The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย เรื่อง ขัตติยพันธกรณี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เป็นวารสารที่คณะผู้จัดทำได้ดำเนินการจัดการขึ้นเพื่อใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง ขัตติยพันธกรณี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Jutikan Klinchan, 2022-08-31 12:28:35

ขัตติยพันธกรณี e-book

วารสารเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย เรื่อง ขัตติยพันธกรณี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เป็นวารสารที่คณะผู้จัดทำได้ดำเนินการจัดการขึ้นเพื่อใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง ขัตติยพันธกรณี

Keywords: ขัตติยพันธกรณี

รายงาน



ขัตติยพันธกรณี

บทพระราชนิพนธ์ กับ บทพระนิพนธ์

รายงาน

เรื่อง ขัตติยพันธกรณี


จัดทำโดย




ผลท
ิพย์
น.ส.จิรภาพร สศอรีชน


มไขภู่ เลขที่ ๖

น.ส.ณัชชาภัค เลขที่ ๗
น.ส.ลลิตา เลขที่ ๑๕

น.ส.จุติกานต์ กลิ่น
จันทร์ เลขที่ ๒๗
น.ส.ฑิฆัมพร ศรีป
ระเทศ เลขที่ ๓๑

น.ส.นริศสรา อัยกู
ล เลขที่ ๓๕
พฤก
ษาศิลป์ เลขที่ ๓๖
น.ส.บุรินทร์


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๔


เสนอ
ครูชมัยพร แก้วปานกัน



วารสารเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๕
รหัสวิชา ท๓๓๑๐๑

ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๕
โรงเรียนสงวนหญิง จังหวัดสุพรรณบุรี



คำนำ

วารสารเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย
เรื่อง ขัตติยพันธกรณี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เป็นวารสารที่คณะผู้จัดทำได้ดำเนินการ
จัดการขึ้นเพื่อใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย เรื่อง ขัตติยพันธกรณี

แนวการนำเสนอเนื้อหาของวารสาร รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย เรื่อง
ขัตติยพันธกรณี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ มุ่งเน้นให้ผู้ที่มีความสนใจหรือกำลังศึกษา
เกี่ยวกับเรื่องขัตติยพันธกรณีให้มีความ
เข้าใจโดยนำเสนออย่างน่าสนใจและชวนติดตาม

คณะผู้จัดทำหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีความสนใจหรือ
ผู้ที่กำลังศึกษาเกี่ยวกับเรื่องขัตติยพันธกรณี หากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัด
ทำขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้



สารบัญ

เรื่อง หน้า

คำนำ

สารบัญ ก
ความเป็นมา

ความหมายของขัตติยพันธกรณี ข
ผู้ประพันธ์

จุดมุ่งหมายในการแต่ง ๑
เรื่องย่อและสรุปขัตติยพันธกรณี

ส่วนที่ ๑ พระราชนิพนธ์ของ ร.๕ ๒
ส่วนที่ ๒ พระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ

กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ๓
วิเคราะห์คุณค่า

บรรณานุกรม ๔
















๑๕



ความเป็นมา

ขัตติยพันธกรณี (เหตุอันเป็นข้อผูกพันของกษัตริย์) เป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าฯ และพระนิพนธ์ของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เป็นกวีนิพนธ์ที่ผู้ใด
ได้อ่านจะประทับใจเป็นอย่างยิ่ง เป็นบทที่มีที่มาจากเหตุการณ์จริงในประวัติศาสตร์ในระยะ
หัวเลี้ยวหัวต่อที่เกี่ยวกับความอยู่รอดของประเทศของเรา เหตุการณ์นี้คือเหตุการณ์ ร.ศ. ๑๑๒
ซึ่งตรงกับ พ.ศ. ๒๔๓๖ ไทยขัดแย้งกับฝรั่งเศสเรื่องเขตแดนทางด้านเขมร ฝรั่งเศสส่งเรือปืน
แล่นผ่านป้อมพระจุลจอมเกล้าฯ เข้ามาจอดทอดสมอหน้าสถานทูตฝรั่งเศส ถืออำนาจเชิญ
ธงชาติฝรั่งเศสขึ้นเหนือแผ่นดินไทย ตรงกับวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ซึ่งเป็นวันชาติฝรั่งเศสและยื่น
คำขาดเรียกร้องดินแดนทั้งหมดทางฝั่ งตะวันออกของแม่น้ำโขง ซึ่งขณะนั้นอยู่ใต้อำนาจ
ปกครองของไทยเนื่องจากไทยให้คำตอบล่าช้า ทูตปาวีของฝรั่งเศสจึงให้เรือปืนปิดล้อมอ่าว
ไทย เป็นการประกาศสงครามกับไทย

