ี าคัญท่ีสดุ ทีจ่ าเป็นสาหรบั การทางานในอนาคต ตั้งแตน่ น้ั มา กม็ ีการแพรร่ ะบาดของ
โรคติดเช้ือโคโรนา 2019 (COVID-19) ท่เี ปลี่ยนแปลงโลกไปอย่างรวดเรว็ กว่าทเี่ ราคดิ เร่ืองนก้ี ็ยิ่งมี
ความสาคญั มากข้ึนเทา่ นนั้ นักเรยี นในห้องเรียนแหง่ การเรียนร้เู ชิงรกุ เขา้ ใจดวี า่ ไม่มีใครสามารถตอบ
คาถามไดท้ ้ังหมด ดงั นั้นการค้นหาคาตอบนนั้ จึงขน้ึ อยู่กบั ตัวพวกเขาเอง

โปรดทบทวน - ความสาคัญของการเรียนรู้เชิงรุกจากทัศนะของ Whenham มี
สาระสาคญั อะไร ?
…………………………………………………………………………………………….......................
...............................................................................................................................
..................................................................................................................... ............
หมำยเหตุ - ศกึ ษาจากตน้ ฉบับภาษาอังกฤษ โปรด “คลิก” ดูได้จากเวบ็ ไซตข์ ้างล่างนี้

https://www.nureva.com/blog/education/9-benefits-of-active-learning-and-why-your-college-should-
try-it

Source -https://bit.ly/3ymiAJ5

26

จากทัศนะของแหล่งอ้างอิงต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่าการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) มจี ากผลการศกึ ษาวจิ ยั จานวนมากไดแ้ สดงให้เห็นวา่ กลยุทธ์การสอนการเรียนรู้เชิงรุกนั้นมี
ประสิทธภิ าพในการสร้างความเข้าใจเชิงแนวคิดของเน้ือหาการเรียนรู้มากกว่าเป็นสองเท่าของวิธีการ
แบบเดมิ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงการเพ่ิมประสิทธิภาพในด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ คณิตศาสตร์
และเทคโนโลยขี องนกั เรียน และนกั เรียนในหอ้ งเรยี นทีม่ ีการบรรยายแบบด้ังเดิมมีโอกาสประสบความ
ล้มเหลวมากกว่านักเรียนในห้องเรียนที่มีกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกถึง 1.5 เท่า ท้ังนี้ เนื่องจากการ
เรยี นรูเ้ ชงิ รุกชว่ ยเสรมิ สร้างคณุ ลกั ษณะใหก้ ับนกั เรียน ดงั น้ี

1) พัฒนาทักษะการทางานรว่ มกัน ซง่ึ เป็นเสาหลกั ของแนวทางการเรยี นรู้เชิงรุก
2) ส่งเสริมให้กล้ารับความเสี่ยง ดึงนักเรียนออกจากพื้นที่ปลอดภัยโดยการสร้าง
สภาพแวดล้อมที่สนับสนุนให้กล้ารับความเสี่ยง เช่น จากการฟังและจดบันทึกมาเป็นการแบ่งปัน
ความคดิ
3) ทาให้นักเรียนรู้จักเตรียมการ การเรียนรู้เชิงรุกน้ี ไม่มีใครซ่อนตัวได้ นักเรียนจะโดดเด่น
ทนั ทีเมื่อไมไ่ ด้มกี ารเตรยี มตวั
4) เพิ่มการมีส่วนร่วม การเรียนรู้เชิงรุกจะต้องมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในการเรียนรู้ ไม่ว่า
จะแก้ปัญหา โต้วาที หรือค้นคว้าแนวคิด พวกเขาประมวลผลความคิดและสร้างความเข้าใจที่ลึกซ้ึง
ยิ่งข้นึ
5) ปรับปรงุ การคิดเชิงวิพากษ์ การเรียนรู้เชิงรุกเปลี่ยนจุดมุ่งเน้นของการเรียนรู้ - จากการ
รบั ขอ้ มูลอยา่ งไมม่ ีการตอบโต้ (และอาจไม่มีคาถาม) ไปเป็นการรับผิดชอบต่อการมีส่วนร่วมอย่างแข็ง
ขันกบั แหล่งทม่ี าและมมุ มอง
6) เพิ่มการจดจาข้อมูล การเรียนรู้เชิงรุกนั้นมีความกระตือรือร้นมากกว่า นักเรียนมักจะ
นาแนวคิดของตนไปลองใช้งานจริง ทางานในโครงการร่วมกัน หรือใช้วิธีต่างๆ เช่น การคิดเชิง
ออกแบบ หรือกระบวนการทค่ี ลอ่ งตัวเพอ่ื เสรมิ สรา้ งการเรียนรขู้ องพวกเขา
7) ทาให้เทคโนโลยีมปี ระสิทธิภาพมากขึ้น ห้องเรียนท่ีมีการเรียนรู้เชิงรุกจานวนมากพร้อม
ด้วยเครื่องมือและระบบที่ทามุ่งให้นักเรียนเป็นศูนย์กลาง สามารถหารายละเอียดเพ่ิมเติมเกี่ยวกับ
เทคโนโลยีและรายการสาคัญอ่นื ๆ ท่ีคุณสามารถเพมิ่ ลงในพนื้ ที่การเรียนรู้เชิงรุกด้วยเช็คลิสต์พื้นที่การ
เรยี นรู้เชิงรกุ

27

8) จุดประกายความคิดสร้างสรรค์ การเรียนรู้เชิงรุกช่วยให้นักเรียนเข้าใจว่าความคิด
สรา้ งสรรคเ์ ปน็ บางสง่ิ ทเ่ี หนือกว่าความร้สู กึ ดีใจทีไ่ ดค้ น้ พบข้อเทจ็ จรงิ หรือความรู้ใหม่

9) สง่ เสริมการแก้ปัญหาท่ีแท้จริง การเรียนรู้เชิงรุกเข้าใจดีว่าไม่มีใครสามารถตอบคาถาม
ได้ทั้งหมด ดังน้นั การคน้ หาคาตอบนนั้ จงึ ขึน้ อยู่กับตัวพวกเขาเอง

28

จากนานาทัศนะเกี่ยวกับความสาคญั ของการเรียนรู้เชงิ รกุ (Active Learning) ดงั กล่าว
ข้างต้น ทา่ นเหน็ ว่ามีแนวคดิ (Concepts) ทส่ี าคญั อะไรบ้าง ทที่ าใหเ้ ข้าใจในความสาคญั นัน้ ได้อยา่ ง
กระชบั และชดั เจน โปรดระบุแนวคิดนน้ั ในภาพทแี่ สดงข้างล่าง

29

Doyle, L. (2019, October 15). The benefits of active learning in higher education.
Retrieved July 29, 2021 from
https://www.northeastern.edu/graduate/blog/active-learning- higher-education/

Gifkins, J. (2015, October 8). What is ‘active learning’ and why is it important?.
Retrieved July 27, 2021 from https://www.e-ir.info/pdf/58910

