ปรัชญาการศึกษา
รายวิชา ปรัชญาการศึกษาและการเป็นครูมืออาชีพ
EDUCATIONAL PHILOSOPHY AND BEING PROFESSIONAL TEACHERS
อาจารย์ประจำวิชา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิจิตรา ธงพานิชย์
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม
PUNYAWAT PISUTTIAMONPAN
ก
8
คำนำ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มน้ี (E-Book) จัดทำขึ้นเพื่อรวบรวมเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับปรัชญาการศึกษา
ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาปรัชญาทางการศึกษาและการเป็นครูมือาชีพ หรือ (Educational Philosophy
and Being Professional Teachers) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม โดยผู้จัดทำได้รวบรวมเนื้อหาที่
เกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาประเด็นเกี่ยวกับ ปรัชญาทางการศึกษา ซึ่งเป็นองค์ความรู้หลักในการ
เรียนรู้เรอ่ื งปรชั ญาทางการศกึ ษา และเปน็ แนวทางในการคน้ คว้าหาข้อมลู เพอ่ื เพ่มิ พนู ความรู้
ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจศกึ ษาปรัชญาทาง
การศึกษา
นายปณุ ยวจั น์ พิสุทธิอมรพันธ์
สารบัญ ข
เรือ่ ง 9
คำนำ หน้า
สารบัญ
ปรชั ญา (Philosophy) ก
ลกั ษณะของปรัชญา ข
สาขาของปรัชญา 3 สาขาหลกั 1
ปรชั ญาพนื้ ฐาน ทีเ่ กย่ี วข้องกับการศกึ ษา 1
ปรชั ญาการศกึ ษา 1
2
ลัทธิปรชั ญาการศึกษา 2-7
ปรัชญาการศึกษาสารตั ถนิยม (Essentialism)
ปรชั ญาการศึกษานริ ันตรนยิ ม (Perennialism)
ปรชั ญาการศกึ ษาพพิ ฒั นาการนยิ ม (Progessivism)
ปรชั ญาการศกึ ษาปฏริ ปู นยิ ม (Reconstructionism)
ปรัชญาการศึกษาอตั ถภิ าวนยิ ม (Existentialism)
๑
1
ปรชั ญา (Philosophy)
ไพทากอรัส (Pythagoras) เมธียุคกรีกใช้เปน็ ครั้งแรกเท่าท่เี ร่มิ มกี ารบนั ทกึ
คำวา่ Philosophy มาจากคำในภาษากรีกที่วา่
Philos = ความรัก ความสุขใจ ความเลือ่ มใส
+
Sophia = ความรู้ ความสามารถ ความฉลาด ปญั ญา
เม่ือรวมกนั แลว้ จะมีความหมาย = Love of Wisdom
ความหมายตามรูปศพั ท์ จากรากศัพทน์ ้ี เนน้ ท่ี ทัศนคติ นสิ ัย ความต้ังใจ และกระบวนการแสวงหาความรู้
คำว่า “ปรัชญา” ในภาษาไทย พระเจา้ วรวงศ์เธอกรมหม่ืนนราธิปประพนั ธ์พงศ์ ทรงบัญญัติให้ใชค้ ำวา่
ปรัชญา ซึ่งมีความหมาย = ความรอู้ นั ประเสริฐ ความรอบรู้ รกู้ วา้ งขวาง เนน้ ท่ตี วั ความรู้หรอื ผู้รู้ ท่ีเปน็ ความรู้
อนั ลึกซึ้ง
ลกั ษณะของปรัชญา
1) ทำหน้าที่รวบรวมรายละเอยี ดต่างๆ ของโลก และชีวิตไว้ท้ังหมด
