The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบความรู้มัลติมิเตอร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kung_komin, 2022-03-24 05:26:47

ใบความรู้มัลติมิเตอร์

ใบความรู้มัลติมิเตอร์

มลั ตมิ ิเตอร์ (Multimeter) เป็นมิเตอร์ทม่ี ี โครงสรา้ งมาจากมิเตอรม์ ฟู เมนต์เหมือนกนั ใช้
สภาวะการทางาน เมื่อมกี ระแสไหลผ่านมิเตอร์มูฟเมนต์เหมือนกนั สว่ นท่ีแตกต่างกนั ของมิเตอร์เหลา่ นี้ คอื
วงจรเบื้องตน้ ทถ่ี ูกนามาใช้ตอ่ เขา้ กับส่วนเคลอ่ื นไหวของมเิ ตอร์มูฟเมนต์ หากนาเอาวงจรเบอื้ งต้นของ
มเิ ตอร์ เหลา่ นัน้ มารวมสรา้ งไว้ด้วยกัน มเิ ตอร์เหล่าน้จี ะถกู เรยี กรวมกันว่ามัลติมเิ ตอร์ (Multimeter) หรอื
(VOM Volt - Ohm - Meter) รูปรา่ งของมลั ตมิ เิ ตอร์ แสดงดงั รูปที่ 1

รูปท่ี 1 อะนาลอ็ กมัลตมิ เิ ตอร์
จากรปู ที่ 1 เป็นมลั ตมิ ิเตอรแ์ บบมาตรฐานที่ถูกผลติ ข้นึ มาจาหนา่ ย เพ่อื การใชง้ านทั่วไป ภายใน
ตัวมัลตมิ เิ ตอรส์ ามารถใชเ้ ปน็ มเิ ตอร์ได้ 4 ชนดิ คอื ดชี โี วลตม์ เิ ตอร์ (DCV) เอชีโวลตม์ เิ ตอร์ (ACV) ดีซมี ลิ ลิ
แอมมเิ ตอร์ (DCmA) และโอห์มมิเตอร์ (Ω) นอกจากนยี้ งั สามารถนาไปวดั ค่าปรมิ าณไฟฟา้ อนื่ ๆ ไดอ้ กี
หลายอยา่ ง เชน่ วดั ความดงั ของสญั ญาณเสยี งเปน็ ตน้
การเลือกใช้งานมัลตมิ ิเตอร์
มัลตมิ เิ ตอร์ทถ่ี กู สร้างขึน้ มาใช้งานมากหลายชนิด หลายลักษณะและหลายบริษัทผ้ผู ลิตทาใหม้ รี ุ่น
ของมัลตมิ ิเตอรถ์ กู ผลติ ออกจาหน่ายมากมาย แต่ละรนุ่ แต่ละแบบอาจมรี ายละเอียดปลีกย่อยแดกตา่ งกนั
ออกไปมลั ติมิเตอรบ์ างรนุ่ ถกู สรา้ งใหส้ ามารถวัดค่าปริมาณไฟฟา้ บางชนดิ ไดเ้ ป็นพเิ ศษกวา่ ปกติ เชน่ วดั
แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงและแรงดันไฟกระแสสลับไดต้ ่าเปน็ พเิ ศษ บางร่นุ อาจจะวัดกระแสไฟฟ้าได้สงู เปน็
พเิ ศษไดอ้ กี ดว้ ยการท่ีมัลตมิ เิ ตอร์แต่ละรนุ่ มคี ุณสมบตั แิ ตกต่างกนั ย่อมมผี ลตอ่ ราคาทแี่ ตกต่างกันไปด้วย
ดังนน้ั การเลือกซ้ือและเลือกใช้งานตอ้ งพจิ ารณาให้เหมาะสมกับงานท่ีจะนามัลติมเิ ตอรไ์ ปใช้

ครูจิราวรรณ

สว่ นประกอบของมลั ตมิ ิเตอร์
มลั ตมิ เิ ตอร์แต่ละร่นุ แต่ละแบบแต่ละบรษิ ัทมคี วามแตกตา่ งกันไปในส่วนความละเอยี ดของเครอ่ื ง

บ้าง แตก่ ารใช้งานการวัดค่การอา่ นคจ่ ะไมแ่ ตกตา่ งกนั ดังนน้ั การทาความเข้าใจในการใช้งานมลั ติมเิ ตอร์
เพยี งรนุ่ ใครุ่นหน่ึงก็สามารถนาหลกั การไปใชง้ านได้กบั มลั ตมิ เิ ตอร์รุน่ อ่นื ๆ ได้เช่นเดียวกัน

รูปที่ 2 ส่วนประกอบของมลั ตมิ เิ ตอร์

สว่ นประกอบของสเกลหนา้ ปัดมลั ติมเิ ตอร์
สเกลหนา้ ปัดของมลั ติมิเตอรแ์ ตล่ ะร่นุ แต่ละแบบและแต่ละบริษทั มีความแตกตา่ งทั้งส่วนตาแหนง่