Shaaruddin, J., & Mohamad, M. (2017, November 28). Identifying the effectiveness of
active learning strategies and benefits in curriculum and pedagogy course for
undergraduate TESL students. Retrieved July 29, 2021 from
https://www.researchgate.net/publication/321313371_Identifying_the_Effectiven
ess_of_Active_Learning_Strategies_and_Benefits_in_Curriculum_and_Pedagogy_
Course_for_Undergraduate_TESL_Students

Wasserman, E. (2019, September 5). New Harvard Study Shows Benefits of Active
Learning Versus Lecture. Retrieved July 29, 2021 from
https://ctl.wustl.edu/new-harvard-study-shows-benefits-of-active-learning-
versus-lecture/

Whenham, T. (2020, April 16). 9 Benefits of active learning (and why your college
should try it). Retrieved July 29, 2021 from
https://www.nureva.com/blog/education/9-benefits-of-active-learning-and-why-
your-college-should-try-it

30

31

หลงั จากการศกึ ษาคูม่ ือชดุ น้ีแลว้ ท่านมีพัฒนาการด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ซ่ึง
เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาท่ีเก่ียวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตาม The Revised
Taxonomy (2001) ของ Benjamin S. Bloom โดยจาแนกพฤตกิ รรมในขอบเขตน้ีออกเป็น 6 ระดับ
เรียงจากพฤติกรรมท่ีสลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดข้ันต่ากว่าไปหาทักษะการคิด
ข้ันสูงกว่า ดังนี้ คือ ความจา (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้
(Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating)
ดังน้ี

1. บอกคณุ สมบตั ิ จบั คู่ เขยี นลาดับ อธบิ าย บรรยาย ขดี เสน้ ใต้ จาแนก หรือระบุลักษณะ
ท่ีแสดงถงึ การเรียนรู้เชิงรกุ ได้

2. แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรียบเรยี งลักษณะทีแ่ สดงถงึ การเรยี นรู้เชงิ รุกได้

3. แก้ปัญหา สาธิต ทานาย เช่ือมโยง ความสัมพันธ์ เปลี่ยนแปลง คานวณ หรือปรับปรุง
ลักษณะท่แี สดงถงึ การเรียนรู้เชงิ รกุ ได้

4. แยกแยะ จัดประเภท จาแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผลลักษณะท่ีแสดงถึง
การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ ได้

5. วัดผล เปรยี บเทยี บ ตีค่า ลงความเห็น วจิ ารณ์ลักษณะท่ีแสดงถงึ การเรียนร้เู ชงิ รุก ได้
6. รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการลักษณะที่แสดงถึง

การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ ได้

32

1. โปรดศึกษาเน้ือหาเกี่ยวกับลักษณะท่ีแสดงถึงการเรียนรู้เชิงรุกจากทัศนะที่นามา
กล่าวถึงแตล่ ะทัศนะ

2. หลังจากการศึกษาเนื้อหาโปรดทบทวนความเข้าใจจากคาถามท้ายเนื้อหาของแต่ละ
ทศั นะ

3. ศึกษารายละเอียดของลักษณะท่ีแสดงถึงการเรียนรู้เชิงรุกท่ีเป็นต้นฉบับภาษาอังกฤษ
โปรด “คลกิ ” เวบ็ ไซตท์ ่ีนาเสนอไว้ท้ายเนื้อหาของแต่ละทัศนะ

Knight (2004) เป็นศาสตราจารย์ ที่ California Polytechnic State University in
San Luis Obispo ได้กล่าวถึงลักษณะที่แสดงถึงการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ไว้ 5 ประการ
ดังนี้

1. นกั เรยี นใชเ้ วลาส่วนใหญ่ในช้ันเรียนมีส่วนร่วมโดยการเคลื่อนไหวและใช้แรงอย่างแข็ง
ขัน (Students Spend Much of Class Time Actively Engaged in Physics) การมีส่วนร่วม
ประกอบด้วยการคิด การพูด และการเคล่ือนไหวและใช้แรง ไม่ใช่แค่ฟังคนอ่ืนพูดถึงการเคลื่อนไหว
และใช้แรงเทา่ น้นั

2. นักเรียนโต้ตอบกับเพื่อนของพวกเขา (Students Interact with their Peers) การ
สื่อสารระหว่างนักเรียนแต่ละคนและท่ามกลางกลุ่มนักเรียนเป็นองค์ประกอบสาคัญของการสร้าง
ความรู้ - การพัฒนา แบ่งปัน และประเมินความคดิ และกระบวนการ

3. นักเรียนจะได้รับคาติชมเกี่ยวกับงานของพวกเขาโดยตรง (Students receive
immediate feedback on their work) นักเรียนจะได้รับคาติชมเพ่ือการแก้ไขจากเพื่อนหรือผู้สอน
ในหลักสูตรตามความเหมาะสมกับสถานการณ์การเรียนรู้ นักเรียนต้องมีมาตรฐานในการวัดความรู้
และความรู้ในวิธีดาเนินการของตน

33

4. ผู้สอนเป็นผู้อานวยความสะดวกมากกว่า เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ (The Instructor is
More of a Facilitator, Less of a Conveyor of Knowledge) คาพูดท่ีว่า “ครูควรเป็นไกด์อยู่
เคียงขา้ ง ไม่ใช่ปราชญ์บนเวที” เป็นคาพูดท่ีช่วยชี้ประเด็นให้เห็นชัดเจน นักเรียนควร "สร้าง" ความรู้
จากการสังเกตและการไตร่ตรองทุกครั้งท่ีทาได้ ซึ่งรวมถึงการพัฒนาแนวคิดและข้อบังคับจาก
ประสบการณ์ในหอ้ งปฏิบตั ิการโดยตรง

5. นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อความรู้ของตนเอง (Students Take Responsibility
for Their Knowledge) ซึ่งรวมถงึ อภปิ ญั ญาของนักเรียน (รู้ในส่ิงท่ีรู้และไม่รู้) และการควบคุมตนเอง
(นาพาตนเองใหป้ ฏบิ ตั ิตามความคาดหวัง)

โปรดทบทวน - ลักษณะที่แสดงถึงการเรียนรู้เชิงรุก จากทัศนะของ Knight มี
สาระสาคญั อะไร ?
…………………………………………………………………………………………….......................
...............................................................................................................................
..................................................................................................................... ............