2) พยายามหาคำตอบทีเ่ ป็นจรงิ ท่ีเป็นนริ ันดร์ สามารถอธบิ ายสิ่งต่างๆ ที่เกิดข้ึนได้
3) ใช้วธิ กี ารทางตรรกวทิ ยา ในการหาความจริง (ความเปน็ เหตุ เปน็ ผล)
4) เน้อื หาของปรัชญาจะเปลี่ยนแปลงตามยคุ ตามสมัยเพ่อื ก่อให้เกดิ ประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติ
สาขาของปรชั ญา 3 สาขาหลัก
1) อภิปรัชญา (Metaphysics) หรือ ภววิทยา (Onthology)
เป็นการศึกษาเกี่ยวกบั ความจริง (Reality) เพื่อค้นพบ ความจรงิ ทีส่ ูงสดุ (Ultimate Reality) คอื
ความจรงิ ท่เี ปน็ ธรรมชาติ จติ วิญญาณ รวมทัง้ เรื่องพระเจ้า อนั เป็นบอ่ เกิดของศาสนา
2) ญาณวทิ ยา (Epistemology)
การศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ (knowledge)ธรรมชาติของความรู้ บอ่ เกิดของความรู้ ขอบเขตของ
ความรู้อาจไดม้ าจากแหล่งตา่ งๆ เป็นคมั ภรี ใ์ นศาสนาต่างๆ ตำรา การสังเกต
3) คุณวทิ ยา (Axiology)
ศึกษาเร่ืองเก่ียวกับ คุณคา่ หรอื ค่านยิ ม (Values) แบง่ เป็น 2 ประเภท
3.1 จริยศาสตร์ (Ethics) คือ คุณค่าแห่งความประพฤติ หลักแหง่ ความดี ความถูกต้องเป็นคุณค่าภายใน
3.2 สุนทรยี ศาสตร์ (Anesthetics) คือ คุณคา่ ความงามทางศิลปะ เปน็ คุณคา่ ภายนอก
2
2
ปรัชญาพ้ืนฐาน ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการศกึ ษา
ลทั ธจิ ิตนิยม (Idealism)
ถือจิตเป็นสิ่งสำคัญ (The World of Mind) บิดาของลัทธินี้ คือ Plato ที่เชื่อว่า การศึกษาคือ
การพัฒนาจิตใจมากกว่าอย่างอื่น ส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ศิลปะต่างๆการจัดการศกึ ษา จึงเน้น
อักษรศาสตร์ & ศิลปะศาสตร์ การเรยี นการสอนใชห้ อ้ งสมุด เป็นแหลง่ ค้นควา้ ถา่ ยทอด
ลัทธวิ ัตถุนยิ ม หรอื สัจจนิยม (Realism)
มีความเชื่อในโลกแห่งวัตถุ (The World of Things) ถือว่า ความจริงที่แท้ คือ วัตถุที่ปรากฏ
ต่อสายตา สัมผัสได้ บิดาคือ Aristotleเป็นต้นกำเนิดของการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ เชื่อว่าโลกแห่งความ
เป็นจริงคือโลกแห่งวัตถุ คือ สิ่งทั้งหลายที่เห็นตามธรรมชาตินั้นเป็นจริงในตัวของมันเองไม่ขึ้นอยู่กับจิต และ
โลกแห่งวัตถุนี้จะเป็นโลกที่เปิดเผยความจริงและความรู้ให้แก่เรา ด้วยเหตุนี้การค้นหาความรู้ของวัตถุนิยม
จงึ อาศัยการเฝ้าสงั เกตอย่างมรี ะเบียบAristotle ศษิ ยเ์ อกของ Plato เปน็ บิดาของ ลทั ธสิ ัจนิยม
ลทั ธิประสบการณน์ ยิ ม (Experimentalism)
หรือ เรียกว่า ปฏิบัตินิยม (Pragmatism)เชื่อในสิ่งที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน และสิ่งที่มนุษย์
คดิ กระทำ รสู้ ึก จนเกิดการเปล่ียนแปลงในผ้กู ระทำผนู้ ำความคดิ น้ีคอื William James และ John Dewey
