1. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มีผลบังคับใช วันใด ก. 17 กุมภาพันธ พ.ศ. 2496 ข. 18 กุมภาพันธ พ.ศ. 2496 ค. 27 กุมภาพันธ พ.ศ. 2496 ง. 7 มีนาคม พ.ศ. 2496 ตอบ ข. 18 กุมภาพันธ พ.ศ. 2496 มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให ใช บังคับตั้งแต วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป นต น ไป 2. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 ให ยกเลิก พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.ใด ก. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2484 ข. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2485 ค. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2486 ง. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2487 ตอบ ค. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2486 มาตรา 3 ให ยกเลิกพระราชบัญญัติเทศบาลพุทธศักราช 2486 และบรรดากฎหมาย กฎ ข อบังคับอื่นๆ ในส วนที่บัญญัติไว แล วในพระราชบัญญัตินี้หรือซึ่งแย งกับบทแห งพระราชบัญญัตินี้
3. เทศบาลตำบลได แก ท องถิ่นที่มีการประกาศกระทรวงมหาดไทย ยกฐานะขึ้นเป นเทศบาลตำบล ประกาศกระทรวงมหาดไทยนั้น ให ระบุถึงอะไรไว ด วยข อใดต อไปนี้กล าวถูกต อง ก. ชื่อ ข. เขตเทศบาล ค. ชื่อและเขตเทศบาล ง. ชื่อนายกเทศบาล ตอบ ค. ชื่อและเขตเทศบาล มาตรา 9 เทศบาลตำบล ได แก ท องถิ่นซึ่งมีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะขึ้นเป น เทศบาลตำบล ประกาศกระทรวงมหาดไทยนั้นให ระบุชื่อเทศบาลไว ด วย 4. เทศบาลเมือง ได แก ท องถิ่นอันเป นที่ตั้งศาลกลางจังหวัดหรือท องถิ่นที่มีราษฎรตั้งแต กี่คนขึ้นไป ก. 5,000 คน ข. 10,000 คน ค. 15,000 คน ง. 20,000 คน ตอบ ข. 10,000 คน มาตรา 10 เทศบาลเมือง ได แก ท องถิ่นอันเป นที่ตั้งศาลกลางจังหวัด หรือท องถิ่นชุมชนที่มีราษฎร ตั้งแต หนึ่งหมื่นคนขึ้นไป ทั้งมีรายได พอควรแก การที่จะปฏิบัติหน าที่อันต องทำตามพระราชบัญญัติ และ ซึ่งมีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเป นเทศบาลเมืองประกาศกระทรวงมหาดไทยนั้นให ระบุชื่อและ เขตของเทศบาลไว ด วย
5. เทศบาล ได แก ท องถิ่นที่มีราษฎรตั้งแต กี่คนขึ้นไป ก. 20,000 คน ข. 30,000 คน ค. 15,000 คน ง. 50,000 คน ตอบ ง. 50,000 คน มาตรา 11 เทศบาลนคร ได แก ท องถิ่นชุมชนที่มีราษฎรตั้งแต ห าหมื่นคนขึ้นไป โดยราษฎร ตั้งแต ห าหมื่นคนขึ้นไปมีรายได พอควรแก การที่จะปฏิบัติหน าที่อันต องทำตามพระราชบัญญัติและซึ่งมี ประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเป นเทศบาลนคร ประกาศกระทรวงมหาดไทยนั้นให ระบุชื่อและเขต เทศบาลไว ด วย 6. การเปลี่ยนชื่อเทศบาลหรือเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลให กระทำโดยประกาศเป น ก. ประกาศกฎกระทรวง ข. เทศบัญญัติ ค. พระราชกำหนด ง. ประกาศกระทรวงมหาดไทย ตอบ ง. ประกาศกระทรวงมหาดไทย มาตรา 12 ภายในบังคับมาตรา 9 มาตรา 10 และมาตรา 11 การเปลี่ยนชื่อเทศบาลนคร หรือการเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาล ให กระทำโดยประกาศกระทรวงมหาดไทย
7. ผู มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลในเขตเทศบาลใดจำนวนไม น อยกว าเท าใดของจำนวนผู มี สิทธิเลือกตั้ง มีสิทธิลงชื่อร องขอให จัดทำประชามติว าจะใช รูปแบบคณะเทศมนตรีหรือนายกเทศมนตรี ก. หนึ่งในสี่ ข. สองในสาม ค. สามในห า ง. ไม มีข อใดถูก ตอบ ก. หนึ่งในสี่ ผู มีสิทธิเลือกตั้งสภาเทศบาลในเขตเทศบาลใดจำนวนไม น อยกว าหนึ่งในสี่ของจำนวนผู มีสิทธิ เลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลในเขตเทศบาลนั้นมีสิทธิเข าชื่อร องขอต อคณะกรรมการการเลือกตั้งเพื่อให จัดทำประชามติในเขตเทศมนตรีผลของประชามติให นำมาใช เมื่อมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลเป น การทั่วไปในคราวถัดไปจากวันที่มีการออกเสียงประชามติ และให ใช รูปแบบการบริหารตามผลประชามติ นั้นตลอดไปจนกว าจะมีการออกเสียงประชามติของผู มีสิทธิอย างอื่น 8. สภาเทศบาลประกอบด วยสมาชิกสภาเทศบาลซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตาม กฎหมายว าด วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท องถิ่นหรือผู บริหารท องถิ่นตามจำนวน ข อใดต อไปนี้กล าว ถูกต อง ก. สภาเทศบาลตำบล ประกอบด วยสมาชิกจำนวนสิบสองคน ข. สภาเทศบาลเมือง ประกอบด วยสมาชิกจำนวนสิบแปดคน ค. สภาเทศบาล ประกอบด วยสมาชิกจำนวนยี่สิบสี่คน ง. ถูกทุกข อ ตอบ ง. ถูกทุกข อ มาตรา 15 สภาเทศบาลประกอบด วยสมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้งขึ้นตามกฎหมายว าด วยการ เลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตามกฎหมายว าด วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท องถิ่นหรือผู บริหารท องถิ่น ตามจำนวนดังต อไปนี้ 1) สภาเทศบาลตำบล ประกอบด วยสมาชิกจำนวนสิบสองคน
2) สภาเทศบาลเมือง ประกอบด วยสมาชิกจำนวนสิบแปดคน 3) สภาเทศบาล ประกอบด วยสมาชิกจำนวนยี่สิบสี่คน 9. สมาชิกสภาเทศบาลให อยู ในตำแหน งคราวละกี่ป ก. 2 ป ข. 4 ป ค. 6 ป ง. 9 ป ตอบ ข. 4 ป มาตรา 16 สมาชิกสภาเทศบาลให อยู ในตำแหน งได คราวละสี่ป นับแต วันเลือกตั้ง ถ าตำแหน ง สมาชิกสภาเทศบาลว าลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระหรือมีการยุบสภาให เลือกตั้งสมาชิก สภาเทศบาลขึ้นแทนตามกฎหมายว าด วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท องถิ่นหรือผู บริหารท องถิ่น 10. สภาเทศบาลมีประธานคนหนึ่ง และรองประธาน ซึ่งผู ว าราชการจังหวัดแต งตั้งจากสมาชิกสภา เทศบาลตามมติสภาเทศบาลกี่คน ก. 1 คน ข. 2 คน ค. 3 คน ง. 4 คน ตอบ ก. 1 คน มาตรา 20 สภาเทศบาลมีประธานสภาคนหนึ่งและรองประธานสภาคนหนึ่ง และรอง ประธานสภาคนหนึ่ง ซึ่งผู ว าราชการจังหวัดแต งตั้งจากสมาชิกสภาเทศบาลตามมติของสภาเทศบาล ประธานสภาเทศบาลและรองประธานสภาเทศบาลดำรงตำแหน งจนครบอายุของสภาเทศบาล
11. ในกรณีที่ตำแหน งประธานสภาหรือรองประธานสภาว างลง เพราะเหตุใดเหตุหนึ่งตาม มาตรา 20 ทวิ ให สภาเทศบาลเลือกสมาชิกสภาเทศบาลขึ้นแทนตำแหน งที่ว างลง ก. 10 ข. 15 ค. 20 ง. 30 ตอบ ข. 15 มาตรา 22 ในเมื่อประธานและรองประธานสภาเทศบาลไม อยู ในที่ประชุม ให สมาชิกสภา เทศบาลเลือกตั้งกันเองเป นประธานเฉพาะในคราวประชุมนั้น 12. หน วยงานใดเป นผู วางระเบียบข อบังคับการประชุมสภาเทศบาล ก. กระทรวงมหาดไทย ข. สภาเทศบาลเมือง ค. สภาเทศบาลนคร ง. ไม มีข อใดถูก ตอบ ก. กระทรวงมหาดไทย มาตรา 23 ให กระทรวงมหาดไทยวางระเบียบข อบังคับการประชุมสภาเทศบาลไว
13. ในป หนึ่งให มีสมัยประชุมสามัญสภาเทศบาลกี่สมัย ก. 2 สมัย ข. 3 สมัย ค. 4 สมัย ง. 5 สมัย ตอบ ค. 4 สมัย มาตรา 24 ในป หนึ่งให มีสมัยประชุมสามัญสี่สมัย สมัยประชุมครั้งแรกและประชุมสมัย สามัญประจำป ให สภาเทศบาลกำหนด ผู ว าราชการจังหวัดต องกำหนดให สมาชิกสภาเทศบาลได มาประชุมสภาเทศบาลครั้งแรก ภายในสิบห าวันแต วันประกาศผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลครบตามจำนวนแล วและให ที่ประชุม เลือกประธานสภาเทศบาลและรองประธานสภาเทศบาล กรณีที่สภาเทศบาลไม อาจจัดให มีการประชุมครั้งแรกได ตามกำหนดเวลาในวรรคสองหรือมี การประชุมสภาเทศบาลแต ไม อาจเลือกประธานสภาเทศบาล 14. กรณีที่สภาเทศบาลไม อาจจัดให มีการประชุมครั้งแรกได ตามกำหนด เวลาในวรรคสองหรือมีการ ประชุมสภาเทศบาลไม อาจเลือกประธานสภาเทศบาลได ผู ว าราชการจังหวัดอาจเสนอรัฐมนตรีว าการ กระทรวงมหาดไทยมีคำสั่งใด ก. กำหนดวันประชุมใหม ข. แต งตั้งประธานและรองประธาน ค. ยุบสภาเทศบาล ง. ไม มีข อใดถูก ตอบ ค. ยุบสภาเทศบาล
กรณีที่สภาเทศบาลไม อาจจัดให มีการประชุมครั้งแรกได ตามกำหนดเวลาในวรรคสองหรือมี การประชุมสภาเทศบาลไม อาจเลือกประธานสภาเทศบาลได ผู ว าราชการจังหวัดอาจเสนอรัฐมนตรีว าการ กระทรวงมหาดไทยมีคำสั่งยุบสภาเทศบาล 15. ในการประชุมสภาเทศบาลในสมัยหนึ่งๆ ให มีกำหนดไม เกินกี่วัน ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน ตอบ ข. 30 วัน สมัยประชุมสมัยหนึ่งๆ ให มีกำหนดไม เกินสามสิบวัน แต ถ าจะขยายเวลาออกไปอีกจะต อง ได รับอนุญาตจากผู ว าราชการจังหวัด ข อสอบ พรบ.บริหารงานบุคคล 1.พระราชบัญญัตินี้ให ไว ณ. วันใด ก.วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 ข.วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 ค.วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 ง.วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 ตอบ ค.