หมำยเหตุ - ศึกษาจากตน้ ฉบบั ภาษาองั กฤษ โปรด “คลิก” ดูไดจ้ ากเว็บไซตข์ า้ งล่างน้ี

https://www.phy.ilstu.edu/pte/311content/activelearning/activelearning.html

Silberman (2006) เป็นนักการศึกษาและนักจิตวิทยา ได้กล่าวถึงลักษณะที่แสดงถึงการ
เรียนรเู้ ชิงรุก (Active Learning) ไว้ 8 ประการดังนี้

1. การออกแบบโปรแกรมการฝึกอบรม วิธีท่ีดีที่สุดคือการเลือกสรรสิ่งท่ี "จาเป็นต้องรู้"
มากกว่าสงิ่ ท่ี "นา่ ร"ู้ โปรแกรมการฝึกอบรมท่ีส่งเสริมการเรียนรู้เชิงรุกมีหลักสูตรมุ่งเน้นไปท่ีพ้ืนที่การ
เรียนรู้ที่สาคัญ – ซึ่งก็คือเหล่าองค์ประกอบของวิชาที่เป็นพื้นฐานท่ีจาเป็นสาหรับการเสริมสร้าง

34

ความรู้ในภายหลัง เมื่อเนื้อหามีความเข้มข้นอยู่ในระดับปานกลาง ผู้ให้การฝึกอบรมจะมีเวลา
ออกแบบกิจกรรมทีส่ ามารถแนะนา นาเสนอ ประยกุ ตใ์ ช้ และไตรต่ รองถงึ สิ่งทีเ่ รียนรู้

2. สร้างสมดุลระหว่างการเรียนรู้ทางอารมณ์ พฤติกรรม และปัญญา (Balance Among
Affective, Behavioural and Cognitive Learning) การฝึกอบรมเชิงรุกเกี่ยวข้องกับแนวทางสาม
อยา่ ง : บ่มเพาะทศั นคติ การพัฒนาและฝกึ ฝนทกั ษะ และส่งเสริมความเข้าใจในแนวคิดและรูปแบบท่ี
อยู่เบื้องหลงั หวั ขอ้ การเรียนรู้ แม้ว่าโปรแกรมการฝึกอบรมบางโปรแกรมจะเน้นท่ีด้านใดด้านหนึ่งของ
สิ่งเหล่านี้โดยไม่ให้ความสาคัญด้านอ่ืนๆ แต่ก็ต้องการให้ผู้เข้าร่วมไม่เพียงแต่มีความรู้แต่ยังต้อง
สามารถทาได้ด้วย นอกจากนี้ยังต้องการให้พวกเขาไตร่ตรองว่าส่ิงที่กาลังสอนมีความสัมพันธ์อย่างไร
กบั ตนเองและพิจารณาวา่ มนั ใช้การได้อยา่ งไรสาหรับพวกเขา

3. แนวทางการเรียนรู้ที่หลากหลาย (Variety of Learning Approaches) การฝึกอบรม
เชงิ รกุ ใช้วิธกี ารฝึกอบรมทห่ี ลากหลาย แนวทางการเรยี นรู้ที่หลากหลายช่วยรักษาความสนใจและช่วย
ลดเวลาที่สมองหยุดทางานเม่ือระดับพลังงานต่า เหตุผลท่ีสาคัญยิ่งกว่าสาหรับความหลากหลายก็คือ
ผู้ใหญ่มักเรียนรู้ในวิธีที่ต่างกัน การใช้แนวทางการเรียนรู้ที่แตกต่างกันมีแนวโน้มที่จะมีประสิทธิภาพ
มากกว่าการใช้เพียงวิธีการเดียวที่อาจใช้ได้ผลสาหรับเฉพาะบางคน แต่ไม่ใช่สาหรับคนอ่ืนๆ การ
จัดสรรเวลา การทางานรูปแบบกลุ่ม และสภาพแวดล้อมทางกายภาพยังสามารถเปลี่ยนแปลงได้เพื่อ
เพมิ่ ประสบการณ์การฝกึ อบรม

4. โอกาสในการเข้าร่วมกลุ่ม (Opportunities for Group Participation) การมีส่วนร่วม
ในกลุ่มมีข้อดีไม่ว่าจะเป็นโปรแกรมการฝึกอบรมใดๆ การมีส่วนร่วมของกลุ่มจะเปลี่ยนการฝึกอบรม
จากที่ไม่มีผู้โต้ตอบเป็นการอบรมที่ผู้อบรมมีความกระตือรือร้นกิจกรรมกลุ่มทาให้ผู้เข้าร่วมมีส่วนร่วม
ในกระบวนการเรียนรแู้ ละทาให้พวกเขาทางานร่วมกับผู้ฝึกสอน โดยมีการบรรยายให้น้อยท่ีสุดเพราะ
มีวิธีการท่ีผู้อบรมมีส่วนร่วมสูง เช่น การแสดงบทบาทสมมติ แบบฝึกหัดจาลอง และการอภิปราย
กรณีศึกษา

5. การใช้ความเชี่ยวชาญของผู้เข้าร่วม (Utilization of Participants’ Expertise)
ผู้เข้าร่วมแต่ละคนในโปรแกรมการฝึกอบรมจะนาประสบการณ์ที่เก่ียวข้องมาสู่ห้องเรียน
ประสบการณ์เหล่านี้บางส่วนจะนาไปใช้โดยตรง ส่วนคนอ่ืนอาจมีความเชี่ยวชาญในการเปรียบเทียบ
จากงานหรือสถานการณ์ก่อนหน้านี้ ไม่ว่าในกรณีใด การเรียนรู้เชิงรุกในโปรแกรมการฝึกอบรมส่วน
ใหญ่มาจากเพ่ือนร่วมงาน คุณสามารถสร้างโอกาสมากมายให้ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้จากกันและกัน ใน
การออกแบบโปรแกรม

6. การนาแนวคิดและทักษะก่อนหน้ามาใช้อีก (Recycling of Earlier Learned
Concepts and Skills) โปรแกรมซึ่งมีคุณลักษณะการเรียนรู้เชิงรุกมีการออกแบบที่อ้างถึงและ
ผสมผสานทกั ษะและแนวคิดก่อนหน้าอย่างต่อเนอ่ื ง ผลทตี่ ามมาคอื หลักสูตรหมุนวนกลับ ผู้เข้าร่วมจะ

35

ได้รับโอกาสในการทบทวนส่ิงที่พวกเขาได้เรียนรู้ไปแล้วและนาไปใช้กับงานที่ท้าทายย่ิงขึ้น สิ่งที่เคย
สอนไปแล้วน้ันแทบจะไม่ถูกมองข้าม หรือไม่ปรากฏอีก แต่กลับมีการแนะนาแนวคิดและทักษะหลัก
อกี ครง้ั เม่อื โปรแกรมก้าวหน้ามากขน้ึ

7. การแกป้ ัญหาในชีวิตจริง (Real-life Problem Solving) การออกแบบการฝึกอบรมเชิง
รุกเน้นโลกแห่งความเป็นจริง มีการจัดเตรียมให้ผู้เข้าอบรมมีโอกาสใช้เนื้อหาหลักสูตรเพ่ือแก้ไขและ
ชว่ ยแกป้ ัญหาจริงทีก่ าลังประสบอยู่ การใช้งานทักษะจะไม่ใช่แค่ส่ิงท่ีเกิดข้ึนหลังการฝึก แต่มันเป็นจุด
สนใจหลักในระหวา่ งการฝกึ ผู้เข้าร่วมจะเรียนรู้ได้ดีทสี่ ดุ เมอ่ื ได้ทางานเก่ียวกับเน้ือหา กรณีศึกษา และ
ตัวอย่างด้วยตนเอง สิ่งเหล่าน้ีทาให้ข้อมูลมีความรวดเร็วและช่วยให้ผู้เข้าร่วมประเมินการใช้งานได้
ทันที