สเกลตัวเลขกากับบนคาสเกล ระยะความหา่ งของสเกล และปรมิ าณไฟฟา้ ทแี่ สดงคไ่ วับนสเกล แต่การวดั
คา่ การอ่านคต่ อ้ งปฏิบัตใิ นลักษณะเดยี วกัน ดงั นนั้ การศึกษาทาความเข้าใจลักษณะสเกลหนา้ ปัดของมลั ติ
มติ อร์พยี งร่นุ เดียวกส็ ามารถนาไปประยุกตใ์ ช้งานไดก้ ับสเกลหนัาปิดของมสั ติมเิ ตอรท์ ุกรุน่ ไดส้ เกลหน้าปดิ
ของมัลติมิเตอร์ แสดงดงั รูปท่ี 3

รปู ที่ 3 ส่วนประกอบของสเกลหนา้ ปัดมัลติมเิ ตอร์

ครูจริ าวรรณ

จากรปู ที่ 3 สกลหน้าปัดของมัสตมิ เิ ตอร์ ประกอบดว้ ยสเกล ตามหมายเลข ดังน้ี
หมายเลข 1 สเกล Ω เป็นสเกลสาหรับอา่ นเม่อื ใชว้ ดั ค่าความต้านทาน
หมายเลข 2 สเกล DCV , A เปน็ สเกลสาหรับอ่านคา่ เม่อื ใชย้ ่านการวัดแรงดันกระแสตรง และยา่ นการวัดกระแสตรง
หมายเลข 3 สเกล ACV เปน็ สเกลสาหรบั อา่ นคา่ เม่ือใชย้ ่านการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ
หมายเลข 4 สเกล hFE เป็นสเกลสาหรบั อา่ นค่าเมื่อใช้วดั คา่ อตั ราการขยายกระแสตรง
หมายเลข 5 สเกล ICEO และLI (uA , mA) เป็นสกลสาหรบั อา่ นคา่ เม่อื ใชว้ ดั ICEO ของทรานซิสเตอรแ์ ละค่า LI
หมายเลข 6 สเกล LV (V) เปน็ สเกลสาหรบั อา่ นคา่ เมอ่ื ใช้วัดคาแรงคันตกครอ่ มจุดวดั ขณะใชย้ ่านวดั ความตา้ นทาน
หมายเลข 7 สเกล dB เปน็ สเกลสาหรบั อา่ นคา่ เมอ่ื ใช้วัดคา่ เดซเิ บล
หมายเลข 8 เป็นแถบเงาสาหรบั ช่วยในการอ่านค่าใหเ้ ทีย่ งตรงย่านการวัดและสวติ ช์เลือก

สวิตชเ์ ลอื ก
สวติ ช์เลอื กของมัลตมิ ิเตอร์แบง่ เป็น 2 สว่ น คือ สวติ ช์เลอื กกระแสตรงและสวิตซเ์ ลอื ก

กระแสสลับ สวติ ช์เลือกกระแสตรงเป็นสวติ ซเ์ ลอื กหมวดการวัดคา่ กระแส และแรงดนั ประเภทกระแสตรง
สวติ ซ์เลอื กกระแสสลบั เป็นสวติ ห์เลอื กหมวดการวัดค่ากระแส และแรงดันไฟฟ้าประเภทกระแสสลับ

ยา่ นการวัด
สวติ ชเ์ ลือกยา่ นการวดั เปน็ สวิตช์เลือกการวัดทางไฟฟา้ ในแตล่ ะชนิดดงั แสดงในรปู ท่ี 4

รูปท่ี 4 ยา่ นการวัด
สวติ ซเ์ ลือกย่านวดั ประกอบดว้ ยย่านการวดั ดงั น้ี

ก. ย่านการวัดค่าความตา้ นทาน คือ R X 1, R X 100 , R X 10k
ข. ยา่ นการวัดค่ากระแส คือ ย่าน 1 mA , 10 mA , 100 mA , 500 mA
ค. ยา่ นการวัดแรงดนั ไฟฟา้ 2.5 V. 10 V. 50 V. 250 V. 500 V. ใชร้ ่วมกบั สวิตชเ์ ลอื ก AC , DC

เพื่อเลือกแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงหรือแรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลับ

ครูจิราวรรณ

การใชง้ านมลั ตมื เิ ตอร์

การใชม้ ัลติมเิ ตอรว์ ดั ความตา้ นทาน
กอ่ นทาการวดั จะต้องตัดการเชื่อมตอ่ หรอื ปิดวงจรไฟฟา้ ทัง้ หมด เมอ่ื จะทาการทดสอบสายไฟ