2.พระราชบัญญัติขึ้นไว โดยคำแนะนำและยินยอมของใคร ก.รัฐสภา ข.นิติบัญญัติ ค.วุฒิสภา ง.นิติบัญญัติแห งชาติ ตอบ ก. 3.พระราชบัญญัตินี้ให ใช บังคับเมื่อใด ก.วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป นต นไป ข.วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาหกสิบวัน ค.วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเก าสิบวัน ง.วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาหนึ่งร อยยี่สิบวัน ตอบ ก. 4.ข อใดถูกต องเกี่ยวกับ พนักงานส วนท องถิ่น ก.องค การบริหารส วนจังหวัด ข.พนักงานเทศบาล ค.พนักงานส วนตำบล ง.ถูกทุกข อ ตอบ ง. 5.ข อใดกล าวผิดเกี่ยวกับ องค กรปกครองส วนท องถิ่น ก.กรุงเทพมหานคร ข.บริษัทมหาชน ค.เมืองพัทยา ง.เทศบาล ตอบ ก.
6.ใครเป นผู รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ก.รัฐมนตรีว าการกระทรวงการคลัง ข.รัฐมนตรี ค.รัฐมนตรีว าการกระทรวงมหาดไทย ง.นายกรัฐมนตรี ตอบ ค. 7.ข อใดกล าวถูกต องเกี่ยวกับ “คณะกรรมการข าราชการ องค การบริหารส วนจังหวัด” ก.ผู ว าราชการจังหวัด ข.หัวหน าส วนราชการประจำหวัด ค.ผู แทนองค การบริหารส วนจังหวัด ง.ถูกทุกข อ ตอบ ง. อธิบายเพิ่มเติม มาตรา 5 ในองค การบริหารส วนจังหวัดแต ละแห ง ให มีคณะกรรมการข าราชการ องค การ บริหารส วนจังหวัดคณะหนึ่ง ประกอบด วย (1) ผู ว าราชการจังหวัดเป นประธาน (2) หัวหน าส วนราชการประจำหวัดจำนวนสามคนจากส วนราชการใน จังหวัดนั้น ซึ่งผู ว าราชการจังหวัด ประกาศกำหนดว าเป นส วนราชการที่เกี่ยวข อง ทั้งนี้ในกรณี จำเป นเพื่อประโยชน ในการบริหารงานบุคคล ผู ว าราชการจังหวัดจะประกาศเปลี่ยนแปลงการกำหนดส วนราชการที่เกี่ยวข องเมื่อใดก็ได (3) ผู แทนองค การบริหารส วนจังหวัดจำนวนสี่คน ประกอบด วย นายกองค การ บริหารส วนจังหวัด สมาชิกสภาองค การบริหารส วนจังหวัดซึ่งสภาองค การบริหารส วนจังหวัด คัดเลือกจำนวนหนึ่งคน ปลัด องค การบริหารส วนจังหวัด และผู แทนข าราชการองค การบริหาร ส วนจังหวัดซึ่งคัดเลือกกันเองจำนวน หนึ่งคน (4) ผู ทรงคุณวุฒิจำนวนสี่คน ซึ่งคัดเลือกจากบุคคลซึ่งมีความรู ความเชี่ยวชาญ ในด านการบริหารงาน ท องถิ่น ด านการบริหารงานบุคคล ด านระบบราชการ ด านการบริหารและ การจัดการหรือด านอื่นที่จะเป น ประโยชน แก การบริหารงานบุคคลขององค การบริหารส วนจังหวัด 8.ใครมีหน าที่ดำเนินการจัดให มีการคัดเลือกผู แทนข าราชการ องค การบริหารส วนจังหวัด ก.ผู ว าราชการจังหวัด ข.ปลัดองค การบริหารส วนจังหวัด ค.องค การบริหารส วนจังหวัด ง.) ผู แทนองค การบริหารส วนจังหวัด
ตอบ ก. 9.ใครเป นเลขานุการคณะกรรมการข าราชการ องค การบริหารส วนจังหวัด ก.ผู ว าราชการจังหวัด ข.ปลัดองค การบริหารส วนจังหวัด ค.องค การบริหารส วนจังหวัด ง.) ผู แทนองค การบริหารส วนจังหวัด ตอบ ข. แนวข อสอบ พรบ.กระจายอำนาจ 1.พระราชบัญญัติให ไว ณ. วันใด ก.วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ.2542 ข.วันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ.2542 ค.วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ.2542 ง.วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ.2542 ตอบ ก. 2.พระราชบัญญัติขึ้นไว โดยคำแนะนำและยินยอมของใคร ก.นิติบัญญัติ ข.วุฒิสภา ค.รัฐสภา ง.รัฐสภาแห งชาติ ตอบ ค. 3.พระราชบัญญัตินี้ให ใช บังคับตั้งแต วันถัดจากวันประกาศ ก.วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป นต นไป ข.วันถัดจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา หนึ่งร อยยี่สิบวัน ค.วันถัดจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา หนึ่งร อยสามสิบวัน ง.วันถัดจากประกาศในราชกิจจานุเบกษาหนึ่งร อยแปดสิบวัน ตอบ ก. 4.ใครเป นผู รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ก.นายกรัฐมนตรี ข.รัฐมนตรีว าการกระทรวงการคลัง ค.รัฐมนตรีว าการกระทรวงมหาดไทย
ง.ถูกทุกข อ ตอบ ง. 5. “องค กรปกครองส วนท องถิ่น” หมายถึงข อใด ก.องค การบริหารส วนจังหวัดเทศบาล ข.กรุงเทพมหานคร ค.เมืองพัทยา ง.ถูกทุกข อ ตอบ ง. 6.ข อใดคือ คณะกรรมการการกระจายอำนาจองค กรปกครองส วนท องถิ่น” Advertisement ก.นายกรัฐมนตรี ข.รัฐมนตรีว าการกระทรวงมหาดไทย ค.ผู แทนองค กรปกครองส วนท องถิ่น ง. ถูกทุกข อ ตอบ ง. 7.ผู ทรงคุณวุฒิต องมีความรู ความเชี่ยวชาญใน ด านใด ก.ด านการบริหารราชการแผ นดิน ข.ด านการพัฒนาท องถิ่น ค.ด านกฎหมาย ง. ถูกทุกข อ ตอบ ง. 8.ใครเป นเลขานุการคณะกรรมการองค กรปกครองส วนท องถิ่น ก.หัวหน าสำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจ ข.ผู แทนองค กรปกครองส วนท องถิ่น ค.ปลัดกระทรวงการคลัง ง.อธิบดีกรมการปกครอง ตอบ ก. 9.ผู แทนองค กรปกครองส วนท องถิ่นจะพ นจากตำแหน งเมื่อใด ก.เมื่อเป นสมาชิกสภาท องถิ่นหรือผู บริหารท องถิ่น ข.เมื่อตาย ค.เมื่อลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต อประธานกรรมการ ง.เมื่อดำรงตำแหน งทางการเมือง ตอบ ค.