8. วางแผนเผ่ือสาหรับการวางแผนในอนาคต (Allowance for Future Planning) ไม่ว่า
จะเป็นโปรแกรมการฝึกอบรมใดๆ โดยธรรมชาติผู้เข้าร่วมจะถามว่า “แล้วได้อะไร” เมื่อการอบรม
เสร็จสิ้น ความสาเร็จของโปรแกรมการฝึกอบรมเชิงรุกน้ันวัดจากคาตอบของคาถามนั้นจริงๆ นั่นคือ
การที่สิ่งที่ได้เรียนรู้มาในหลักสูตรถูกนาไปปฏิบัติในงาน การออกแบบการฝึกอบรมเชิงรุกจบลงด้วย
การพิจารณาว่าผู้เข้าร่วมจะดาเนินการอย่างไรในข้ันตอนต่อไปและพิจารณาถึงอุปสรรคที่พวกเขาจะ
ได้เผชญิ เม่ือนาแนวคิดและทกั ษะใหม่ๆ ไปใช้

โปรดทบทวน - ลักษณะท่ีแสดงถึงการเรียนรู้เชิงรุก จากทัศนะของ Silberman มี
สาระสาคัญอะไร ?
…………………………………………………………………………………………….......................
...............................................................................................................................
..................................................................................................................... ............

หมำยเหตุ - ศกึ ษาจากตน้ ฉบบั ภาษาอังกฤษ โปรด “คลกิ ” ดไู ดจ้ ากเว็บไซตข์ ้างลา่ งนี้

https://www.ctsnet.edu/eight-qualities-of-an-effective-learning-experience/

36

Unta (2011) เป็นครูและนักการศึกษา ได้กล่าวถึงลักษณะท่ีแสดงถึงการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) วา่ มีลกั ษณะดังน้ี

1. กิจกรรมการเรียนรู้ความสามารถท่ีเกี่ยวข้องกับความสามารถอื่นๆ ในหนึ่งวิชาหรือใน
หลายๆ หวั ข้อวิชาอน่ื

2. กิจกรรมการเรยี นรู้ท่ดี ึงดูดนักเรียน
3. เป็นกจิ กรรมการเรยี นรู้ทีน่ ่าตน่ื เตน้ สาหรับผู้เรียน
4. ผ้เู รียนทุกคนมีส่วนร่วมอยา่ งแข็งขนั ในกิจกรรมการเรียนรู้
5. ส่งเสรมิ ให้นักเรยี นคดิ อย่างกระตือรือร้นและสรา้ งสรรค์
6. เคารพความคดิ เห็นและเพอื่ นรว่ มงาน
7. สง่ เสรมิ ความอยากรขู้ องผู้เรยี น ทาใหผ้ เู้ รยี นถาม
8. ส่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รียนทาการสารวจ
9. สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกด้วยวาจา เป็นลายลักษณ์อักษร ใน

รูปแบบของภาพ ผลติ ภณั ฑส์ ามมติ ิ การเคลื่อนไหว การเตน้ และ/หรอื เกม
10. ส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นไมก่ ลวั ท่ีจะทาผดิ พลาด
11. สร้างบรรยากาศความสนกุ สนานในการทากจิ กรรมการเรยี นรู้
12. ส่งเสริมให้นักเรียนทากิจกรรมแต่ละอย่างเป็นรายบุคคล (โดยไม่พ่ึงพาคนอ่ืน) เป็นคู่

กลุ่ม และ/หรือรว่ มกนั ทัง้ ช้ัน
13. ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นทางานร่วมกันเพ่อื พฒั นาทกั ษะทางสงั คม
14. กจิ กรรมการเรียนรู้เกยี่ วกับประสาทสัมผัสต่างๆ
15. การใช้เครอื่ งมือ วสั ดุ หรือส่ิงอานวยความสะดวกเมอ่ื จาเปน็ ต้องใชใ้ นกจิ กรรม
16. กิจกรรมที่มีส่วนร่วม เช่น การสังเกต การทดลอง การสืบสวน การสวมบทบาท การ

เล่นเกม
17. สง่ เสรมิ นกั เรียนโดยจัดให้มีรางวัล ชมเชย ให้กาลังใจ
18. ผลงานของผเู้ รียนทีแ่ สดงออก
19. ใช้เทคนิคการต้ังคาถามเพอื่ กระต้นุ ให้นกั เรียนคดิ และทากจิ กรรม

37

20. สง่ เสรมิ ให้นักเรียนหาขา่ วสาร ข้อมลู และคน้ หาคาตอบของคาถาม
21. ส่งเสริมให้นักเรียนค้นหาตัวเอง
22. ผู้เรยี นโดยท่วั ไปกล้าทจี่ ะวิจารณ์

โปรดทบทวน - ลักษณะท่ีแสดงถึงการเรียนรู้เชิงรุก จากทัศนะของ Unta มี
สาระสาคัญอะไร ?
…………………………………………………………………………………………….......................
...............................................................................................................................
..................................................................................................................... ............

หมำยเหตุ - ศกึ ษาจากต้นฉบับภาษาอังกฤษ โปรด “คลกิ ” ดไู ดจ้ ากเวบ็ ไซตข์ ้างลา่ งนี้

https://weareteacher.blogspot.com/2011/07/characteristics-of-active-learning-in.html

Bonwell (n.d.) เป็นนกั วชิ าการและนักการศึกษา ไดก้ ลา่ วถงึ ลักษณะท่ีแสดงถึงการเรียนรู้
เชิงรุก (Active Learning) ไว้ 7 ประการ ดังน้ี

1. นักเรยี นมีส่วนรว่ มมากกว่าการนั่งฟงั โดยไม่มกี ารโต้ตอบ
2. นักเรียนมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรม (เช่น การอ่าน การอภิปราย การเขียน)
3. มกี ารใหค้ วามสาคัญในการสง่ มอบข้อมูลน้อยลงและเน้นการพัฒนาทักษะของนักเรียน

มากขึน้
4. มกี ารเนน้ ท่ีการสารวจทัศนคตแิ ละคา่ นิยมมากขึน้
5. แรงจูงใจของนักเรียนเพิ่มข้นึ (โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งสาหรบั ผเู้ รียนทเี่ ปน็ ผู้ใหญ่)
6. นักเรียนได้รบั ข้อเสนอแนะได้โดยตรงจากผู้สอน
7. นักเรยี นมสี ว่ นรว่ มในการคดิ ขนั้ สงู (การวิเคราะห์ การสงั เคราะห์ การประเมิน)

38

โปรดทบทวน - ลักษณะที่แสดงถึงการเรียนรู้เชิงรุก จากทัศนะของ Bonwell มี
สาระสาคญั อะไร ?
…………………………………………………………………………………………….......................
...............................................................................................................................
..................................................................................................................... ............