โดย James เชื่อว่า ประสบการณ์ + การปฏิบัติเป็นสิ่งสำคัญ ส่วน Dewey เชื่อว่า มนุษย์จะได้รับความรู้
เกี่ยวกับสง่ิ ตา่ งๆ จากประสบการณเ์ ท่านั้น“การศึกษาในแนวคิดนี้ จะเช่อื ในการลงมือกระทำ เพื่อหาความจริง
ดว้ ยคำตอบของตนเอง”
ลัทธอิ ัตถิภาวะนิยม (Existentialism)
เชื่อในสิ่งที่มีอยู่จริงๆเท่านั้น (The World of Existing)ปรัชญานี้จะให้ความสิ่งสำคัญกับมนุษย์
ว่ามีความสำคัญสูงสุดมีความเป็นตัวของตัวเอง สามารถเลือกกระทำสิ่งใดๆ ได้ตามความพอใจ แต่ต้อง
รบั ผิดชอบในส่งิ ทก่ี ระทำนน้ั ๆ
ปรัชญาการศกึ ษา
ปรัชญาการศึกษาคือ แนวความคิด หลักการ และกฎเกณฑ์ ในการกำหนดแนวทาง ในการ
จัดการศึกษา ซึ่งนักการศึกษาไดย้ ดึ เป็นหลักในการดำเนินการทางการศกึ ษาเพื่อใหบ้ รรลุเป้าหมาย นอกจากน้ี
ปรัชญาการศึกษายังพยายามทำการวิเคราะห์และทำความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษา ทำให้สามารถมองเห็น
ปัญหาของการศึกษาได้อย่างชัดเจน ปรัชญาการศึกษาจึงเปรียบเหมือนเข็มทิศนำทางให้นักการศึกษา
ดำเนินการทางศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบ ชดั เจน และสมเหตสุ มผล
ลทั ธิปรัชญาการศกึ ษา
ปรัชญาการศึกษามีอยู่มากมายหลายลัทธิ ตามลักษณะและตามธรรมชาติของมนุษย์ที่ต่างก็คิดและ
เชื่อไม่เหมือนกัน อาศัยแนวคิดของปรัชญาพื้นฐานที่แตกต่างกัน หรือนำมาผสมผสานกัน ทำให้มีลักษณะท่ี
3
3
คาบเกยี่ วกัน หรอื อาจมาจากความคิดของปรชั ญาพื้นฐานสาขาเดียวกันดังน้นั ปรชั ญาการศึกษาจึงมีหลายลัทธิ
หลายระบบ ในที่นี้จะกล่าวถึงปรัชญาการศึกษาที่เป็นที่นิยมกันอย่างกว้างขวางดังต่อไปนี้
(บรรจง จันทรสา 2522 ; อรสา สขุ เปรม 2546 : 63 - 74)
3.1 ปรชั ญาการศกึ ษาสารัตถนยิ ม (Essentialism)
3.2 ปรัชญาการศึกษานิรันตรนยิ ม (Perennialism)
3.3 ปรัชญาการศกึ ษาพิพัฒนาการนิยม (Progessivism)
3.4 ปรัชญาการศึกษาปฏริ ูปนยิ ม (Reconstructionism)
3.5 ปรัชญาการศกึ ษาอัตถภิ าวนยิ ม (Existentialism)
ปรชั ญาการศึกษาสารตั ถนิยม (Essentialism)
เป็นปรัชญาการศึกษาที่เกดิ ในอเมริกา เม่ือประมาณ ปี ค.ศ.1930 โดยการนำของ วลิ เล่ยี ม ซี แบคลี
(William C. Bagley) และคณะ ได้รวมกลุ่มกันเพื่อเผยแพร่แนวคิดทางการศึกษาฝ่ายสารัตถนิยม และได้รับ
ความนยิ มเปน็ อย่างมากในสมัยสงครามโลกคร้งั ที่ 2 และยงั นิยมเร่ือยมาอีกเปน็ เวลานาน เพราะมีความเช่ือว่า
ลัทธิปรัชญาสารัตถนิยมมีความเข้มแข็งในทางวิชาการและมีประสทิ ธิภาพในการสร้างค่านิยมเก่ียวกับระเบยี บ