10.ผู แทนองค กรปกครองส วนท องถิ่นมีวาระอยู ในตำแหน งคราวละกี่ป ก.สองป ข.สามป ค.สี่ป ง.หกป ตอบ ค. 11.จากข อ 10.ผู แทนองค กรปกครองส วนท องถิ่น อาจได รับ สรรหาเป นกรรมการอีกได ไม เกินกี่วาระ ติดต อกัน ก. หนึ่งวาระ ข.สองวาระ ค.สามวาระ ง.สี่วาระ ตอบ ข. 12.ผู ทรงคุณวุฒิพ นจากตำแหน งเมื่อใด ก.ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต องห าม ข.ได รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให จำคุก ค.เป นบุคคลล มละลาย ง.ถูกทุกข อ ตอบ ง. อธิบายเพิ่มเติม มาตรา 10 นอกจากการพ นจากตำแหน งตามวาระกรรมการผู ทรงคุณวุฒิพ นจาก ตำแหน งเมื่อ (1) ตาย (2) ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต อประธานกรรมการ (3) เป นบุคคลล มละลาย (4) เป นคนไร ความสามารถหรือคนเสมือนไร ความสามารถ (5) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต องห ามตามมาตรา ๗ (6) ได รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให จำคุก 13.ข อใดเป น อำนาจและหน าที่ของคณะกรรมการ ก.จัดทำแผนการกระจายอำนาจให แก องค กรปกครองส วนท องถิ่น ข.กำหนดการจัดระบบการบริการสาธารณะตามอำนาจและหน าที่ระหว างรัฐกับองค กรสำนักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกา ค.ปรับปรุงสัดส วนภาษีและอากร ง.ถูกทุกข อ
ตอบ ง. แนวข อสอบ บริหารกิจการบ านเมืองที่ดี 1. พระราชกฤษฎีการว าด วยหลักเกณฑ และวิธีการบริหารกิจการบ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ได ตราขึ้นตาม กฎหมายใด ก. รัฐธรรมนูญแห งราชอาณาจักรไทยและพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ข. รัฐธรรมนูญแห งราชอาณาจักรไทยและพระราชบัญญัติข าราชการพลเรือน ค. รัฐธรรมนูญแห งราชอาณาจักรไทยและพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ นดิน ง. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ นดินและพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง ตอบ “ข อ ค. รัฐธรรมนูญแห งราชอาณาจักรไทยและพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ นดิน” อธิบายตาม พระราชกฤษฎีกาว าด วยหลักเกณฑ และวิธีการบริหารกิจการบ านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล าฯ ให ประกาศว า โดยที่เป นการสมควรกําหนดหลักเกณฑ และวิธีการบริหารกิจการบ านเมืองที่ดี อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 221 ของรัฐธรรมนูญแห งราชอาณาจักรไทยประกอบกับมาตรา 3/1 และมาตรา 71/10 (5) แห งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่งแก ไขเพิ่มเติม โดย พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล าฯให ตราพระ ราชกฤษฎาขึ้นไว **********************************
2. ในทางปฏิบัติราชการส วนใด จะปฏิบัติเมื่อใดต องมีเงื่อนไขอย างไร ใครเป นผู กําหนดให ปฏิบัติตามพระ ราช กฤษฎีกานี้ ก. คณะรัฐมนตรี ข.นายกรัฐมนตรี ค. รัฐมนตรีว าการกระทรวงนั้น ง.ถูกทุกข อ ตอบ “ข อ ก. คณะรัฐมนตรี” อธิบายตาม พระราชกฤษฎีกาว าด วยหลักเกณฑ และวิธีการบริหารกิจการบ านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มาตรา 3 การปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกานี้ในเรื่องใดสมควรที่ส วนราชการใดจะปฏิบัติเมื่อใด และ จะต องมีเงื่อนไขอย างใด ให เป นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด ฯ ********************************** 3. หน วยงานใดมีหน าที่ให ข อเสนอแนะ (คณะรัฐมนตรี) ก อนปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาในการที่จะให ส วน ราชการปฏิบัติเมื่อใด และจะมีต องมีเงื่อนไขอย างใด ก. สํานักงบประมาณ ข.คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ค. ก.พ. ง. สํานักนายกรัฐมนตรี ตอบ “ข อ ข. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ” รวบรวมนําเผยแพร โดย ประพันธ เวารัมย เจ าหน าที่วิเคราะห นโยบายและแผน 6 ว เทศบาลตําบลนาป า แซง อ.ปทุมราชวงศา จ.อํานาจเจริญ หน า 2
อธิบายตาม พระราชกฤษฎีกาว าด วยหลักเกณฑ และวิธีการบริหารกิจการบ านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มาตรา 3 การปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกานี้ในเรื่องใดสมควรที่ส วนราชการใดจะปฏิบัติเมื่อใด และ จะต องมีเงื่อนไขอย างใด ให เป นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนดตามข อเสนอแนะของก.พ.ร. ********************************** 4. คําว า “ส วนราชการ” ตามความหมายพระราชกฤษฎีกาว าด วยหลักเกณฑ และวิธีการบริหารกิจการ บ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 นั้นให ความหมายถึงส วนราชการตามกฎหมายใด ก. ตามกฎหมายว าด วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ข. ตามกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ นดิน ค. ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ และกฎหมายองค กรปกครองส วนท องถิ่น ง. ถูกทุกข อ ตอบ “ข อ ก. ตามกฎหมายว าด วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม” อธิบายตาม พระราชกฤษฎีกาว าด วยหลักเกณฑ และวิธีการบริหารกิจการบ านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มาตรา 4 ในพระราชกฤษฎีกานี้ “ส วนราชการ” หมายความว า ส วนราชการตามกฎหมายว าด วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และ หน วยงานอื่นของรัฐที่อยู ในกํากับของราชการฝ ายบริหาร แต ไม รวมถึงองค กรปกครองส วนท องถิ่น **********************************
5. การบริหารกิจการบ านเมืองที่ดีนั้น จะต องบริหารราชการให บรรลุเป าหมายทั้งหมดกี่ประการ ข อใด กล าว ถูกต อง ก. 5 ประการ ข. 6 ประการ ค. 7 ประการ ง. ขึ้นอยู มติคณะรัฐมนตรีหรือนโยบายรัฐบาล ตอบ “ข อ ค. 7 ประการ” อธิบายตาม พระราชกฤษฎีกาว าด วยหลักเกณฑ และวิธีการบริหารกิจการบ านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มาตรา 6 การบริหารกิจการบ านเมืองที่ดี ได แก การบริหารราชการเพื่อบรรลุเป าหมายดังต อไปนี้ 1. เกิดประโยชน สุขของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต อภารกิจของรัฐ 3. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ มค าในเชิงภารกิจของรัฐ 4. ไม มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจําเป น 5. มีการปรับปรุงภารกิจของส วนราชการให ทันต อสถานการณ 6. ประชาชนได รับการอํานวยความสะดวกและได รับการตอบสนองความต องการ 7. มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย างสม ําเสมอ ********************************** 6. การบริหารกิจการบ านเมืองที่ดีนั้น เป าหมายสูงสุดคือข อใด ก. ไม มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจําเป น ข. มีการปรับปรุงภารกิจของส วนราชการให ทันต อสถานการณ
รวบรวมนําเผยแพร โดย ประพันธ เวารัมย เจ าหน าที่วิเคราะห นโยบายและแผน 6 ว เทศบาลตําบลนาป า แซง อ.ปทุมราชวงศา จ.อํานาจเจริญ หน า 3 ค. ประชาชนได รับการอํานวยความสะดวกและได รับการตอบสนองความต องการ ง. เกิดประโยชน สุขของประชาชน ตอบ “ข อ ง. เกิดประโยชน สุขของประชาชน” อธิบายตาม พระราชกฤษฎีกาว าด วยหลักเกณฑ และวิธีการบริหารกิจการบ านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มาตรา 6 การบริหารกิจการบ านเมืองที่ดี ได แก การบริหารราชการเพื่อบรรลุเป าหมายดังต อไปนี้ 1. เกิดประโยชน สุขของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต อภารกิจของรัฐ 3. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ มค าในเชิงภารกิจของรัฐ 4. ไม มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจําเป น 5. มีการปรับปรุงภารกิจของส วนราชการให ทันต อสถานการณ 6. ประชาชนได รับการอํานวยความสะดวกและได รับการตอบสนองความต องการ 7. มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย างสม ําเสมอ ********************************** 7. การบริหารราชการเพื่อให เกิดประโยชน สุขของประชาชน หมายถึงการปฏิบัติราชการที่มีเป าหมายตาม ข อ ใด ก. เกิดความผาสุกและความเป นอยู ที่ดีของประชาชน ข. เกิดความสงบและปลอดภัยของสังคมส วนรวม
ค. เกิดประโยชน สูงสุดของประเทศ ง. ถูกทุกข อ ตอบ “ข อ ง. ถูกทุกข อ” อธิบายตาม พระราชกฤษฎีกาว าด วยหลักเกณฑ และวิธีการบริหารกิจการบ านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มาตรา 7 การบริหารราชการเพื่อประโยชน สุขของประชาชน หมายถึงการปฏิบัติราชการที่มีเป าหมาย เพื่อให เกิดความผาสุกและความเป นอยู ที่ดีของประชาชน ความสงบและปลอดภัยของสังคมส วนรวม ตลอดจน ประโยชน สูงสุดของประเทศ ********************************** 8. ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน สุขของประชาชน ส วนราชการจะต องดําเนินการโดยถืออะไรเป น ศูนย กลางในการบริการจากรัฐ ก. นโยบายประเทศ ข. สังคมและชุมชน ค. ผู นําและประชาชน ง. ประชาชน ตอบ “ข อ ง. ประชาชน” อธิบายตาม พระราชกฤษฎีกาว าด วยหลักเกณฑ และวิธีการบริหารกิจการบ านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มาตรา 8 ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน สุขของประชาชน ส วนราชการจะต องดําเนินการโดยถือว า ประชาชนเป นศูนย กลางที่จะได รับบริการจากรัฐ และจะต องมีแนวทางการบริหารราชการ ฯ **********************************