หมำยเหตุ - ศึกษาจากต้นฉบบั ภาษาอังกฤษ โปรด “คลิก” ดไู ด้จากเวบ็ ไซต์ข้างล่างนี้

https://www.asec.purdue.edu/lct/HBCU/documents/Active_Learning_Creating_Excitement_in_the_Cla
ssroom.pdf

Twinkl (n.d.) เป็นสานักพิมพ์การศึกษาออนไลน์ของอังกฤษท่ีผลิตส่ือการสอนและ
การศึกษา สานักงานใหญ่ตั้งอยู่ท่ีเมืองเชฟฟิลด์ ประเทศอังกฤษ ได้กล่าวถึงลักษณะท่ีแสดงถึงการ
เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ว่าเป็นคุณลักษณะหนึ่งของการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งถูก
กาหนดไวส้ าหรับเดก็ ปฐมวัย และเป็นประเดน็ สาคัญที่จะต้องพิจารณาในสภาพแวดล้อมการสอนผ่าน
หลักสูตรพัฒนาเดก็ เล็กของประเทศองั กฤษ (Early Years Foundation Stage : EYFS) ไว้ดังนี้

เด็กมีสว่ นรว่ มและมสี มำธ:ิ
- สามารถจดจอ่ กบั กิจกรรมได้เป็นระยะเวลาหนงึ่
- มคี วามกระตอื รือรน้ และสร้างสรรค์
- ไมฟ่ ุ้งซา่ นง่าย
- ใสใ่ จในรายละเอียด
เด็กไม่ลดละควำมพยำยำม:
- ยงั คงทากจิ กรรมต่อไปแม้ในขณะที่มคี วามท้าทายเกิดขนึ้
- แสดงความเชอ่ื ว่าแนวทางท่ีแตกตา่ งหรือใช้ความพยายามมากข้นึ จะได้ผลดขี ้นึ

39

- ลกุ ข้นึ และลองอกี คร้ังหลงั จากพบเจอความยากลาบาก
- เด็กสนกุ กับการบรรลสุ ิ่งท่ตี งั้ ใจไว้:
- แสดงความพึงพอใจเมอ่ื บรรลุเป้าหมาย
- สามารถรู้สกึ ภาคภมู ใิ จในการบรรลุผลสาเร็จในวิธีการ ไมใ่ ชแ่ คผ่ ลลัพธส์ ุดทา้ ย
- สนุกกับการพบกับความท้าทายเพื่อความพึงพอใจของตนเอง ไม่ใช่แค่เพื่อรางวัลหรือ

คาชมเทา่ นัน้

โปรดทบทวน - ลักษณะที่แสดงถึงการเรียนรู้เชิงรุก จากทัศนะของ Twinkl มี
สาระสาคญั อะไร ?
…………………………………………………………………………………………….......................
...............................................................................................................................
.................................................................................................................................
หมำยเหตุ - ศกึ ษาจากตน้ ฉบับภาษาอังกฤษ โปรด “คลกิ ” ดูได้จากเว็บไซต์ขา้ งล่างน้ี

https://www.twinkl.co.th/teaching-wiki/active-learning

40

จากทัศนะของแหล่งอ้างอิงต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่าการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) สามารถระบลุ กั ษณะที่แสดงถงึ การเรียนรเู้ ชงิ รุก ของบคุ คลได้ ดังนี้

ลักษณะทีแ่ สดงถงึ กำรเรยี นรู้เชิงรกุ Twinkl
(Active Learning) Unta
Silberman
Bonwell
Knight

1. กลา้ ที่จะวจิ ารณ์ √

2. เป็นนักสารวจ √√

3. แกป้ ัญหาในชวี ิตจรงิ √

4. มสี ่วนร่วมอยา่ งแข็งขนั √√√√√

5. ไม่ลดละความพยายาม √√ √√

6. สนกุ กบั การบรรลุส่ิงที่ตง้ั ใจไว้ √√

7. คดิ อย่างกระตอื รือร้นและสร้างสรรค์ √√√

8. เคารพความคิดเห็นของเพื่อนร่วมงาน √√

9. มคี วามอยากรู้อยากเห็น √

10. ไม่กลวั ท่จี ะทาผดิ พลาด √√

11. ทางานรว่ มกนั เพ่ือพัฒนาทกั ษะทางสงั คม √√

12. หาขา่ วสาร ขอ้ มลู และค้นหาคาตอบของคาถาม √

13. นาแนวคิดและทกั ษะกอ่ นหน้ามาใชอ้ ีก √

14. วางแผนเผอื่ สาหรบั อนาคต √

15. นักเรียนมีสว่ นร่วมมากกวา่ การนัง่ ฟังโดยไม่มกี ารโต้ตอบ √√√√

16. ส่งมอบข้อมลู น้อยลง เนน้ พฒั นาทักษะมากข้ึน √√√

17. เน้นสารวจทัศนะคติและคา่ นิยมมากขน้ึ √√√

18. นักเรียนได้รบั ข้อเสนอแนะได้โดยตรงจากเพื่อนหรือผู้สอน √√

19. แรงจงู ใจของนกั เรยี นเพม่ิ ขนึ้ (โดยเฉพาะอย่างย่ิงสาหรบั √√

ผู้เรียนทีเ่ ปน็ ผูใ้ หญ่)

41

ลกั ษณะทีแ่ สดงถึงกำรเรยี นรู้เชงิ รุก Twinkl
(Active Learning) Unta
Silberman
Bonwell
Knight

20. นกั เรียนมีส่วนร่วมในกจิ กรรม (เช่น การอ่าน การอภิปราย √ √ √ √ √

การเขยี น)

21. นักเรียนมีสว่ นรว่ มในการคิดขั้นสงู (การวิเคราะห์ การ √√√√

สงั เคราะห์ การประเมนิ )

22. แสดงความคิดเหน็ และความรู้สึกด้วยวาจา เปน็ ลายลกั ษณ์ √

อักษร ในรูปแบบของภาพ ผลิตภัณฑ์สามมิติ การ

เคล่ือนไหว การเต้น และ/หรือเกม

Source - https://bit.ly/3OXLIg3

42

จากนานาทัศนะเกย่ี วกับลกั ษณะที่แสดงถึงการเรียนรูเ้ ชิงรุก (Active Learning) ดังกล่าว
ขา้ งตน้ ท่านเห็นว่ามีแนวคดิ (Concepts) ท่สี าคัญอะไรบา้ ง ทที่ าให้เข้าใจในลกั ษณะท่แี สดงถงึ การ
เรียนรู้เชงิ รุก น้นั ไดอ้ ย่างกระชับและชดั เจน โปรดระบแุ นวคดิ นน้ั ในภาพทแี่ สดงข้างล่าง