วินัยได้ดีพอที่จะทำให้โลกเสรีต่อสู้กับโลกเผด็จการของคอมมิวนิสต์ (ภิญโญ สาธร :2525, 31)
สารัตถนิยม เป็นการหล่อหลอมความคิด ของจิตนิยม (Idealism) และ สัจนิยม (Realism) มีชื่อเรียกอื่น ๆ
เชน่ สาระนยิ ม สารวาส ลัทธิจิตนยิ ม หรือ คตนิ ิยม (Idealism)เชือ่ วา่ ความเปน็ จรงิ (Reality) เปน็ ความนึกคิด
(Mind) และเป็นจิตรภาพ (Idea) หรือ แบบ (From) ที่มีอยู่ในจินตนาการของเรา โลกแห่งความเป็นจริง
อันสูงสุด (Ultimate reality) จึงเป็นโลกแห่งจินตนาการ (A world of mind) จากพื้นฐานความจริงนี้ จึงเชื่อ
ต่อไปว่า การล่วงรู้ความจริงได้ต้องอาศัยจิต (Mind) อาศัยปัญญา(Intellect) เพื่อเข้าถึงความเป็นจริงที่มีอยู่
ในจิตรภาพ(Idea) คือ เราใช้ปัญญาและความคิดในการรับรู้ความจริงเมื่อปัญญาล่วงรู้สิ่งที่เป็นจริง
แล้วกห็ มายถงึ เรามี“ความรู้”
4
4
Plato เปน็ บดิ าแหง่ ปรชั ญาสาขาจิตนิยม ท่ีถอื ว่าเก่าแก่ท่ีสุดและตรงกบั ปรัชญาจติ นิยมใหม่ ในทัศนะของ
Kant ซงึ่ เหน็ ว่า การร้นู ั้นจะเกิดขน้ึ ได้กต็ ่อเม่ือมีองค์ประกอบสำคัญ 2 ส่วน
1. การรับรู้ (Percepts) คือ การไดร้ ับขอ้ มูลเกี่ยวกบั วัตถุต่าง ๆ มาโดยผัสสะ
2. การเขา้ ใจ หรอื สัญชาน (Concept) คือ ความนกึ คดิ ทีเ่ กิดขน้ึ ในจติ ของเรา ความเขา้ ใจนัน้ ตอ้ ง
อาศยั การรบั รู้ในการปอ้ นข้อมลู ต่าง ๆจากผสั สะ
หลกั การสำคัญตามแนวคิดของปรัชญาการศกึ ษาสารัตถนิยม
1. การเรียนรู้ เกิดขน้ึ ไดจ้ ากการทำงานหนักและนำไปประยุกต์ใชไ้ ด้ ความมีระเบียบวินยั เคร่งครัด
เปน็ สง่ิ สำคัญ ปลูกฝั่งให้เด็กเกิดความมานะ พยายาม ต้องอุทิศตนเพอื่ จุดหมายปลายทางในอนาคต
2. การริเรม่ิ ทางการศึกษา ควรเริ่มตน้ ที่ครู ครเู ป็นผู้นำในการเรียน และสรา้ งพฒั นาการให้กับเดก็
ทำหนา้ ทีเ่ ชอ่ื มโยงโลกของผู้ใหญก่ ับโลกของเดก็ เขา้ ด้วยกัน
3. หวั ใจสำคญั ของการศกึ ษา คือ การเรียนรเู้ น้อื หาวิชามาเช่ือมโยงกนั การศึกษาช่วยใหเ้ อกัตบคุ คล
ตระหนกั ในศักยภาพของตน ความรู้และประสบการณท์ ่ีเป็นมรดกตกทอดเป็นสิง่ ท่ีดีงามและถูกตอ้ ง
เน้นความสำคัญของ “ประสบการณข์ องเชอ้ื ชาติ”
4. โรงเรียนควรรักษาวิธีการดงั้ เดิมท่ใี ชร้ ะเบยี บวนิ ัยและการอบรมจติ ใจเปน็ ส่ิงที่ส่งเสริมการเรียนรู้
การสอนเด็กให้เกดิ การเรียนรู้ ควรสอนให้เข้าใจในสาระสำคัญ แม้วา่ จะต้องมีการปรับให้สอดคลอ้ งกบั
ความต้องการของเด็ก
แนวคิดทางการศกึ ษาของสารตั ถนิยม
จดุ มงุ่ หมายทางการศึกษา
1. ให้การศึกษาในสิง่ ทีเ่ ป็นเนื้อหา สาระ (Essential subject – matter) อันไดจ้ ากมรดกทางวฒั นธรรม
โดยการรักษาและถ่ายทอดส่คู นรุ่นหลงั