เรือรบฝรั่งเศสถึงปากน้ำ



ความหมายของขัตติยพันธกรณี

ขัตติย หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน

พันธกรณี หมายถึง ข้อผูกมัด ข้อผูกพันต่าง ๆ ดังนั้น เมื่อรวมทั้งสองคำเข้าด้วยกันเป็น
ขัตติยพันธกรณี จึงแปลว่า เหตุอันเป็นข้อผูกพันหรือข้อผูกมัดของกษัตริย์

ลกั ษณะคำประพันธ์
แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทโคลงสี่สุภาพและอินทรวิเชียรฉันท์ โดยสามารถ เข้าไปดูวิธี
การแต่งอินทรวิเชียรฉันท์ได้ที่บทเรียนเรื่อง มงคลสูตรคำฉันท์



ผู้ประพันธ์

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ



จุดมุ่งหมายในการแต่ง

ถ้าเป็นส่วนของบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า
อยู่หัว มีจุดมุ่งหมายในการแต่งเพื่ออำลาเจ้านายพี่น้อง แต่ถ้าเป็นส่วน
ของพระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุ
ภาพ จะแต่งเพื่อปลอบประโลมให้คลายทุกข์และปลุกใจให้ลุกขึ้นสู้กับ
อุปสรรค



เรื่องย่อและสรุปขัตติยพันธกรณี

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์เรื่องขัตติย-
พันธกรณี ด้วยโคลงสี่สุภาพจำนวน ๗ บทด้วยกัน โดยบรรยายความกังวลใจ
ที่ทรงประชวรอย่างหนักเป็นเวลานาน ด้วยโรคฝีสามยอด และไข้ส่า ทำให้
เป็นที่หนักใจของผู้ที่ดูแลรักษา อีกทั้งยังบรรยายถึงความเจ็บปวดพระวรกาย
จากพระอาการประชวร จึงมีพระราชประสงค์ที่จะเสด็จสวรรคต แต่พระองค์
ไม่สามารถทำเช่นนั้นได้ เนื่องจากเป็นกษัตริย์ที่มีภาระหน้าที่อันยิ่งใหญ่ คือ
การปกป้องรักษาบ้านเมืองจากประเทศฝรั่งเศสนั่นเอง

หลังจากนั้น รัชกาลที่ ๕ ทรงบรรยายความรู้สึกด้วยอินทรวิเชียรฉันท์ โดย

บรรยายถึงความรู้สึกเบื่อหน่าย หมดกำลังพระทัย เนื่องจากพระอาการ

ประชวรที่ยาวนาน และยังมีความเจ็บทางใจที่เกิดจากการต้องป้องกันรักษา

บ้านเมืองเอาไว้ อีกทั้งยังมีความกังวลใหญ่หลวงในพระทัย และทรงหวั่นเกรง

ว่าจะทรงกลายเป็นพระมหากษัตริย์ที่ราษฎรจะกล่าวหาว่าเป็นต้นเหตุทำให้

เสียบ้านเสียเมืองแก่ต่างชาติเช่นเดียวกับสมเด็จพระมหินทราธิราช และ

สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ (คำประพันธ์ใช่ว่า “ทวิราช” แปลว่า กษัตริย์สองพระ