43

Bonwell, C. C. (n.d.). Active Learning: Creating Excitement in the Classroom. Retrieved
July 31, 2021 from

https://www.asec.purdue.edu/lct/HBCU/documents/Active_Learning_Creating_E
xcitement_in_the_Classroom.pdf
Knight, R. D. (2004). Active Learning Strategies. Retrieved July 31, 2021 from

https://www.phy.ilstu.edu/pte/311content/activelearning/activelearning.html
Silberman, M. (2006). 8 Qualities of an Active Learning Environment. Retrieved July

31, 2021 from https://www.ctsnet.edu/eight-qualities-of-an-effective-learning-
experience/
Twinkl. (n.d.). Active learning. Retrieved July 30, 2021 from
https://www.twinkl.co.th/teaching-wiki/active-learning
Unta, S. (2011, July 4). Characteristics of active learning in the classroom. Retrieved
July 30, 2021 from https://weareteacher.blogspot.com/2011/07/characteristics-
of-active-learning-in.html

44

45

หลงั จากการศกึ ษาค่มู ือชดุ นีแ้ ล้ว ท่านมีพัฒนาการด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ซ่ึง
เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาท่ีเกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตาม The Revised
Taxonomy (2001) ของ Benjamin S. Bloom โดยจาแนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเป็น 6 ระดับ
เรียงจากพฤติกรรมที่สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ากว่าไปหาทักษะการคิด
ขั้นสูงกว่า ดังนี้ คือ ความจา (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้
(Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating)
ดังนี้

1. บอกคุณสมบัติ จับคู่ เขียนลาดับ อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จาแนก หรือระบุ
อปุ สรรคและวธิ ีการเอาชนะอุปสรรคการพฒั นาของการเรยี นรเู้ ชงิ รุกได้

2. แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรยี บเรยี งอปุ สรรคและวธิ ีการเอาชนะอุปสรรคการพัฒนาของการเรียนรเู้ ชิงรุกได้

3. แกป้ ัญหา สาธิต ทานาย เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ เปล่ียนแปลง คานวณ หรือปรับปรุง
อปุ สรรคและวิธกี ารเอาชนะอปุ สรรคการพัฒนาของการเรยี นรเู้ ชิงรกุ ได้

4. แยกแยะ จัดประเภท จาแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผลอุปสรรคและ
วิธีการเอาชนะอุปสรรคการพัฒนาของการเรียนรู้เชิงรกุ ได้

5. วัดผล เปรียบเทียบ ตีค่า ลงความเห็น วิจารณ์อุปสรรคและวิธีการเอาชนะอุปสรรค
การพัฒนาของการเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ ได้

6. รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการอุปสรรคและวิธีการ
เอาชนะอุปสรรคการพฒั นาของการเรียนรู้เชงิ รุกได้

46

1. โปรดศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับอุปสรรคและวิธีการเอาชนะอุปสรรคการพัฒนาของการ
เรยี นรู้เชิงรุกจากทัศนะทน่ี ามากล่าวถึงแต่ละทัศนะ

2. หลังจากการศึกษาเน้ือหาโปรดทบทวนความเข้าใจจากคาถามท้ายเน้ือหาของแต่ละ
ทัศนะ

3. ศึกษารายละเอียดของอุปสรรคและวิธีการเอาชนะอุปสรรคการพัฒนาท่ีเป็นต้นฉบับ
ภาษาอังกฤษ โปรด “คลิก” เวบ็ ไซต์ทีน่ าเสนอไว้ท้ายเนื้อหาของแต่ละทัศนะ

Salsich (2018) เป็นครูที่โรงเรียน Plainfield Central School ใน Connecticut ได้
กล่าวถึงอุปสรรคและวิธีการเอาชนะอุปสรรคการพัฒนาของการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ไว้
4 ประการ ดังนี้

1. กำรเรียนรู้เชิงรุกหมำยควำมว่ำมีคำตอบที่ถูกต้องมำกกว่ำหนึ่งข้อ ( Active
Learning Means There is more than One Right Answer)

การเรียนรู้แบบไม่มีปฏิสัมพันธ์มีพ้ืนฐานมาจากความเช่ือที่ว่ามีปัญหาเพียงสองด้าน : ถูก
หรือผดิ และครรู ู้วา่ สง่ิ ไหนถกู และสิ่งไหนผิด นักเรียนมาชั้นเรียนด้วยความคาดหวังในบทบาทของครู
และบทบาทของตัวเองในฐานะนักเรียน

การสร้างวัฒนธรรมของช้ันเรียนที่ให้คุณค่าในการแก้ปัญหาหลายอย่างต้องใช้เวลา การ
สัมมนาเชิงแบบโสคราตีส (เป็นวิธีการสอนท่ีพัฒนาข้ึนโดยโสคราตีส โดยให้นักเรียนเข้ามีส่วนในการ
อภิปรายทางปัญญา โดยการโต้ตอบกับคาถามด้วยคาถาม แทนที่จะเป็นคาตอบ วิธีการนี้จะกระตุ้น
นักเรียนให้คิดเพ่ือตนเองมากกว่าจะคิดตามท่ีบอก) และการอภิปรายในหัวข้อท่ีสร้างขึ้นโดยนักเรียน
เป็นวิธที ี่มีประสทิ ธิภาพสงู ในการเสริมสรา้ งความซาบซ้ึงในมุมมองที่แตกต่างกันมากมาย มองหาผู้นา

47

นักเรียนที่ช่างพูดในระหว่างการสัมมนาแบบโสคราตีส และขอให้พวกเขาฟังและมองหาโอกาสที่จะ
หยุดการสนทนาชัว่ คราวและยอมให้ผู้อนื่ เข้ารว่ มสนทนาช่วงต่อไป