รวบรวมนําเผยแพร โดย ประพันธ เวารัมย เจ าหน าที่วิเคราะห นโยบายและแผน 6 ว เทศบาลตําบลนาป า แซง อ.ปทุมราชวงศา จ.อํานาจเจริญ หน า 4 9. ในการกําหนดภารกิจของรัฐและส วนราชการจะต องเป นไปเพื่อวัตถุประสงค ความสุขของประชาชนและ สอดคล องตามข อใด ก. สอดคล องกับยุทธศาสตร และวิสัยทัศน การพัฒนาประเทศ ข. สอดคล องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห งชาติ ค. สอดคล องกับรัฐธรรมนูญแห งราชอาณาจักรไทยและที่ก.พ.ร.กําหนด ง. สอดคล องกับแนวนโยบายแห งรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรี ตอบ “ข อ ง. สอดคล องกับแนวนโยบายแห งรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรี” อธิบายตาม พระราชกฤษฎีกาว าด วยหลักเกณฑ และวิธีการบริหารกิจการบ านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มาตรา 8 ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน สุขของประชาชน ส วนราชการจะต องดําเนินการโดยถือว า ประชาชนเป นศูนย กลางที่จะได รับบริการจากรัฐ และจะต องมีแนวทางการบริหารราชการดังต อไปนี้ (1) การกําหนดภารกิจของรัฐและส วนราชการต องเป นไปเพื่อวัตถุประสงค ตามมาตรา 7 และ สอดคล องกับแนวทางนโยบายแห งรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต อรัฐสภา (2) การปฏิบัติภารกิจของส วนราชการต องเป นโดยซื่อสัตย สุจริต สามารถตรวจได และมุ งให เกิด ประโยชน สุขแก ประชาชนทั้งในระดับประเทศและท องถิ่น (3) ก อนดําเนินการ ส วนราชการต องจัดให มีการศึกษาวิเคราะห ผลดีและผลเสียให ครบถ วนทุก ด าน กําหนดขั้นตอนการดําเนินการที่โปร งใส มีกลไกตรวจสอบการดําเนินการในแต ละขั้นตอน ในกรณีที่ ภารกิจใด
จะมีผลกระทบต อประชาชน ส วนราชการต องดําเนินการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนหรือชี้แจงทํา ความเข าใจ เพื่อให ประชาชนได ตระหนักถึงประโยชน ที่ส วนรวมจะได รับภารกิจนั้น (4) ให เป นหน าที่ของข าราชการที่จะต องคอยรับฟ งความคิดเห็นและความพึงพอใจของสังคม โดยรวมและประชาชนผู รับบริการ เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะต อผู บังคับบัญชา เพื่อให มีการปรับปรุงวิธี ปฎิบัติ ราชการให เหมาะสม (5) ในกรณีที่เกิดป ญหาและอุปสรรคจากการดําเนินการ ให ส วนราชการดําเนินการแก ไขป ญหา และอุปสรรคนั้นโดยเร็ว ในกรณีที่ป ญหาหรืออุปสรรคนั้นเกิดขึ้นจากส วนราชการอื่นหรือระเบียบข อบังคับ ที่ออก โดยส วนราชการอื่น ให ส วนราชการแจ งให ส วนราชการที่เกี่ยวข องทราบ เพื่อดําเนินการแก ไขปรับปรุง โดยเร็วต อไป และแจ งให ก.พ.ร.ทราบด วย การดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ให ส วนราชการกําหนดวิธีปฏิบัติให เหมาะสมกับภารกิจแต ละเรื่อง ทั้งนี้ ก.พ.ร. จะกําหนดแนวทางการดําเนินการทั่วไปให ส วนราชการปฎิบัติให เป นไปตามมาตรานี้ด วยก็ได ********************************** 10. ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน สุขของประชาชนนั้น ส วนราชการจะต องมีแนวทางในการบริหาร ราชการกี่ข อ ก. 5 ข อ ข. 6 ข อ ค. 7 ข อ ง. แล วแต ก.พ.ร. กําหนด
ตอบ “ข อ ก. 5 ข อ” อธิบายตาม พระราชกฤษฎีกาว าด วยหลักเกณฑ และวิธีการบริหารกิจการบ านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 25๖๐ มีผลบังคับใช้เมื อใด ก. ๖ กุมภาพันธ์25๖๐ ข. ๖ มีนาคม 25๖๐ ค. ๖ เมษายน 25๖๐ ง. ๖ พฤษภาคม 25๖๐ 2. ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข อยู่มาตราใด ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 25๖๐ ก. มาตรา 1 ข. มาตรา 2 ค. มาตรา 3 ง. มาตรา 4 3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 25๖๐ มีกี มาตรา ก. ๑๘๕ มาตรา ข. ๒๒๐ มาตรา ค. ๒๕๐ มาตรา ง. ๒๗๙ มาตรา 4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 25๖๐ มีกี หมวด ก. ๑๒ หมวด ข. ๑๖ หมวด ค. ๑๘ หมวด ง. ๒๔ หมมวด 5. รัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 25๖๐ ให้ไว้เป็นปีที เท่าใด ของรัชกาลปัจจุบัน ก. ปีที ๑ ข. ปี ที ๒ ค. ปีที ๓ ง. ปีที ๕
6. ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ งเดียวจะแบ่งแยกมิได้ อยู่ในมาตราใดของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 25๖๐ ก. มาตรา 1 ข. มาตรา 2 ค. มาตรา 3 ง. มาตรา 4 ๗. อํานาจอธิปไตยเป็นของใคร ตามรัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 25๖๐ ก. พระมหากษัตริย์ ข. ทหาร ค. ประชาชน ง. ปวงชนชาวไทย ๘. เมื อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี บังคับกรณีใด ให้กระทําการนั นหรือวินิจฉัยกรณีนั นตามสิ งใด ก. คําสั งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ข. คําสั งศาล ค. ประเพณีการปกครอง ง. ประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข ๙. พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อํานาจนั นตามข้อต่อไปนี ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องตาม รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 25๖๐ ก. สภาผู้แทนราษฎร ข. ศาล ค. คณะรัฐมนตรี ง. รัฐสภา ๑๐. มาตรา ของรัฐธรรมนูญบัญญัติไว้เกี ยวกับเรื องใด ก. ประมุขของรัฐ ข. ความเป็นรัฐเดี ยวของราชอาณาจักรไทย
ค. ศักดิ ศรีความเป็นมนุษย์และความคุ้มครอง ง. สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ๑๑. รัฐธรรมนูญกําหนดให้มีคณะองคมนตรีได้ไม่เกินกี คน ก. คน ข. คน ค. คน ง. คน ๑๒. ใครมีอํานาจลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั งผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ ก. ประธานองคมนตรี ข. ประธานรัฐสภา ค. ประธานวุฒิสมาชิก ง. นายกรัฐมนตรี ๓. สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทยกําหนดไว้ในหมวดใดของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ก. หมวด ข. หมวด ค. หมวด ง. หมวด . สิทธิเสรีภาพของบุคคลในทางอาญาข้อใด ไม่ถูกต้อง ก. ต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ต้องหาไม่มีความผิด ข. ต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่าจําเลยมีความผิด ค. จะลงโทษผู้กระทําผิดหนักกว่าโทษที กฎหมายกําหนดไว้ไม่ได้ ง. ก่อนมีคําพิพากษาอันถึงที สุดแสดงว่าบุคคลได้กระทําความผิด จะปฏิบัติต่อบุคคลนั นเสมือน เป็นผู้กระทําผิดมิได้ . เราสามารถปฏิเสธการตรวจค้นบ้านจากตํารวจได้ หากเขาไม่มีหมายค้นแสดงต่อเราก่อน ถือว่าเรามี เสรีภาพในข้อใด ก. เสรีภาพในชีวิตร่างกาย ข. เสรีภาพในการเลือกถิ นที อยู่ ค. เสรีภาพในเคหสถาน ง. เสรีภาพในการแสดงความเห็น . การจํากัดเสรีภาพในการเดินทางและเสรีภาพในการเลือกถิ นที อยู่ กระทําได้เฉพาะในกรณีใดบ้าง ก. การผังเมือง ข. เพื อความมั นคงของรัฐ ค. การควบคุมประชากร ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และข้อ ข. . รัฐต้องดําเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลา กี ปี ก. 6 ปี ข. ปี ค. ปี ง. ปี . การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์จะกระทําได้เฉพาะเพื อการใดเท่านั น
ก. การอันเป็นสาธารณูปโภค ข. การป้องกันประเทศ ค. การได้มาซึ งทรัพยากรธรรมชาติ ง. ถูกทุกข้อ . การจํากัดเสรีภาพในการประกอบอาชีพกระทําได้เฉพาะเพื อการใด ก. การรักษาความมั นคงหรือเศรษฐกิจของประเทศ ข. การผังเมือง ค. การรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ง. การป้องกันประเทศ . ผู้ใดมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ ก. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ข. ผู้มีอายุเกิน ปี บริบูรณ์ และไมมีรายได้เพียงพอต่อการยังชีพ ค. ทหาร ง. ตํารวจ . รัฐธรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๖ ได้บัญญัติการปกครองส่วนท้องถิ นไว้ในหมวด ใด ก. หมวด ข. หมวด ค. หมวด ง. หมวด 14 . รัฐธรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๖ ได้บัญญัติการปกครองส่วนท้องถิ นไว้กี มาตรา ก. ๔ มาตรา ข. ๖ มาตรา ค. 11 มาตรา ง. มาตรา . สมาชิกสภาท้องถิ นได้มาอย่างไร ก. การแต่งตั งจากผู้ว่าราชการจังหวัด ข. การเลือกตั ง ค. การสอบแข่งขัน ง. การสรรหา . คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประกอบด้วยกรรมการจํานวนกี คน ก. ๕ คน ข. ๗ คน