องค์) ในช่วงที่เสียกรุงศรีอยุธยาทั้ง ๒ ครั้ง รัชกาลที่๕ ไม่ต้องการจะเป็น

กษัตริย์อีกพระองค์หนึ่งที่ทำให้เราต้องสูญเสียเอกราชไป



เรื่องย่อและสรุปขัตติยพันธกรณี

ในส่วนของพระนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชา
นุภาพ แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทอินทรวิเชียรฉันท์ โดยแต่งเพื่อถวาย
กำลังพระทัยรัชกาลที่๕ และถวายข้อคิดให้ตระหนักถึงสัจธรรม โดยสมเด็จ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพเปรียบประเทศไทยเป็นเรือ
ลำใหญ่ลำหนึ่ง อันมี รัชกาลที่๕ เป็นกัปตัน ซึ่งเป็นผู้ที่เป็นใหญ่ในเรือ มีอำนาจ
สั่งลูกเรือ ซึ่งหมายถึงชาวสยาม โดยรัชกาลที่๕ ในฐานกัปตันมีหน้าที่นำพาลูก
เรือให้รอดพ้นจากพายุคลื่นลมมรสุมต่าง ๆ

ส่วนสัจธรรมที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรง

กล่าวถึงคือเรื่องของการทำงานทุกอย่างย่อมมีปัญหาและอุปสรรคเกิดขึ้นทั้ง
นั้น อีกทั้งยังทรงอาสาที่จะถวายชีวิตรับใช้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว ตรงกับสุภาษิตโบราณที่ว่า “อาสาเจ้าจนตัวตาย” นอกจากนั้น ยัง
ได้ถวายพระพรให้รัชกาลที่ ๕ ทรงฟื้ นจากอาการประชวรโดยเร็ว



ส่วนที่ ๑
พระราชนิพนธ์ของ ร.๕

เจ็บนานหนักอกผู้ บริรักษ์ ปวงเฮย
คิดใครลาลลาญหัก ปลดเปลื้อง
ความเหนื่อยแห่งสูจัก พลันสร่าง
ตูจักสู่พบเบื้อง หน้านั้นพลันเกษม
ยังราย ส่านอ
เป็นฝีสามยอดแล้ว ช่วยได้
ปวดเจ็บใครจักหมาย เศียรกลัด กลุ้มแฮ
ใช่เป็นแต่ส่วนกลาย นั่นนั้นเห็นจริง
ใครต่อเป็นจึ่งผู้ บาทา อยู่เฮย
คล่องได้
ตะปูดอกใหญ่ตรึ้ง แก้สัตว์ ปวงแฮ
จึง บ อาจลีลา ส่งข้าอัญขยม
เชิญผู้ที่เมตตา เปลี่ยนแปลง จริงนอ
ชักตะปูนี้ให้ มากครั้ง
เป็นเยี่ยง อย่างนา
ชีวิตมนุษย์นี้ เจ็ดข้างฝ่ายดี
ทุกข์และสุขพลิกแพลง ดีรฉาน
โบราณท่านจึงแสดง ขลาดด้วย
ชั่วนับเจ็ดทีทั้ง หย่อนเพราะ เผลอแฮ
ชีพสิ้นสติสูญ
เป็นเด็กมีสุขคล้าย หกคน
รู้สุกรู้ทุกข์หาญ เคลิบเคลิ้ม
ละอย่างละอย่างพาล เชิญเครื่อง
คล้ายกับผู้จวนม้วย ริกเร้าเหงาใจ
เกินพระ ลักษณ์นา
ฉันไปปะเด็กห้า ใคร่กล้ำ
โกนเกศนุ่งขาวยาวยล กลืนยาก
ถามเขาว่าเป็นคน แดกสิ้นสุดใบ
ไปที่ห่อศพเริ่ม มะนะเรื่องบำรุงกาย
ศิระกลุ้มอุราตรึง
กล้วยเผาเหลืองแก่ก้ำ จะลำบากฤทัยพึง
แรกก็ออกอร่อยจะ อุระรัดและอัตรา
นานวันยิ่งเครอะคระ บ ตริป้องอยุธยา
ทนจ่อซ่อมจิ้มจ้ำ บ ละเว้น ฤ วางวาย
ก็ บ พบซึ่งเงื่อนสาย
เจ็บนานนึกหน่ายนิตย์ จึงจะอุดแลเลยสูญฯ
ส่วนจิต บ มีสบาย
แม้หายก็พลันยาก
ตริแต่จะถูกรึง