2. ใหก้ ารศึกษาเพือ่ การเรยี นรใู้ นเรื่องของความเชื่อ ทศั นคติ และคา่ นยิ มของสังคมในอดตี
3. ธำรงรกั ษาส่ิงทด่ี ีงามตา่ ง ๆ ในอดตี เอาไว้
4. มุ่งพัฒนาผู้เรยี นใหเ้ ป็นผู้มรี ะเบียบวินัย มปี ญั ญา และรักษาอุดมคตอิ ันดีงามของสังคมไว้
หลกั สตู ร
เป็นหลกั สตู รทเี่ น้นเนือ้ หา (Subject – matter Oriented) เปน็ หลกั สำคัญ โดยยึดประสบการณข์ อง
เชือ้ ชาติ หรอื มรดกทางวฒั นธรรมเป็นหลกั ไดร้ ับการจัดไวอ้ ย่างเป็นระบบต่อเน่ืองตามขนั้ ตอนความยากงา่ ย
จะช่วยเพมิ่ ประสิทธิภาพในการเรียนการสอน วชิ าพื้นฐาน เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์
ตรรกวิทยา ศลิ ปะ ดนตรี ภาษาและวรรณคดี โดยมีการผสมผสานกนั เพื่อชว่ ยเพ่ิมทักษะในการอ่าน การเขยี น
การคิดและจินตนาการใหต้ ัวผเู้ รยี น
หลกั สตู รจะต้องสอดคลอ้ งกับวุฒภิ าวะของผเู้ รยี น
กระบวนการเรยี นการสอน
การเรยี นการสอนจะเน้นการบรรยายเปน็ หลัก โดยมีศลิ ปะของการถา่ ยทอดความรูเ้ ปน็ สำคัญ
5
5
มีหลักการอบรมจิตใจ และถ่ายทอดค่านิยมเพื่อสร้างนิสัยที่ดีงามให้เกิดแก่ผู้เรียนกระบวนการเรียนการสอน
จะมี “ครู” เป็นผู้มีบทบาทสำคัญเป็นศูนย์กลางการเรียนการสอนคำนึงถึงความสามารถ ความสนใจ
และจดุ หมายของผู้เรยี นเพอื่ ให้เกดิ การเรียนรู้
ผสู้ อน
ผูส้ อนหรือครู ต้องเป็นผทู้ ี่มีความรูด้ ี มีความประพฤติดี มีศีลธรรม เป็นแบบอย่างที่ดี และเปน็
ศนู ยก์ ลางของห้องเรียน
ผู้สอนควรตอ้ งเป็นผมู้ ีทักษะ เทคนิควิธี ท่ีจะโน้มน้าวให้นักเรยี นเหน็ คณุ คา่ ของการเรียนรู้
ผสู้ อนต้องเสริมสรา้ งความสนใจและเป้าหมายในการเรียนรู้ใหแ้ กผ่ ้เู รยี น
ผู้สอนมบี ทบาทสำคญั ในอนั ท่ีจะกำหนด หรือตดั สนิ ใจในกิจกรรมทางการเรยี นรู้
ผู้เรียน
ผ้เู รียนเปน็ ผรู้ บั ผฟู้ ัง และทำความเขา้ ใจในเนอ้ื หาต่าง ๆ ที่ครูกำหนด
ผู้เรียนเปน็ ผูเ้ รียนรู้ เปน็ ผสู้ ืบทอดคา่ นยิ ม และมรดกทางวัฒนธรรมไว้และถา่ ยทอดใหค้ นรุ่นหลังตอ่ ไป
ผเู้ รียนต้องเปน็ ผู้ทม่ี ีความพยายาม อดทน และเปน็ ผู้มรี ะเบียบวินัย
โรงเรียน
มีจุดมุง่ หมาย เพ่ือสงวน รักษา และประเมินคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรมทำหน้าท่ีฝกึ ฝน อบรมทาง
ปญั ญาให้แกเ่ ยาวชน เพ่ือให้ผู้เรยี นได้เรยี นรู้ เข้าใจเร่ืองราวหรือมรดกทางสังคมเป็นสถาบันเพื่อความมัน่ คง
ความเป็นระเบียบของสังคมแตไ่ มเ่ ปน็ ผนู้ ำของสงั คมช่วยสงวนรักษาความดีงาม คุณคา่ และวฒั นธรรมของ
สงั คมใหป้ ระณตี สมบรู ณ์ข้นึ และถ่ายทอดให้คนรุ่นใหมร่ ับช่วงต่อไปให้ผูเ้ รยี นรู้กฎเกณฑ์ ระเบียบ ประเพณี
และวัฒนธรรมของสงั คม