ค. ๙ คน ง. ๑๑ คน ๕. ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั งตามคําแนะนําของคณะรัฐมนตรี ข. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั ง ตามคําแนะนําของวุฒิสภา ค. คณะกรรมการการเลือกตั ง พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั งตามคําแนะนําของสภาผู้แทนราษฎร ง. ผู้ตรวจการแผ่นดินมีจํานวนห้าคน ซึ งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั งตามคําแนะนําของวุฒิสภา ) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที แก้ไขเพิ มเติม ๒๖. ผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของข้าราชการประจําในกระทรวง คือผู้ใด ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ข. ปลัดกระทรวง ค. อธิบดี ง. นายกรัฐมนตรี ๒๗. การกําหนดกลุ่มภารกิจในกระทรวงกระทําได้โดยวิธีใด ก. ตราเป็นพระราชบัญญัติ ข. ตราเป็นพระราชกฤฎีกา ค. ออกเป็ นกฎกระทรวง ง. โดยคําสั งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ๒๘. ผู้บังคับบัญชาของข้าราชการในสํานักนายกรัฐมนตรี คือผู้ใด ก. รัฐมนตรี ข. ปลัดกระทรวง ค. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ง. อธิบดี ๒๙. ตําแหน่งใดคือผู้บังคับบัญชาของข้าราชการในกรม ก. เลขานุการกรม ข. อธิบดี ค. ผู้อํานวยการ ง. ปลัด
๓๐. ข้อใดไม่ใช่หน้าที ของผู้ตรวจราชการกระทรวง ก. ตรวจการปฏิบัติราชการอันเกี ยวกับกระทรวง ข. แนะนําการปฏิบัติราชการอันเกี ยวกับ กระทรวง ค. สั งการปฏิบัติราชการอันเกี ยวกับกระทรวง ง. ถูกเฉพาะข้อ ก และ ข ๓๑. การมอบอํานาจของอธิบดีให้กับรองอธิบดีจะต้องทําอย่างไร ก. ตราเป็นพระราชบัญญัติ ข. ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ค. ออกเป็นประกาศกระทรวง ง. ทําเป็ นหนังสือ ๓๒. การที ปลัดเทศบาลมอบอํานาจให้รองปลัดเทศบาลดูแลรับผิดชอบกองคลัง แทนตนเอง ถือเป็นกรณีที ตรง กับข้อใด ก. การรักษาราชการแทน ข. การปฏิบัติราชการแทน ค. การทําการแทน ง. ถูกทุกข้อ ๓๓. ข้อใดคือหลักฐานการพิจารณาในเรื องการมอบอํานาจ ก. พิจารณาถึงการอํานวยความสะดวกแก่ประชาชน ข. พิจารณาถึงความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ ค. พิจารณาถึงการกระจายความรับผิดชอบตามสภาพของตําแหน่ง ง. ถูกทุกข้อ ๓๔. ในกรณีที นายกรัฐมนตรีไม่อาจปฏิบัติราชการได้ใครคือผู้รักษาราชการแทน ก. ประธานรัฐสภา ข. ประธานสภาผู้แทนราษฎร ค. รองนายกรัฐมนตรี ง. รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ๓๕. ในกรณีผู้ดํารงตําแหน่งเลขานุการนายกรัฐมนตรีไม่อาจปฏิบัติราชการได้ใครคือผู้รักษาราชการ แทน ก. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ข. รองเลขานุการนายกรัฐมนตรี ค. ผู้ช่วยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ง. อธิบดี ๓๖. ข้อใดไม่ใช่การจัดระเบียบราชการส่วนภูมิภาค ก. จังหวัด ข. อําเภอ ค. ตําบล ง. ถูกทั งข้อ ก และ ข ๓๗. ข้อใดคือหน้าที ของกรมการจังหวัด ก. เป็นที ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัด ข. พิจารณาความเห็นชอบในการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด
ค. ปฏิบัติตามหน้าที กฎหมายหรือมติของคณะรัฐมนตรีกําหนด ง. ถูกทุกข้อ ๓๘. ตําแหน่งใดไม่ใช่หัวหน้าส่วนราชการประจําจังหวัด ก. หัวหน้าสํานักงานจังหวัด ข. ปลัดจังหวัด ค. เกษตรจังหวัด ง. นายอําเภอ ๓๙. การยกเว้น จํากัด หรือตัดทอน อํานาจหน้าที ของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการใน จังหวัดตามที พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินกําหนด จะต้องกระทําโดยวิธีใด ก. ตราเป็ นพระราชบัญญัติข. ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ค. กําหนดโดยกฎกระทรวง ง. ไม่สามารถกระทําได้ ) พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. และที แก้ไขเพิ มเติม ๔๑. สภาเทศบาลตําบล ประกอบด้วยสมาชิกสภาจํานวนเท่าใด ก. ขึ นอยู่กับขนาดเทศบาล ข. จํานวน คน ค. จํานวน คน ง. จํานวน คน ๔๒. ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี ยวกับจํานวนสมาชิกสภาเทศบาลซึ งมาจากการเลือกตั งโดยตรงของ ป ร ะ ช า ช น ตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั งสมาชิกสภาท้องถิ นหรือผู้บริหารท้องถิ น ก. สภาเทศบาลตําบล ประกอบด้วยสมาชิกจํานวนสิบสองคน ข. สภาเทศบาลเมือง ประกอบด้วยสมาชิกจํานวนสิบแปดคน ค. สภาเทศบาลนคร ประกอบด้วยสมาชิกจํานวนยี สิบสี คน ง. ถูกทุกข้อ ๔๓. ข้อใดต่อไปนี กล่าวถูกต้อง ก. รองนายกเทศมนตรี นายกเทศมนตรีเป็นผู้แต่งตั ง ข. รองนายกเทศมนตรี ไม่ต้องเป็นสมาชิกสภาเทศบาล ค. รองนายกเทศมนตรีจะต้องให้สภาคัดเลือกจากสมาชิกสภาเทศบาล ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และข้อ ข. ๔๔. ในกรณีที ประธานสภาเทศบาล หรือรองประธานสภาเทศบาลว่างลง เพราะพ้นจากสมาชิกภาพหรือ ลาออกจะต้องเลือกสมาชิกสภาเทศบาลขึ นแทนตําแหน่งที ว่างภายในกี วัน ก. วัน นับแต่วันที ตําแหน่งว่างลง ข. วัน นับแต่วันที ตําแหน่งว่างลง ค. วัน นับแต่วันที ตําแหน่งว่างลง
ง. วัน นับแต่วันที ตําแหน่งว่างลง ๔๕. การประชุมสภาเทศบาล สมาชิกสภามีสิทธิตั งกระทู้ถามนายกเทศมนตรี หรือรองนายกเทศมนตรี เกี ยวกับงานในหน้าที ได้นายกเทศมนตรีหรือรองนายกเทศมนตรีมีสิทธิไม่ตอบคําถามได้หรือไม่ ก. ได้เมื อเห็นว่าข้อความนั นๆ ยังไม่ควรเปิดเผย ข. ได้ทุกกรณี ค. ไม่ได้เพราะไม่ใช่หน้าที ของสภาเทศบาล ง. ไม่มีข้อถูก ๔๖. กรณีสภาเทศบาลวินิจฉัยให้สมาชิกสภาเทศบาลผู้ใด ออกจากสมาชิกสภาพได้นั น มติต้องมีคะแนน เสียงไม่ตํ าากว่าเท่าใด ของจํานวนสมาชิกที อยู่ในตําแหน่ง ก. สองในสาม ข. หนึ งในสาม ค. กึ งหนึ ง ง. สามในสี ๔๗. ผู้ใดมีหน้าที ดําเนินกิจการของสภาเทศบาลให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับการประชุมสภาเทศบาล ก. ประธานสภาเทศบาล ข. นายกเทศมนตรีและรองนายกเทศมนตรี ค. สมาชิกสภาเทศบาล ง. ปลัดเทศบาล ๔๘. ในกรณีที ยังไม่มีประธานสภาเทศบาล หรือประธานสภาเทศบาลไม่เรียกประชุมตามกฎหมาย ผู้ใดจะเป็นผู้เรียกประชุม ก. นายกเทศมนตรี ข. ผู้ว่าราชการจังหวัด ค. ปลัดเทศบาล ง. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ๔๙. การเลือกตั งสมาชิกสภาเทศบาลตําบล ให้แบ่งเขตเลือกตั งเทศบาลเป็นเขตเลือกตั งกี เขต ก. เขต ข. เขต ค. เขต ง. เขต ๕๐. การเลือกตั งสมาชิกสภาเทศบาลเมือง ให้แบ่งเขตเลือกตั งเทศบาลเป็นเขตเลือกตั งกี เขต ก. เขต ข. เขต ค. เขต ง. เขต ๕๑. การเลือกตั งสมาชิกสภาเทศบาลนคร ให้แบ่งเขตเลือกตั งเทศบาลเป็นเขตเลือกตั งกี เขต ก. เขต ข. เขต ค. เขต ง. เขต ๕๒. ผู้ใดมีอํานาจหน้าที ควบคุมดูแลเทศบาล ให้ปฏิบัติตามอํานาจหน้าที โดยถูกต้องตามกฎหมาย
ก. นายกเทศมนตรี ข. นายอําเภอ ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด ง. ปลัดจังหวัด ๕๓. การเปลี ยนชื อเทศบาลให้กระทําโดย ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา ค. ประกาศกระทรวงมหาดไทย ง. ประกาศเทศบาล ๕๔. ท้องถิ นซึ งได้ยกฐานะเป็นเทศบาลแล้วอาจถูกเปลี ยนแปลงฐานะหรือยุบเลิกได้โดยทําเป็น ก. ประกาศกรมการปกครอง ข. ประกาศกระทรวงมหาดไทย ค. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ง. ไม่มีข้อใดถูก ๕๕. การขยายเวลาการประชุมสภาเทศบาลสมัยสามัญออกไปอีกจะต้องได้รับอนุญาตจากใคร ก. สมาชิกสภาเทศบาลจํานวนไม่น้อยกว่ากึ งหนึ ง ข. ประธานสภาเทศบาล ค. นายกเทศมนตรี ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด ๕๖. โดยปกติผู้ใดเป็นผู้เรียกประชุมสภาเทศบาลตามสมัยประชุม ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด ข. นายกเทศมนตรี ค. ประธานสภาเทศบาล ง. นายอําเภอ ๕๗. โดยปกติผู้ใดเป็นผู้เปิด หรือปิดการประชุมสภาเทศบาลตามสมัยประชุม ก. ประธานสภาเทศบาล ข. นายกเทศมนตรี ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด ง. นายอําเภอ ๕๘. เทศบาลแบ่งเป็นกี ประเภท ก. ประเภท ข. ประเภท
ค. ประเภท ง. ประเภท ๕๙. เทศบาลนครได้แก่ท้องถิ นชุมชนที มีราษฎรตั งแต่กี คนขึ นไป ก. หนึ งหมื นคน ข. สองหมื นคน ค. สี หมื นคน ง. ห้าหมื นคน ๖๐. เทศบาลตําบล มีรองนายกเทศมนตรีกี คน ก. คน ข. คน ค. คน ง.แล้วแต่นายกเทศมนตรี ) พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ น พ.ศ. และที แก้ไขเพิ มเติม ๖๑. ใครไม่ได้เป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั นตอนการกระจายอํานาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ น พ.ศ. 2542 ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ๖๒. คณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ นมีทั งหมดกี คน ก. 24 คน ข. 30 คน ค. 36 คน ง. 42 คน