กลัวเป็นทวิราช
เสียเมืองจึงนินทา
คิดใดจะเกี่ยงแก้
สบหน้ามนุษย์อายอย



ส่วนที่ ๒
พระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ

กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

ขอเดชะเบื้องบาท วรราชะปกศี-
โรตม์ข้าผู้มั่นมี มะนะตั้งกตัญญู
ได้รับพระราชทาน อ่านราชนิพันธ์ดู
ทั้งโคลงและฉันท์ตู ข้าจึงตริดำริตาม
นี้แท้ทั้งไผทสยาม
อันพระประชวรครั้ง วิตกพ้นจะอุปมา
เหล่าข้าพระบาทความ ทั้งรู้ใช่ว่าหนักหนา
ประสาแต่อยู่ใกล้ ให้หายได้ชิงถวาย
เลือดเนื้อผิเจือยา บ พบผู้จะพึงสบาย
กันมิเว้นทิวาวัน
ทุกหน้าทุกตาตู วะเหว่ว้ากะปิตัน
ปรับทุกข์ทุรนทุราย ทิศทางก็คลางแคลง
ดุจเหว่าพละนา- จะใช้หนักก็นึกแหนง
นายท้ายฉงนงัน จะไม่ทันธุรการ
ทุกข์ทวีทุกวันวาร
นายกลประจำจักร อันเคยไว้น้ำใจชน
จะรอก็ระแวง ก็ไม่ผิด ณ นิยม
อึดอัดทุกหน้าที่ จะเปรียบต่อก็พอกัน
เหตุห่างบ่ดียาน มีคราวหยุดพายุผัน
ตั้งระรอกกระฉอกฉาน
ถ้าจะว่าบรรดาลกิจ ก็แล่นรอดไม่ร้าวราน
เรือแล่นทะเลลม ก็คงล่มทุกลำไป
ธรรมดามหาสมุทร ฉะนี้อยู่ทุกจิตใจ
มีคราวสลาตัน ต้องจำแก้ด้วยแรงระดม

ผิวพอกำลังเรือ
หากกรรมจะบันดาล
ชาวเรือก็ย่อมรู้
แต่ลอยอยู่ตราบใด



วิเคราะห์คุณค่า

1.วิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้อหา
ด้านรูปแบบการประพันธ์

เป็นอินทรวิเชียรฉันท์ และ โคลงสี่สุภาพ ลักษณะคำประพันธ์ที่ใช้แต่ง ผู้แต่ง
เป็นโคลงสี่สุภาพและอินทรวิเชียรฉันท์ ซึ่งเหมาะสมแก่การเขียน จดหมาย เพื่อ
การสื่อสารลักษณะการแต่งถูกต้องตามฉันทลักษณ์บังคับของคำประพันธ์เป็น
ร้อยกรอง ที่ใช้ทั้งบรรยายโวหาร พรรณนา โวหาร คำอุปมา ทำสัญลักษณ์ อุป
ลักษณ์ สัมผัสอักษร-สระ ฯลฯ ซึ่งเป็นจดหมายปลา ญาติและเป็นพระราชหัต
เลขาฮังกา พระบรมวงศานุวงศ์ (เป็นสาสน์ตอบกลับ)