ผูบ้ ริหาร
- มีลักษณะแบบรวมอำนาจ คือ ผ้บู ริหารตดั สนิ ใจแตเ่ พียงผเู้ ดียว
- มีลกั ษณะยดึ กฎระเบยี บ ยดึ กฎหมายเป็นสำคญั
- มลี ักษณะยึดแบบอยา่ ง ยึดมาตรฐาน ยึดระเบียบวนิ ัย
- มีการบรหิ ารจัดการเร่ืองการเรยี นรไู้ ปในทางเดียวกนั คือระบบบริหารเปน็ แบบส่ังงาน
(Bureaucratic Model)
การวัดผลประเมนิ ผล
เชอ่ื ว่าความรู้ท่ีแทจ้ รงิ อยภู่ ายนอกตวั ผเู้ รยี น สามารถรับรู้ด้วยจติ การได้มาซ่งึ ความรู้นัน้ เป็นการรับโดย
กระบวนการถา่ ยทอด จดจำใช้วิธีการทดสอบความจำในเน้ือหาวชิ าทีไ่ ดเ้ รยี นมาประเมินผเู้ รียนทางด้านทฤษฎี
(วิชาการ)เปน็ สำคญั
6
6
ปรัชญาการศกึ ษานิรนั ตรนิยม (Perennialism)
ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม (Perennialism) เป็นปรัชญาการศึกษาที่ได้รับอิทธิพลจากปรัชญา
พื้นฐานกลุ่มวัตถุนิยมเชิงเหตุผล(Rational realism) หรือบางทีเรียกว่าเป็นพวกโทมนัสนิยมใหม่
(Neo – Thomism) เกดิ ขน้ึ ในขณะท่ีประเทศต่าง ๆ ทัว่ โลกกำลังมีการพฒั นาทางอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
ใหม่ ๆ เกิดขึ้น โดยเฉพาะประเทศทางตะวันตกซึ่งมีระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ก่อให้เกิดการแข่งขันทาง
การค้าอย่างไม่เป็นธรรม มกี ารเอารัดเอาเปรียบสินค้า ราคาสงู เกดิ ปญั หาครอบครัว ขาดระเบยี บวินยั มนษุ ย์ไม่
สามารถปรับตัวให้เข้ากับวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ได้ทำให้วัฒนธรรมเสื่อมสลายลงไป จึงมีการเสนอปรัชญา
การศึกษาลัทธนิ ้ขี ึ้นมาเพ่ือใหก้ ารศึกษาเปน็ สิง่ นำพามนุษย์ไปสูค่ วามมีระเบยี บเรยี บรอ้ ย มีเหตแุ ละผล
มีคุณธรรมและจริยธรรม จงึ เป็นทีม่ าของปรชั ญาการศึกษานิรันตรนิยม ปรชั ญาการศึกษานิรันตรนิยม มมี าแลว้
ตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ ผู้เป็นต้นคิดของปรัชญาลัทธิน้ี คือ อริสโตเติล (Aristotle) และเซนต์ โทมัส อะไควนัส
(St. Thomas Aquinas) อริสโตเติลได้พัฒนาปรัชญาลัทธินี้โดยเน้น การใช้ความคิดและเหตุผล จนเชื่อได้ว่า
Rational humanism ส่วนอะไควนัส ได้นำมาปรับให้เข้ากับสถานการณ์ โดยคำนึงถึงความเชื่อเกี่ยวกับพระ
เจา้ เรอื่ งศาสนา ซึ่งเป็นเร่ืองของเหตแุ ละผล แนวคดิ นีม้ สี ว่ นสำคัญโดยตรงต่อแนวคดิ ทางการศึกษาในศตวรรษ
ท่ี 20 นักปรัชญาทีเ่ ป็นผูน้ ำของปรัชญาน้ใี นขณะนี้คือ โรเบิรท์ เอ็ม ฮทั ชินส์ (Robert M. Hutchins) และคณะ
ไดร้ วบรวมหลักการและใหก้ ำเนดิ ปรัชญานริ ันตรนิยมขน้ึ มาใหมใ่ นปี ค.ศ.1929
ปรัชญาการศกึ ษาพพิ ฒั นาการนยิ ม (Progessivism)