2. กำรเรยี นร้เู ชงิ รุกเสีย่ งเกนิ ไป (Active Learning is too Risky)
เมื่อขอให้นักเรียนเป็นผู้เรียนเชิงรุกระหว่างเรียน ครูกาลังขอให้พวกเขาเส่ียง สิ่งน้ีสร้าง
ความไม่สบายใจให้กับเด็กบางคนและเด็กส่วนใหญ่ อาจพบว่าพวกเขาไม่เต็มใจท่ีจะเข้าร่วมการ
สนทนาและการทางานเป็นกลุ่ม โดยเฉพาะอย่างย่ิงหากพวกเขาไม่สามารถค้นหาคาตอบท่ีชัดเจน
เพียงขอ้ เดียวได้ ครสู ามารถลดการหลกี เลีย่ งความเสยี่ งของนกั เรยี นได้โดย :
- ประเมินกระบวนการเรียนรู้มากกว่าผลงานหรืออย่างน้อยก็แบ่งเป็น 50/50 ใช้แนว
การประเมินแบบรูบริกท่ีให้ความสาคัญกับการแก้ปัญหา การวางแผน และความยืดหยุ่นในระหว่าง
กิจกรรมส่วนใหญ่ โดยเฉพาะในตอนแรกควรใช้แนวการประเมินแบบรูบริกน้ีเพ่ือวัดผลและให้
ขอ้ เสนอแนะเก่ยี วกับกระบวนการเรยี นรู้
- สร้างสภาพแวดลอ้ มที่ปลอดภยั ซง่ึ ความลม้ เหลวเปน็ โอกาสที่จะพยายามและปรับปรุง
ใหม่อีกครั้ง ผู้สอนสามารถส่ือสารสิ่งน้ีในวิธีท่ีทุกคนตอบสนองต่อคาตอบระหว่างการเรียนรู้เชิงรุก
ใหค้ วามสาคญั กบั ความพยายามของพวกเขามากกว่าผลงานของพวกเขา สอนให้พวกเขาฟัง ยอมรับ
ประมวลผล และแกไ้ ขความคิดของนักเรียนคนอน่ื
- จาลองความหมายของการเป็นผู้เรียนเชิงรุกรวมถึงการเส่ียงต่อการทาผิดพลาด ซึ่ง
รวมถึงการเปลยี่ นหลักสตู รระหว่างชัน้ เรยี น การระบวุ ธิ ีท่มี ีประสิทธิภาพในการอานวยความสะดวกใน
การเรียนรู้ในขณะนั้นและการผสมผสานแนวคิดใหม่ๆ ท้ังหมดนี้จะต้องทาให้นักเรียนเห็นว่ามีความ
โปรง่ ใส อธบิ ายวา่ ผูส้ อนกาลังทาอะไรและทาทาไม
3. กำรเรียนรู้เชิงรุกไม่เหมือนกำรเรียนรู้ (Active Learning Doesn't Feel Like
Learning)
การเรียนรู้เชิงรุกมักจะเป็นวิธีการเรียนรู้ที่น่าพึงพอใจอย่างย่ิง แทนท่ีจะเคลื่อนที่เป็น
เสน้ ตรงผ่านหลกั สตู ร การเรยี นรเู้ ชิงรุกจะเน้นท่ีจุดทนี่ กั เรียนอยู่ในประสบการณ์การเรียนรู้ ทาให้พวก
เขาเตบิ โตผา่ นความทา้ ทายท่ชี ้นี าตนเองซึ่งยากแต่ไม่เกินกาลัง เป็นจุดที่นักเรียนหลายคนมองว่าเป็น
เรอื่ งสนกุ อย่างไรก็ตามนักเรียนมักไม่ถือว่าความสนุกเป็นการเรียนรู้จริง ส่วนใหญ่แล้วเนื่องจากการ
เรียนแบบเดิมๆ ได้สอนพวกเขาอย่างชัดเจนว่าโรงเรียนต้องเข้มงวดและน่าเบ่ือหน่ายเพ่ือเตรียมพวก
เขาให้พร้อมสาหรบั การทางานหนักของชีวติ
ดังนัน้ หากนักเรียนดูเหมือนจะเช่ือว่าการเรียนรเู้ ชิงรุกในห้องเรียนมีประสิทธิภาพน้อยกว่า
การเรียนรู้แบบด้ังเดิม พวกเขาอาจสูญเสียแรงจูงใจ และโดยท่ัวไปการรับรู้นี้อาจบ่อนทาลายโอกาสท่ี
ผู้สอนจะประสบความสาเร็จในการเปลีย่ นไปส่กู ารเรียนรู้เชงิ รุกได้สาเรจ็

48

ให้นักเรียนสร้างและปรับปรุงพอร์ตโฟลิโอให้เป็นปัจจุบันเพื่อช่วยให้พวกเขาเห็นว่างานที่
ทาเสร็จแล้วเป็นอย่างไรและมีคุณภาพระดับใด พวกเขาควรเก็บร่างจดหมาย งานวิจัยและเรียงความ
บนั ทึกงานกลมุ่ อีเมลล์ทสี่ ่งและรับ และควรถ่ายรูปงานที่ทา เช่น เกมกระดาน การทดลอง งานระดม
ทนุ ฯลฯ และสาหรับผู้สอนรูปแบบเอกสารที่เรียบง่ายน้ีเป็นวิธีท่ีมีประสิทธิภาพและน่าพึงพอใจที่สุด
สาหรบั นักเรยี น

4. กำรเรียนรู้เชิงรุกต้องใช้ควำมพยำยำมต่ำง ๆ มำกมำย (Active Learning
Requires a Different Kind of Effort)

การทาให้นักเรียนเปล่ียนจากการน่ังฟังเป็นการพูดคุยกัน การทางานซ้าๆ หลายคร้ังและ
ค้นหาวิธีแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพอาจเป็นการเปล่ียนแปลงที่ยากลาบาก การเรียนรู้แบบไม่มี
ปฏิสมั พนั ธท์ าให้เด็กๆ ใชค้ วามคิดในระดบั ตา่ เช่น กาหนด ลอก ลงรายการ ท่องจา ทาซ้า หรือทาอีก
รอบ ในการแนะนาให้นักเรียนรู้จักกับกิจกรรมต่างๆ เช่น การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมิน
การกอ่ สร้าง และการออกแบบ จาเป็นตอ้ งมแี บบแผน

- จัดลาดับความสาคัญของมาตรฐาน นี่เป็นงานที่ทะเยอทะยาน แต่ผลตอบแทน
มหาศาล โดยเริ่มต้นด้วยการจัดลาดับความสาคัญของมาตรฐานระดับการอ่าน การเขียน การพูด
และการฟัง ซ่ึงเด็กๆสามารถเรียนรู้ว่าธีมคืออะไรผ่านการสนทนา แต่พวกเขาจาเป็นต้องรู้วิธีการ
สนทนา ฟัง และพูดคุยกันกอ่ น

- ลดจานวนการประเมิน ให้ข้อเสนอแนะเชิงบรรยายโดยละเอียดเพื่อการปรับปรุง และ
ต้องมีการใช้แบบร่างสาหรับทุกส่ิง หากไม่มีข้อเสนอแนะก็ให้ยกเลิกงานมอบหมาย เพื่อทาให้
นกั เรียนเขา้ ใจชดั เจนว่าผสู้ อนมงุ่ เนน้ ท่คี ณุ ภาพ ไม่ใช่ปริมาณ

หากรู้สึกว่ารูปแบบการเรียนรู้แบบไม่มีปฏิสัมพันธ์แบบดั้งเดิมไม่ได้ผลสาหรับ ผู้สอนหรือ
นักเรียน แสดงว่าผู้สอนไม่ใช่คนเดียวท่ีคิดเช่นนั้น แต่การทาข้ันตอนแรกน้ันอาจเป็นเร่ืองท่ีน่ากลัว
เริ่มจากสิ่งเล็กๆ และมุ่งความสนใจไปท่ีส่ิงกีดขวางเหล่านี้ทีละหน่ึงหรือท้ังหมดทีละน้อย การขัดต่อ
แนวทางการสอนที่เป็นท่ียอมรับนั้นอาจดูน่ากลัว แต่ก็ทาให้ม่ันใจได้เมื่อรู้ว่าการให้นักเรียนมีอานาจ
เหนือทิศทางการเรียนรู้ของพวกเขาไม่ใช่แนวคิดใหม่ อันที่จริงมันมากจากรากเหง้าของการศึกษาท่ี
เก่าแก่ท่ีสุดในประเทศน้ี ดังที่ Ralph Waldo Emerson เขียนไว้ในบทความเร่ือง "การศึกษา
(Education)"