ด้านองค์ประกอบของเรื่อง
ผู้แต่งได้แต่ง เป็นพระราชหัตถเลขาอำลาพระบรมวงศานุวงศ์

(เป็นสาสน์ตอบกลับ) เน้นการสื่อสาร เป็นหลัก ซึ่งกล่าวถึงการ ถวายกำลัง
พระทัยในหลวงในเรื่องเหตุการณ์บ้านเมืองและอาการประชวรชาติไทยต้องการ
ผู้นำและศูนย์รวมจิตใจ ทุกอย่างต้องมี อุปสรรคแม้ว่าในที่สุดจะไม่สามารถ
ต้านทานสิ่งในได้ก็สามารถภูมิใจได้ว่าทำดีที่สุดแล้ว

๑o

ด้านโครงเรื่อง
การเขียนจดหมายโต้ตอบระหว่างพระมหากษัตริย์และคนสนิทของพระองค์

โดยเนื้อหาของ จดหมายส่วนแรกกล่าวถึงอาการป่วยความหนักใจและความ
อึดอัดใจของพระองค์ที่ไม่สามารถละทิ้ง บ้านเมืองไปได้และเนื้อหาในส่วนหลัง
เป็นการโตต้อนกลับมาของลูกน้องคนสนิทซึ่งมีเนื้อความให้กำลังใจ และถวาย
ชีวิตรับใช้พระมหากษัตริย์ของตน

ด้านฉากและบรรยากาศ
ในบทพระราชนิพนธ์ ไม่ได้กล่าวถึงโดยตรงถึงสถานที่ใดสถานที่หนึ่ง แต่ตัว

ประวัติศาสตร์ได้กล่าวว่า นายกวีพระราชนิพนธ์ขัดสีพันธกรณีได้ถูกกัดมาจาก
พระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยืมที่ ประชุม
เสนาบดี ลงวันที่ 10 เมษายน ร.ศ. 112 ขณะขึ้นเรือพระที่นั่งมหาจักรี หลังจาก
เสด็จพระราชดำเนิน สำรวจป้อนที่ด่านแ มาเกมฟ้า และการก่อสร้างป้อมกระ
จุลจอมเกล้า

๑๑

ด้านกลวิธีในการแต่ง
ผู้แต่งเลือกใช้ถ้อยคำและการนำเสนออย่างตรงไปตรงมา โดยมีความเปรียบใน
บางบท นำเสนอ โดยสร้างภาพพจน์อย่าง น่าดึงดูดและน่าสนใจ เช่น เสาต้นเป็น
สัญลักษณ์ หมายถึง อุปสรรค