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม (Progessivism) ปรัชญานี้ให้กำเนิดขึ้นเพื่อต่อต้านแนวคิดด้ังเดมิ
ที่การศึกษามักเน้นแต่เนื้อหา สอนให้ท่องจำเพียงอย่างเดียว ทำให้เด็กพัฒนาด้านสติปัญญาอย่างเดียว ไม่มี
ความคิดสร้างสรรค์ ไม่มีความกล้าและความมั่นใจในตนเองประกอบกับมีความก้าวหน้าในด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีทำใหเ้ กดิ แนวความคดิ ปรัชญาการศกึ ษาพิพฒั นาการนิยมขน้ึ ปรัชญาการศึกษาพิพฒั นาการนิยม
เกิดขึ้นใน ค.ศ.1870 โดยฟรานซิส ดับเบิ้ลยูปาร์คเกอร์ (Francis W. Parker) ได้เสนอให้มีการปฏิรูป
การศึกษาเสียใหม่ เพราะการเรียนแบบเก่าเข้มงวดเรื่องระเบียบวินัย แต่แนวคิดนี้ไม่ได้รับการยอมรับ ต่อมา
จอห์น ดิวอี้ (John Dewey)ได้นำแนวคิดนี้มาทบทวนใหม่ โดยเริ่มงานเขียนชื่อ School of Tomorrow ออก
ตีพิมพ์ในปีค.ศ.1915 ต่อมามีผู้สนับสนุนมากขึ้นจึงตั้งเป็นสมาคมการศึกษาแบบพิพัฒนาการ
(ProgessiveEducation Association) (Kneller 1971 : 47) และนำแนวคิดไปใชใ้ นโรงเรียนต่างๆแต่ก็ถูกจู่
โจมตีจากฝ่ายปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยมภายหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 ปรัชญาการศึกษา สารัตถนิยม
กลับมาได้รับความนิยมอีก จนสมาคมการศึกษาพิพัฒนาการนิยมต้องยุบเลิกไปแต่แนวคิดทางการศึกษา
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมยังคงใช้ในสหรัฐอเมริกา ต่อมาได้รับความนิยมมากขึ้นและแพร่หลายไปยังประเทศ
ตา่ ง ๆ รวมทง้ั ประเทศไทยดว้ ย
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) มีรายชื่อเรียกเป็นหลายอย่างเช่นอุปกรณ์นิยม
(Instrumentalism) ประสบการณ์นิยม ( Experimentalism) นอกจากนี้ตำราบางเลม่ กเ็ รยี กวา่ อนุกรรมวาท
หรือก้าวหน้านิยม การศึกษาแผนใหม่ ( New Education) เป็นต้น ปรัชญาการศึกษาลัทธินี้เป็นปรัชญา
การศกึ ษาที่ แพร่หลายและเปน็ ทก่ี ล่าวถึงทัว่ โลกมากท่สี ุดลทั ธหิ นง่ึ แนวความคดิ และการปฏิบัติทางการศึกษา
ก็มีแตกต่างกันไปประเทศสหรัฐอเมริกาเองซึ่งเป็นแหล่งกำเนิ ดของปรัชญาการศึกษาลัทธิน้ี
7 7
5
ความคดิ ก็ยงั ไม่ลงรอยกันในทุกเรื่อง ยง่ิ เมอื่ มผี ู้นำทัศนะน้ีไปปนกับการเคล่ือนไหวของการศึกษาแบบพิพัฒนา
การยง่ิ ทำใหเ้ กดิ ความสับสนมากยง่ิ ข้ึน
ปรชั ญาการศกึ ษาปฏริ ูปนิยม (Reconstructionism)
ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม (Reconstructionism) ในปี ค.ศ.1930 ได้เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ
ในสหรัฐอเมริกา เกิดปัญหาการว่างงาน คนไม่รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เกิดช่องว่างระหว่างชนชั้นใน
สังคม จึงมีนักคิดกลุ่มหนึ่งพยายามจะแก่ปัญหาสังคมโดยใช้การศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาสังคม ผู้นำ
ของกลุ่มนักคิดกลุ่มน้ี ได้แก่ จอรัจ เอส เค้าทส์ (George S.Counts) ซึ่งมีความเห็นด้วยกับหลักการ
ประชาธิปไตย แต่ต้องเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง และควรเห็นว่าโรงเรียนควรมีหน้าที่แก้ปัญหาเฉพาะ
อย่างของสังคมผู้ทีว่ างรากฐานและตั้งทฤษฎปี ฏิรูปนยิ ม ได้แก่ ธีโอดอร์ บราเมลด์ (Theodore Brameld)ในปี
ค.ศ.1950 โดยได้เสนอปรัชญาการศึกษาเพื่อปฏิรปู สังคมและได้ตีพิมพ์ ลงในหนังสือหลายเลม่ ธีโอดอร์ บรา
เมลด์ จึงได้รับการยกยอ่ งวา่ เป็นบิดาของปรชั ญาการศึกษาปฏริ ปู นิยม
ปรชั ญาการศกึ ษาอตั ถิภาวนยิ ม (Existentialism)
ปรชั ญาการศึกษาอัตถภิ าวนิยม (Existentialism) ปรัชญานี้เกิดขึ้นเนอื่ งจากความรสู้ ึกท่วี า่ มนุษย์กำลัง
สูญเสียความเป็นตัวของตัวเอง การศึกษาที่มีอยู่ก็มีส่วนทำลายความเป็นมนุษย์ เพราะสอนให้ผู้เรียนอยู่ใน
กรอบของสงั คมที่จำกัดเสรีภาพความเป็นตัวของตัวเองใหล้ ดน้อยลงนอกจากนวี้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียังมี
ส่วนในการทำลายความเป็นมนุษย์เพราะต้องพึ่งพามันมากเกินไปนั่นเองผู้ให้กำเนิดแนวความคิดใหม่ทาง
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม ได้แก่ ซอเร็น คีร์เคอร์การ์ด (Soren Kierkegard) นักปรัชญาชาวเดนมาร์ค
เขาได้เสนอความคิดว่า ปรัชญาเป็นเรื่องส่วนตัวของแต่ละคน ดังนั้นทุกคนจึงควรสร้างปรัชญาของตนเองจาก
ประสบการณ์ ไม่มีความ จริงนิรันดร์ให้ยึดเหนี่ยวเป็นสรณะตัวตาย ความจริงที่แท้คือสภาพของมนุษย์
(Human condition)(กรี ติ บญุ เจอื 2522: 14 ) แนวคิด ของ คีร์เคอร์การด์ มีผู้สนบั สนุนอีกหลายคน ซง่ึ เป็น
คนร่วมสมัยในช่วงปี ค.ศ. 1950 – 1965 แต่ความพยายาม ที่จะนำมาประยุกต์ใช้กับการศึกษาก็เป็นเวลา
ราว10 ปีต่อมาและผู้ริเริ่มนำมาใช้ทดลองในโรงเรียน คือ เอ เอส นีลล์ (A.S. Neil) โดยทดลองในโรงเรียน
สาธติ และโรงเรียนซมั เมอรฮ์ ลิ ล์
10
บรรณานุกรม
1. ครูบ้านนอก,ปรัชญาทางการศึกษา, https://www.kroobannok.com/2022.
HTTPS://WWW.KROOBANNOK.COM/19891 คน้ เมือ่ 11 ธนั วาคม,2565.
ปรัชญาการศึกษา
รายวิชา ปรัชญาการศึกษาและการเป็นครูมืออาชีพ
EDUCATIONAL PHILOSOPHY AND BEING PROFESSIONAL TEACHERS
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม
PUNYAWAT PISUTTIAMONPAN