๖๓. ผู้ใดไม่ได้เป็นคณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ น ก. ปลัดการทรวงพาณิชย์ ข. ปลัดกระทรวงการคลัง ค. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ง. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ๖๔. ใครเป็นผู้กําหนดหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ น ก. นายกรัฐมนตรี ข. คณะกรรมการ ก.พ. ค.ปลัดการทรวงมหาดไทย ง. ก.พ.ร. ๖๕. ผู้ทรงคุณวุฒิที เป็นคณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ นมีจํานวนกี คน ก. 8 คน ข. 10 คน ค. 12 คน ง. 14 คน ๖๖. บุคคลใดสามารถเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ นได้ ก. อาจารย์ผู้สอนในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ข. ผู้ที มีตาแหน่งทางการเมือง ค. ผู้ที เป็นข้าราชการ ง. บุคคลที มีอายุ30 ปีขึ นไป ๖๗. ผู้ทรงคณะวุฒิในคณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ นมีวาระในการ ดํารง ตําแหน่งคราวละกี ปี ก. 4 ปีวาระเดียว ข. 4 ปี แต่ไม่เกิน 2 วาระ ค. 6 ปีวาระเดียว ง. 3 ปีวาระเดียว ๖๘. ข้อใดไม่ใช่อํานาจหน้าที ของคณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ น ก. จัดทาแผนการกระจายอานาจให้แก่อปท. ข. ปรับปรุงสัดส่วนภาษีอากรและรายได้
ค. กําหนดหลักเกณฑ์และขั นตอนการถ่ายโอนภารกิจ ง. กําหนดคุณสมบัติในการแต่งตั งข้าราชการ ๖๙. ให้เทศบาล เมืองพัทยาและองค์การบริหารส่วนตําบลมีอํานาจหน้าที และหน้าที ในการจัดระบบการ บริการสาธารณะเพื อประโยชน์ในท้องถิ นของตนเองดังนี ยกเว้น ก. การจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ นของตนเอง ข. การขนส่งและการวิศกรรมจราร ค. การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ น ง. การจัดให้มีพิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุ ๗๐. ข้อใดเป็นอํานาจหน้าที ในการจัดทําบริการสาธารณะของเทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วน ตําบล ก. จัดให้มีระบบรักษาความปลอดภัยในจังหวัด ข. ปรับปรุงชุมชนแออัดและที อยู่อาศัย ค. ประสานความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที ของอปท.อื น ง. แบ่งสรรเงินให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ นอื น ) พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๗๑. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ใช้บังคับองค์กรหรือหน่วยงานตามข้อใด ก. รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
ข. องค์กรที ใช้อํานาจตามรัฐธรรมนูญ ค. การดําเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ง. เทศบาล ๗๒. ข้อใดไม่ได้เป็นคําสั งทางปกครอง ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ก. การวินิจฉัยของเจ้าหน้าที อันมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที ของบุคคล ข. คําสั งของเจ้าหน้าที ซึ งใช้อํานาจตามกฎหมายในการสั งและมีผลกระทบต่อสถานภาพ ค. ศาลพิพากษาให้นายมั นคงจําคุก ปี ง. คําสั งลงโทษทางวินัยข้าราชการ ๗๓. ข้อใดไม่ถูกต้อง ตามความหมายของคําว่า “กฎ” ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ก. กฎกระทรวง ข. พระราชกฤษฎีกา ค. ข้อบัญญัติท้องถิ น ง. พระราชบัญญัติ ๗๔. บุคคลตามข้อใดเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ง. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ๗๕. บุคคลตามข้อใดเป็นประธานในคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ตามพระราชบัญญัติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ก. นายกรัฐมนตรี ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ง. บุคคลซึ งคณะรัฐมนตรีแต่งตั ง ๗๖. ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครอง พ.ศ. กําหนดไว้จํานวนกี คน ก. ไม่น้อยกว่า คน แต่ไม่เกิน คน ข. ไม่น้อยกว่า คน แต่ไม่เกิน คน ค. ไม่น้อยกว่า คน แต่ไม่เกิน คน ง. ไม่น้อยกว่า คน แต่ไม่เกิน คน ๗๗. ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. บุคคลตามข้อใดทําหน้าที เป็น เลขานุการของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ก. เลขาธิการ ก.พ.ร. ข. เลขาธิการ ก.พ. ค. ข้าราชการของสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาที เลขาธิการคณะรัฐมนตรีแต่งตั ง
ง. ข้าราชการของสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาที เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา แต่งตั ง ๗๘. ข้อใดเป็นรูปแบบคําสั งทางปกครอง ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ก. คําสั งด้วยวาจา ข. ทําเป็นหนังสือ ค. สั งทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ง. ถูกทุกข้อ ๗๙. ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. กรรมการของคณะกรรมการวิธี ปฏิบัติราชการทางปกครองที คณะรัฐมนตรีแต่งตั งมีวาระการดํารงตําแหน่ง คราวละกี ปี ก. ปี ข. ปี และอาจได้รับแต่งตั งอีกได้ ค. ปี ง. ปี และอาจได้รับแต่งตั งอีกได้ ๘๐. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง เกี ยวกับอํานาจหน้าที ของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ตาม พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ก. พิจารณาคดีทางการปกครอง ข. เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกา และการออกกฎกระทรวงหรือประกาศตามพระราชบัญญัติ นี ค. สอดส่องดูแลและให้คําแนะนําเกี ยวกับการดําเนินงานของเจ้าหน้าที ในการปฏิบัติตาม พระราชบัญญัตินี ง. จัดทํารายงานเกี ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี เสนอนายกรัฐมนตรี
) พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที พ.ศ. ๘๑. พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที พ.ศ. มีผลบังคับเมื อใด ก. วันที พฤศจิกายน ข. วันที พฤศจิกายน ค. วันประกาศในราชกิจจานุเษกษา คือวันที พฤศจิกายน ง. วันถัดวันประกาศในราชกิจจานุเษกษา คือวันที พฤศจิกายน ๘๒. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศ ว่าสมควร มีกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที ให้ไว้ ณ วันที เท่าไรของรัชกาลปัจจุบัน ก. กันยายน ข. กันยายน ค. พฤศจิกายน ง. พฤศจิกายน ๘๓. ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที พ.ศ. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ในกรณีข้าราชการ/พนักงานหรือลูกจ้างกระทําละเมิดต่อบุคคลภายนอก ก. หน่วยงานของรัฐจะต้องรับผิดชอบต่อผู้เสียหายทุกกรณี ข. หน่วยงานของรัฐจะต้องรับผิดชอบต่อผู้เสียหาย เฉพาะในกรณีที เป็นการกระทําในการปฏิบัติ หน้าที ค. ถ้าการกระทําในการปฏิบัติหน้าที ให้ผู้เสียหายฟ้องหน่วยงานของรัฐโดยตรง ง. ถ้าการกระทํานั นไม่ใช่การปฏิบัติหน้าที ผู้เสียหายจะฟ้องหน่วยงานของรัฐไม่ได้
๘๔. ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที พ.ศ. กําหนดว่า เมื อเกิดความ เสียหายแก่หน่วยงานของรัฐในส่วนภูมิภาค ในชั นต้นเจ้าหน้าที ผู้เกี ยวข้องต้องรายงานให้ผู้ใดรับทราบ โดยไม่ชักช้า ก. หัวหน้าหน่วยงานนั น ข. ผู้ว่าราชการจังหวัด ค. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ๘๕. บุคคลตามข้อใดเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที พ.ศ. 2539 ก. นายกรัฐมนตรี ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ง. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ น ๘๖. เจ้าหน้าที ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที พ.ศ. หมายถึงใครบ้าง ก. ข้าราชการ ข. พนักงานราชการ ค. ลูกจ้าง ง. ถูกทุกข้อ ๘๗. ข้อใดไม่ได้หมายถึง หน่วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที พ.ศ. ก. องค์การบริหารส่วนตําบล ข. เทศบาล ค. จังหวัด ง. มูลนิธิ ๘๘. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของหลักการที นํามาใช้ในพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที ก. หลักในเรื องลูกหนี ร่วมตามกฎหมายแพ่ง ข. หลักการซึ งเจ้าหน้าที ต้องรับผิดชอบทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหน้าที เฉพาะเมื อเป็นการจงใจ ให้เกิด ความเสียหายเท่านั น ค. หลักการซึ งเจ้าหน้าที ต้องรับผิดชอบทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหน้าที เฉพาะเมื อเป็นการ ประมาท เลินเล่ออย่างร้ายแรงเท่านั น ง. ความรับผิดทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหน้าที ของเจ้าหน้าที ไม่ต้องรับผิดชอบเป็นการเฉพาะตัว ๘๙. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง เกี ยวกับเจ้าหน้าที ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที พ.ศ. 2539 ก. ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด ข. พนักงานเทศบาล ค. ลูกจ้างภารกิจของเทศบาล