2.วิเคราะห์ด้านคุณค่าด้านวรรณศิลป์

วรรณคดีด้านโวหาร

เป็นฝีสามยอดแล้ว ยังรายส่วนอ

ปวดเจ็บใครจักหมาย ช่วยได้

ใช่เป็นแต่ส่วนกลาย เศียรกลัด กลุ้มแฮ

ใครต่อเป็นจึงผู้ นั่นนั้นเห็นจริง

พรรณนาโวหาร กวีเลือกใช้คำง่ายๆ แต่สื่ออารมณ์ได้อย่างดี ทรงเล่าถึงพระอาการ

ประหารว่าเป็นผู้สามยอด และยังมีลำใช้เป็นผื่นไปทั่ว เจ็บปวดอย่างไม่น่าเชื่อ การ

ประชวรครั้งนี้มิใช่แต่พระวรกายแต่ยังทรงกลัดกลุ้มพระราชหฤทัยด้วยผู้ใดได้ เป็น

เช่นพระองค์จึงจะรู้อ ความเจ็บปวดว่ามากเพียงใด

๑๒

เปรียบตัวเหมือนอย่างม้า ที่เป็นพาหนยาน

ผูกเครื่องบังเหียนอาก ประจำหน้าพลับพลาชัย

อุปมาโวหา เปรียบตัวข้าพระพุทธเจ้าเหมือนอย่างม้าที่เป็นพาหนะผูกเครื่อง

พร้อมประจาอยู่ที่หน้าพลับพลา

ผิวทอดธุรนิ่ง บ วุ่นวิ่งเยียวยาทำ

ที่สุดก็สูญล่า เหมือนที่แก้ไม่หวาดไหว

ผิดกันแต่ถ้าแก่ ให้เต็มแย่จึงจมไป

ใครท่อนประมาทใจ ว่าขลาดเขลาและเมาเป็น

เทศนาโวหาร หากนิ่งเฉยไม่ขวนขวายที่จะแก้ไขหรือทำอะไรเลย ในที่สุดก็จะ

สูญเสียเรือทั้งลำเหมือนกันที่แก้ไขปัญหาไม่ได้ แตกต่างกันตรงที่ว่า ถ้ามีการ

แก้ไขอย่างเต็มกำลังความสามารถแล้วเรือยังจม ก็จะไม่มีใครสบประมาทได้

๑๓

เจ็บนานหนักอกผู้ บริรักษ์ ปวงเฮย

คิดใครลาลลาญหัก ปลดเปลื้อง

ความเหนื่อยแห่งซูจ๊ก พลันสร่าง

ตูจักสู่พบเบื้อง หน้านั้นพลันเกษม

แสดงถึงฐานะทางสังคมที่ร่ำรวย มั่งคั่ง ยิ่งใหญ่ ควรเคารพนับถือ

เนื่องจากมีผู้ดูแลรักษามากมายหลายคน คอยดูแลพระองค์




ฉันไปปะเด็กห้า หกคน

โกนเกศนุ่งขาวยล เคลิบเคลิ้ม

ถามเขาว่าเป็นคน เชิญเครื่อง

ไปที่หอศพเริ่ม ริกเร้าเหงาใจ

วิธีชีวิตด้านความเชื่อ และการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา



ดุจเหล่าพละนา วะเหว่ว้ากะปิตัน
นายท้ายฉงนงัน ทิศทางก็คลางแคลง
การรับวัฒนธรรมกาษาตะวันตกมาใช้ในภาษาไทย

๑๔

3.วิเคราะห์วรรณคดีด้านความงาม
อติพจน์
-กล้วยเผาเหลืองแก่ก้ำ เกินพระ ลักษณ์นา
-เลือดเนีย เจือยา ให้หายได้จะร่งถวาย

ค่าลัพภาส
จงคลายเหมือนหลายปี ละลืมเลิกละลายสูญ

จินตภาพด้านรสชาติ
แรกก็ออกอร่อยจะ ใคร่กล่า รสชาติอร่อย

จินตภาพด้านเสียง
ทนจ่อซ่อมจิ้มจ้ำ แตกสิ้นสุดใบ =ได้ยินเสียงส้อมที่จิ้มลงบนกล้วย
มีคราวสลาตัน ตั้งระลอกกระฉอกฉาน =ได้ยินเสียงน้ำเป็นในกระเพื่อม
อย่างแรงเพราะความสั่นสะเทือน

4.วิเคราะห์คุณค่าด้านสังคม
1. สะท้อนความคิด ความเชื่อของคนไทยในอดีตได้เป็นอย่างดี
2. ปลุกจิตสำนึกให้คนในชาติหวงแหนรักษาผืนแผ่นดินไทยไว้ให้ดำรงอยู่สืบไป
และตระหนักถึงความเหนื่อยยากของบรรพบุรุษที่ต้องยอมแลกด้วยชีวิต
เพื่อรักษาฝืนแผ่นดินนี้ไว้

๑๕

บรรณานุกรม



Jutalak Cherdharun.2564"ขัตติยพันธกรณี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วิชาภาษาไทย"

(ระบบออนไลน์).https://blog.startdee.com/(8 มิถุนายน 2564)





Panuwat Ruengbenjasakul.2562"สรุปเรื่องขัตติยพันธกรณี"(ระบบออนไลน์).
https://prezi.com/p/hei197mov6uw/presentation/(9 ธันวาคม 2562)


Click to View FlipBook Version