“เชื่อว่าประสบการณ์สอนเราว่าความลับของการศึกษาอยู่ท่ีการเคารพลูกศิษย์ ไม่ใช่
หน้าท่ีของผู้สอนท่ีจะเลือกว่าเขาจะต้องรู้อะไร เขาจะทาอะไร เขาเพียงแต่ต้องถือกุญแจไขความลับ
ของเขาเอง”

49

โปรดทบทวน - อุปสรรคและวิธีการเอาชนะอุปสรรคการพัฒนาของการเรียนรู้
เชิงรกุ จากทศั นะของ Salsich มีสาระสาคัญอะไร ?
…………………………………………………………………………………………….......................
...............................................................................................................................
..................................................................................................................... ............

หมำยเหตุ - ศกึ ษาจากตน้ ฉบับภาษาองั กฤษ โปรด “คลกิ ” ดูได้จากเวบ็ ไซต์ขา้ งลา่ งน้ี

https://www.nextgenlearning.org/articles/moving-from-passive-to-active-learning-four-ways-to-
overcome-student-resistance

Davidson (2019) ผู้ร่วมก่อต้ังและผู้อานวยการของ HASTAC และเป็นศาสตราจารย์
พิเศษ ได้กล่าวถึงอุปสรรคและวิธีการเอาชนะอุปสรรคการพัฒนาของการเรียนรู้เชิงรุก ( Active
Learning) ไวด้ งั นี้

รู้สึกทึ่งกับวิธีที่เม่ือใดก็ตามท่ีพูดถึงการเรียนรู้เชิงรุก ครั้งหน่ึงเคยไปท่ีชั้นเรียนของเพ่ือน
ร่วมงาน เขาเตือนฉันกอ่ นเริ่มช้ันเรียนว่า "นักเรียนเหล่าน้ีไม่เคยพูดคุยในชั้นเรียนและไม่อ่านหนังสือ
แตฉ่ ันให้ลองทากิจกรรม Think-Pair-Share และรู้สึกประหลาดใจท่ีพบว่าพวกเขามีส่วนร่วมมากและ
ชัดเจนได้ว่า อันท่ีจริงพวกเขาได้อ่านมาหมดแล้ว ดังนั้นฉันจึงลองให้ทาแบบฝึก "การเรียนรู้เชิงรุก"
ผลปรากฏว่าพวกเขาพูดเก่ง ฉลาด มีส่วนร่วมกับคนอื่น และผ่านไป 1 สัปดาห์ ได้สอบถามเพื่อน
ศาสตราจารย์วา่ "ตอนน้ีห้องเรียนเป็นอย่างไรบ้าง?" เขาตอบว่า "พวกเขาไม่พูด ไม่อ่าน พวกเขาไม่มี
สว่ นร่วม แต่ฉนั ไมโ่ ทษศาสตราจารย์จรงิ ๆ เปน็ เวลาเกอื บ 200 ปีท่ีศาสตราจารย์ไม่เคยได้รับการสอน
เก่ียวกับการวิจัยหรือเทคนิคการสอน พวกเขาได้รับการสอนโดยปริยายว่าการสอนที่ดีคือการ
เลียนแบบครูของพวกเขา ทงั้ จากบนลงล่าง ทางเดียว การศึกษาแบบฝากธนาคาร (Banking Model)
ในการบรรยาย และในการสัมมนา สิ่งเหล่าน้ีเป็นวิธีที่ด้อยในการเรียนรู้และนาไปสู่การเลียนแบบการ
ปฏิบัติเป็นอาชีพ นี่คือเหตุผลที่พวกเรากาลังเขียนเกี่ยวกับวิธีการ ทีละขั้นตอนสาหรับทุกๆ ส่วนของ
การวางแผนหลกั สตู ร การสอน การใหเ้ กรด ไอเดีย

50

มีงานวิจัยมากมายเก่ียวกับความสาเร็จของการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อจูงใจ การนาไปใช้ การคง
ความรู้ไวใ้ นภายหลัง---แต่พวกเราไม่มใี ครไดร้ บั การฝึกอบรมให้สอนในลักษณะนี้ การยอมทิ้งสิ่งท่ีเคย
ได้เรียนรู้ (Unlearn) เป็นเร่ืองยากสาหรับศาสตราจารย์เช่นเดียวกับนักเรียนของเรา โดยเฉพาะเมื่อ
โครงสร้างการให้รางวัลออกแบบมาสาหรับลาดับช้ัน (Hierachy) ตอนน้ีโครงสร้างการให้รางวัลของ
สถาบันการศึกษาข้ึนอยู่กับคะแนนการทดสอบที่ไม่ใช่ผลของเรียนรู้ และระบบการให้รางวัลสาหรับ
คณาจารย์จะขึ้นอยู่กับผลงาน (เรียงความที่เพ่ือนรีวิวให้ จานวนทุนสนับสนุน) ไม่มีแรงจูงใจให้
ศาสตราจารยใ์ ช้เวลาในการเรียนรวู้ ธิ ีใหมๆ่

หลักสูตรบัณฑิตศึกษาท่ีต้องการให้นักเรียนประสบความสาเร็จควรเป็นการสอนจาก
ประสบการณ์ท่ีดี โต้ตอบได้ จริงจัง และมีส่วนร่วมอย่างกระตือรือร้นในการเป็นครูที่ดี สถาบันที่
ต้องการการสอนท่ีมีส่วนร่วม น่าต่ืนเต้น และสร้างแรงบันดาลใจ จะต้องปรับโครงสร้างการให้รางวัล
เพ่ือให้การพฒั นาทางวิชาชีพท่ีแทจ้ รงิ มกี ารเจรญิ เติบโต

โปรดทบทวน - อุปสรรคและวิธีการเอาชนะอุปสรรคการพัฒนาของการเรียนรู้
เชงิ รกุ จากทัศนะของ Davidson มสี าระสาคญั อะไร ?
…………………………………………………………………………………………….......................
...............................................................................................................................
...................................................................................... ...........................................

หมำยเหตุ - ศึกษาจากตน้ ฉบับภาษาองั กฤษ โปรด “คลกิ ” ดูไดจ้ ากเวบ็ ไซต์ข้างลา่ งน้ี

https://www.hastac.org/blogs/cathy-davidson/2019/08/25/how-overcome-resistance-active-learning-
your-own-your-students-your

Source - https://bit.ly/3OSSLXD


Click to View FlipBook Version