ง. ไม่มีข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ๙๐. ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที พ.ศ. หากเจ้าหน้าที กระทําละเมิด และหน่วยงานของรัฐผู้นั นไม่ต้องรับผิด จึงไม่ได้มีคําสั งให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน และกระทรวงการคลัง เห็นว่าต้องรับผิดชอบเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนดังกล่าวมีอายุความเท่าใด ก. ปี นับแต่วันที หน่วยงานของรัฐมีคําสั งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง ข. ปีนับแต่วันที หน่วยงานของรัฐรู้ถึงการละเมิด และรู้ตัวเจ้าหน้าที ผู้จะต้องชดใช้ค่าสินไหม ทดแทน ค. ปีนับแต่วันที หน่วยงานของรัฐมีคําสั งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง ง. ปีนับแต่วันที หน่วยงานของรัฐรู้ถึงการละเมิด และรู้ตัวเจ้าหน้าที ผู้จะต้องชดใช้ค่าสินไหม ทดแทน ) ความรู้เกี ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การปกครอง และการบริหาร ๙๑. อาเซียน (ASEAN) ประกอบไปด้วยสมาชิกกี ประเทศ ก. ประเทศ ข. ประเทศ ค. ประเทศ ง. ประเทศ ๙๒. นายเศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐมนตรีคนที เท่าใดของไทย ก. ๒๙ ข. ๓๐ ค. ๓๒ ง. ๓๕ ๙๓. องค์การสหประชาชาติกําหนดวันต่อต้านยาเสพติดโลก คือข้อใด ก. วันที มิถุนายน ของทุกปี ข. วันที มิถุนายน ของทุกปี ค. วันที มิถุนายน ของทุกปี ง. วันที มิถุนายน ของทุกปี
๙๔. ศาลโลกมีชื อเรียกอย่างเป็นทางการคือข้อใด ก. ศาลระหว่างประเทศ ข. ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ค. ศาลสหประชาชาติ ง. ศาลองค์การสหประชาชาติ ๙๕. ประชาคมอาเซียนก่อตั งที ประเทศใด เมื อปีใด ก. มาเลเซีย พ.ศ. ข. อินโดนีเซีย พ.ศ. ค. ไทย พ.ศ. ง. ฟิลิปินส์ พ.ศ. ๙๖. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ น ถือกําเนิดครั งแรก คือข้อใด ก. สุขาภิบาลนาเกลือ ข. สุขาภิบาลพัทยา ค. สุขาภิบาลท่าฉลอม ง. สุขาภิบาลบ้านเกาะ ๙๗. วันสิ งแวดล้อมโลกตรงกับวันใด ก. วันที มิถุนายน ของทุกปี ข. วันที มิถุนายน ของทุกปี ค. วันที มิถุนายน ของทุกปี ง. วันที ๗ มิถุนายน ของทุกปี ๙ . ประเทศสมาชิกผู้ก่อตั ง ASEAN คือข้อใด ก. อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ข. ไทย อินโดนีเซีย เวียดนาม สิงคโปร์ ค. มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ลาว ง. อินโดนีเซีย บรูไน ไทย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ๙๙. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที ๓ ใช้ใน พ.ศ. ใด ก. - ข. - ค. ๖๖ – ๗๐ ง. ๖๐ – ๖๕
๑๐๐. ต้นไม้ประจําชาติไทย คือ ก. ต้นโพธิ ข. ต้นราชพฤกษ์ ค. ต้นสัก ง. ต้นอินทนิล พ.ร.บ.บุคคล 101. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ น พ.ศ. 2542 ตราขึ นโดย ก. คําแนะนําและยินยอมของสภาผู้แทนราษฎร ข. คําแนะนําของสภาผู้แทนราษฎร ค. คําแนะนําของสภาผู้แทนราษฎรและยินยอมจากวุฒิสภา ง. คําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา 102. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ น หมายความว่า ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา ข. องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตําบล ค. สุขาภิบาล เทศบาล องค์การบริหารส่วนตําบล ง. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ นที มีกฎหมายจัดตั ง 10 . คณะกรรมการใด ไม่มีตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ น พ.ศ. 2542 ก. คณะกรรมการกลางข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด ข. คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล ค. คณะกรรมการกลางพนักงานเมืองพัทยา ง. คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล 104. ผู้แทนเทศบาลของคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. ผู้แทนเทศบาล ซึ งคัดเลือกจากนายกเทศมนตรีจํานวนสามคน ข. แทนเทศบาล ซึ งคัดเลือกจากประธานสภาเทศบาลจํานวนสามคน ค. ผู้แทนเทศบาล ซึ งคัดเลือกจากปลัดเทศบาลจํานวนสามคน ง. ถูกทุกข้อ
10 . กรรมการซึ งเป็ นผู้แทนพนักงานเทศบาลและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระอยู่ในตําแหน่ง คราวละกี ปี ก. 4 ปี ข. 4 ปี และอาจได้รับคัดเลือกอีกได้ ค. 5 ปี ง. ขึ นอยู่กับมติคณะกรรมการพนักงานเทศบาล 106. ผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการพนักงานส่วนตําบล ซึ งคัดเลือกจากบุคคลซึ งมีความรู้ ความเชี ยวชาญในด้านใดบ้าง ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. ด้านการบริหารงานท้องถิ น ข. ด้านการบริหารงานบุคคล ค. ด้านระบบราชการ ง. ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 10 . ใครไม่ได้เป็ นคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตําบล ก. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ข. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ น ค. ผู้อํานวยการสํานักงบประมาณ ง. อธิบดีกรมบัญชีกลาง 108. กรรมการโดยตําแหน่งของคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ น มี จํานวนกี คน ก. 3 คน ข. 4 คน ค. 5 คน ง. 6 คน
109. ใครไม่ได้เป็ นผู้แทนเมืองพัทยา ในคณะกรรมการพนักงานเมืองพัทยา ก. นายกเมืองพัทยา ข. ประธานสภาเมืองพัทยา ค. ปลัดเมืองพัทยา ง. ผู้แทนพนักงานเมืองพัทยาซึ งคัดเลือกกันเองจํานวนหนึ งคน 1 . กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งเมื อใด ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. ลาออกโดยยื นหนังสือลาออกต่อประธานกรรมการ ข. เป็นสมาชิกสภาท้องถิ น หรือผู้บริหารท้องถิ น ค. มีอายุไม่ตํ ากว่าสามสิบห้าปี บริบูรณ์ ง. ได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที สุดให้จําคุก 112. การกําหนดมาตรฐานทั วไปเกี ยวกับหลักเกณฑ์และเงื อนไข การคัดเลือก การบรรจุและ แต่งตั ง การย้ายการโอน การรับโอน การเลื อนระดับ และการเลื อนขั นเงินเดือนขององค์การ บริหารส่วนจังหวัด เป็นอํานาจหน้าที ของคณะกรรมการใด ก. คณะกรรมการข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด ข. คณะกรรมการกลางข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด ค. คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ น ง. ถูกทุกข้อ 113.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. การออกคําสั งแต่งตั งพนักงานเทศบาล ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการพนักงาน เทศบาล ข. การออกคําสั งให้พนักงานเทศบาลพ้นจากตําแหน่ง ต้องได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการพนักงานเทศบาล ค. การออกคําสั งสอบสวนพนักงานเทศบาล ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ พนักงานเทศบาล ง. ไม่มีข้อใดกล่าวถูกต้อง
114. ใครเป็ นผู้ประกาศแต่งตั งประธานกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ น ก. นายกรัฐมนตรีหรือรองรัฐมนตรีที ได้รับมอบหมาย ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ค. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ง. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ น 115. ในการจ่ายเงินเดือน ประโยชน์ตอบแทนอื นและเงินค่าจ้างของข้าราชการ หรือพนักงาน ส่วนท้องถิ น และลูกจ้าง ที นํามาจากเงินรายได้ที ไม่รวมเงินอุดหนุนและเงินกู้อื นใดนั น องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ นแต่ละแห่งจะกําหนดสูงกว่าร้อยละเท่าใดของเงินงบประมาณประจําปี ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ นนั นไม่ได้ ก. ร้อยละ 20 ข. ร้อยละ 25 ค. ร้อยละ 35 ง. ร้อยละ 40 116. สํานักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ นอยู่ในส่วนราชการใด ก. สํานัก ข. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ น ค. สํานักปลัด สํานักนายกรัฐมนตรี ง. สํานักปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทย 117. สํานักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ น มีหน้าที รับผิดชอบใน ราชการของคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ น และมีอํานาจหน้าที ดังนี ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. รับผิดชอบในงานธุรการของคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ น ข. ศึกษา วิเคราะห์ และรวบรวมข้อมูลต่างๆ เกี ยวกับงานของคณะกรรมการมาตรฐานการ บริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ น ค. จัดประชุม สัมมนา ฝึกอบรม รวมทั งการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้เกี ยวกับการ บริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ น ง. ให้คําปรึกษา คําแนะนํา และพิจารณาปัญหาเกี ยวกับการบริหารงานบุคคลส่วน ท้องถิ นแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ น
พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. และกฎกระทรวงที เกี ยวข้อง 118.คําว่า “บุคคล” ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสาร หมายความถึงใคร ก. บุคคลธรรมดาที มีสัญชาติไทย ข. บุคคลธรรมดาที ไม่มีสัญชาติไทยแต่มีถิ นที อยู่ในประเทศไทย ค. บุคคลธรรมดาที ไม่มีสัญชาติไทยและไม่มีถิ นที อยู่ในประเทศไทย ง. ข้อ ก และ ข 119.ข้อมูลข่าวสารใดต่อไปนี มิอาจเปิดเผยได้ ก. ข้อมูลข่าวสารของราชการที อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ข. การเปิดเผยจะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของบุคคลใด ค. รายงานการแพทย์หรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลซึ งการเปิดเผยจะเป็นการสิทธิส่วนบุคคล โดยไม่สมควร ง. ถูกทุกข้อ 120.ข้อมูลข่าวสารที สามารถจัดให้ประชาชนเข้าตรวจได้ แต่ถ้าต้องห้ามมิให้เปิดเผยให้ ดําเนินการตาม ข้อใด ก. ไม่เปิดเผยทั งฉบับ ข. มีคําสั งมิให้เปิดเผยและหมายเหตุไว้ ค. ลบ ตัดทอน ทําอย่างอื นที ไม่เป็นการเปิดเผย ง.ขีดฆ่าข้อความนั น 121.ผู้ใดเห็นว่าหน่วยงานของรัฐไม่จัดพิมพ์ข้อมูลข่าวสารหรือไม่จัดข้อมูลข่าวสารไว้ให้ ประชาชนตรวจดูได้ ผู้นั นมีสิทธ ิร้องเรียนต่อใคร ก. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ข. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารสาขาต่าง ๆ ค. ผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานนั น ง. ข้อ ก และ ข
122.ข้อมูลข่าวสารของราชการที อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์จะต้อง ส่งให้ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากรหรือ หน่วยงานอื นของรัฐ เมื อมีอายุครบกี ปี ก. ปี ข. ปี ค. ปี ง. ปี 123.องค์กรใดมีหน้าที ปฏิบัติงานเกี ยวกับหน่วยงานรัฐและปฏิบัติงานทั วไปเกี ยวกับข้อมูลของ ทางราชการ ก. สํานักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ข. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ค. สํานักงานคณะอนุกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ง. คณะอนุกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ 124.ผู้ใดมิได้เป็นคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ก. รัฐมนตรี ซึ งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย ข. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ค. ปลัดกระทรวงกลาโหม ง. ผิดทุกข้อ 125.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี ยวกับคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร ก. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระอยู่ในตําแหน่งคราวละ ปี ข. องค์ประชุมของคระกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ งหนึ งของจํานวน กรรมการทั งหมด ค. คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งเมื อเป็นบุคคลล้มละลายไดรับโทษจําคุกโดยคํา พิพากษาถึงที สุดให้จําคุก ง. ถูกทุกข้อ
126.ผู้ใดมีอํานาจหน้าที พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คําสั งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ก. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ข. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ค. ผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานนั น ง. ถูกทุกข้อ 127.ข้อมูลข้อเท็จจริงที อยู่ในความครอบครองดูแลของหน่วยงานรัฐ หมายถึงข้อใด ก. ข้อมูลข่าวสาร ข. ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ค. ข้อมูลข่าวสารของราชการ ง. ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ 128.ในกรณีที หน่วยงานของรัฐพิจารณาว่าการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารฯ จะก่อเหตุอันตรายหรือ ต่อความปลอดภัยของบุคคลหนึ งบุคคลใดจะดําเนินการอย่างไร ก. ไม่เปิดเผย ข. ให้คําชี แจง ค. ทําคําสั งมิให้เปิดเผย ง. ไม่รับคําขอ 129.ผู้ใดเป็ นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๕๑ ก. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรี ค. ปลัดกระทรวง ง. นายกรัฐมนตรี 130.ข้อมูลข่าวสาร หมายความว่าอย่างไร ก. ส ิ งที สื อความหมายให้รู้เรื องราวข้อเท็จจริง ข้อมูล หรือสิ งใด ๆ ข. ข้อมูลข่าวสารที อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลหน่วยงานของรัฐ ค. ข้อมูลข่าวสารเกี ยวกับสิ งเฉพาะตัวของบุคคล ง. ข้อ ก และ ข
131.ข้อใดต่อไปนี ถูกต้อง ก. สมุดบัญชีธนาคารของนายณเดช เป็นข้อมูลส่วนบุคคล ข. ฟิล์มเอ็กซเรย์รักษารากฟันของนางสาวญาญ่าซึ งเก็บไว้ที โรงพยาบาลศิริราชเป็นข้อมูล ข่าวสารของราชการ ค. เสียงที นายเจมส์มาร์บันทึกไว้ในเครื องบันทึกเสียงเป็นข้อมูลข่าวสาร ง. ถูกทุกข้อ 132.ข้อมูลข่าวสารใดต่อไปนี อาจมีคําสั งมิให้เปิดเผยก็ได้ ก. การเปิดเผยจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั นคงของประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ หรือความมั นคงในทางเศรษฐกิจหรือการคลังของประเทศ ข. การเปิดเผยจะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของบุคคลหนึ งบุคคลใด ค. รายงานการแพทย์หรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลซึ งการเปิดเผยจะเป็นการรุกลํ าสิทธิส่วน บุคคลโดย ไม่สมควร ง. ถูกทุกข้อ 133.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี ยวกับคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร ก. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระอยู่ในตําแหน่งคราวละ ปี ข. องค์ประชุมของคระกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ งหนึ งของจํานวน กรรมการทั งหมด ค. คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งเมื อเป็นบุคคลล้มละลายได้รับโทษจําคุกโดยคํา พิพากษาถึงที สุดให้จําคุก ง. ถูกทุกข้อ 134.ข้อมูลข่าวสารที หน่วยงานของรัฐประสงค์จะเก็บรักษา หรือมีอายุครบกําหนดจะเก็บรักษา หรือจัดให้ประชาชนได้ศึกษาที หน่วยงานใด ก. สํานักงานทะเบียนกลาง สํานักนายกรัฐมนตรี ข. หอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร ค. สํานักงานทะเบียนกลางสํานักงานปลัดสํานักงานนายกรัฐมนตรี ง. ให้หน่วยงานรัฐนั น ๆ ทําลายตามระเบียบงานสารบรรณ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. และที แก้ไขถึงฉบับที พ.ศ.
135. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ คือข้อใด ก. งานที เกี ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ มตั งแต่การจัดทํา การรับ การส่ง การเก็บรักษา การ ยืม จนถึงการทําลาย ข. การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คลื นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือวิธีอื นใดในลักษณะ คล้ายกัน ค. การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือ ผ่านระบบสื อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ง. หนังสือราชการ 136.ข้อใดไม่ใช่ เอกสารที เป็นหลักฐานในราชการ ก. หนังสือที ส่วนราชการมีไปถึงส่วนราชการ ข. หนังสือที หน่วยงานอื นใดซึ งมิใช่ส่วนราชการ หรือบุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ ค. เอกสารที ทางราชการจัดทําขึ นเพื อเป็นหลักฐานในราชการ ง. เอกสารที ทางราชการจัดทําขึ นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ 137. หนังสือภายใน หนังสือภายใน ครุฑสูงขนาดเท่าใด ก. 4.5 ซม. ข. 3.0 ซม. ค. 3.5 ซม. ง. 1.5 ซม. 138. หนังสือประทับตรา ผู้รับผิ ดชอบลงชื อย่อกํากับตรา ต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการระดับใด ขึ นไป ก. หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม ข. หัวหน้าส่วนราชการระดับกอง ค. หัวหน้าส่วนราชการระดับสํานัก ง. หัวหน้าส่วนราชการระดับแผนก
139. บรรดาข้อความที ผู้มีอํานาจหน้าที ได้วางไว้ โดยจะอาศัยอํานาจของกฎหมายหรือไม่ก็ได้ เพื อถือเป็นหลักปฏิบัติงานเป็ นการประจํา คือ ก. คําสั ง ข. ระเบียบ ค. ข้อบังคับ ง. หลักเกณฑ์ 140. หนังสือประชาสัมพันธ์มี 3 ชนิด ได้แก่ ก. แถลงการณ์ ประกาศ และข่าว ข. ประกาศ ระเบียบ และข่าว ค. ข่าว คําสั ง แถลงการณ์ ง. คําสั ง ระเบียบ ข้อบังคับ 141. การตรวจสอบข้อมูลข่าวสารและหนังสือราชการที ได้รับในระบบอีเมลของส่วนราชการ จะต้องตรวจสอบตามข้อใด ก. อย่างน้อย 1 ครั งต่อสัปดาห์ ข. อย่างน้อย 2 ครั งต่อสัปดาห์ ค. ไม่น้อยกว่าวันละ 1 ครั ง ในเวลาราชการ ง. ไม่น้อยกว่าวันละ 2 ครั ง ในเวลาราชการ 142. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที 4) พ.ศ. 2564 กําหนดให้ส่วน ราชการจัดให้มีทะเบียนหนังสือรับ ทะเบียนหนังสือส่ง ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ งกําหนดใช้ บังคับเมื อใด ก. ตั งแต่ 26 พฤษภาคม 2564 เป็นต้นไป ข. ตั งแต่ 23 สิงหาคม 2564 เป็นต้นไป ค. ตั งแต่ 1 มกราคม 2565 เป็ นต้นไป ง. ตั งแต่ 26 พฤษภาคม 2565 เป็นต้นไป