จะต้องไม่มกี ระแสไฟฟา้ ไหลอยูอ่ ย่างสมบรู ณ์ เพอ่ื ความถูกตอ้ งแม่นยาในการวัด และเพอ่ื ความปลอดภัย
ของเราเอง เพราะโอห์มมิเตอรจ์ ะจ่ายแรงดนั และกระแสไฟฟา้ เอง ดังนนั้ จึงไมต่ อ้ งการแหล่งจา่ ยไฟอ่ืนๆ
ใชส้ ายสดี าเสยี บเข้าที่ช่องลบ (-) และสายสีแดงเสยี บเข้าท่ีช่องบวก (+) ของมัลตมิ ิเตอรแ์ ละให้หมุนสวติ ช์

ไปที่ตาแหนง่ Ω

การเลือกเรนจ์
การเลอื กเรนจใ์ ห้ประมาณวา่ ถ้าจดุ วดั มีคา่ ความตา้ นทานถกู ต้อง จะทาใหเ้ ขม็ มเิ ตอร์ช้ีบอกคา่ ที่

บริเวณกลางสเกล (ในจดุ วัดท่เี ป็นไปได้) ซ่งึ จะทาใหค้ ่าท่ไี ด้จากการวดั มีความคลาดเคลื่อนตา่
จุดวัดที่ไมท่ ราบค่าความต้านทาน ให้ตง้ั เรนจ์ วดั กอ่ น วัดแล้วเข็มมเิ ตอรไ์ มข่ ้ึนหรอื ขึ้นน้อย จึง

จะเปล่ยี นไปใช้เรนจ์ที่สงู ขึน้ ตามลาดับ จนอ่านคา่ ได้ทบ่ี ริเวณกลางสเกล ยกเว้นเป็นการวดั ค่าทีต่ ่ามาก
ดว้ ยเรนจ์ คา่ ท่อี ่านได้กอ็ ยูบ่ ริเวณด้านขวามือของสเกล หรือเปน็ การวัดคา่ ท่สี งู มากดว้ ยเรนจ์ k คา่ ท่ี
อา่ นไดก้ ็จะอยู่บรเิ วณดา้ นซา้ ยมอื ของสเกลรายละเอยี ดดังตารางตอ่ ไปนี้

เรนจ์ ค่าทใี่ ชว้ ดั ได้ ค่าทคี่ วรใช้วัด

1 0 - 0.2 - 2k 0 - 50

10 0 - 2 - 20k 50 - 500

1k 0 - 200 - 2M 5k - 50k

10k 0 – 2k - 20M 50k - 20M

การวดั
สายวดั สีดาเสยี บเขา้ –COM และสายวดั สแี ดงเสยี บแจ็ก + การวัดทีต่ ้องการทราบค่าความ

ต้านทานที่ถูกตอ้ ง จะต้องปรับซโี รโอห์ม (zero ohm adjustment) ก่อน โดยนาปลายสายวดั ท้ังสองมา
แตะกันตามรูปที่ 5 (A) จะทาให้เข็มมิเตอรข์ ึน้ ประมาณสดุ สเกลด้านขวามือ แล้วปรบั ปมุ่ ปรบั 0 ADJ
(ปมุ่ ปรบั ซโี รโอห์ม) ให้เขม็ มเิ ตอร์ช้ีทค่ี า่ 0 ในสเกลพอดี ถ้าเปน็ การวดั ท่ตี ้องการทราบค่าโดยประมาณ
จะไม่ปรบั ซีโรโอห์มกไ็ ด้ ทกุ คร้ังทเี่ ปลยี่ นเรนจใ์ หม่และเป็นการวัดท่ตี อ้ งการทราบคา่ ท่ีถูกตอ้ ง กจ็ ะต้อง
ปรบั ซีโรโอห์มใหม่ การวดั ให้ใช้สายวดั ท้ังสองวดั กับจุดวัดอยา่ งขนานตามรูปที่ 5 (B) สายวัดใดจะวดั ท่ี
จดุ วดั ใดก็ได้

รปู ท่ี 5 การปรับซโี รโอหม์ และการวดั ค่าความตา้ นทาน ครูจริ าวรรณ

ห้ามวัดจดุ ทมี่ แี รงดัน (โดยเฉพาะเรนจ์ 1 และ 10) จะทาใหม้ ิเตอร์เสียได้ โดยให้ปดิ แหล่งจา่ ยไฟของ
วงจร หรอื ปลดอุปกรณอ์ อกวัดนอกวงจร

เม่อื ใช้เรนจ์ 10k หรือ 1k ไมใ่ หจ้ ับถกู ปลายสายวัดทง้ั 2 สายพรอ้ มกนั จะทาให้คา่ ทไ่ี ดจ้ ากการ
วัดต่ากว่าค่าจริง เพราะความตา้ นทานของรา่ งกายผูว้ ัดตอ่ ขนานกบั จุดวัด แตถ่ ้าจบั ถกู ปลายสายวัดเดยี ว
จะไมม่ ผี ลดังกลา่ ว
การอา่ นค่า

อ่านคา่ ที่สเกล โดยมีรายละเอยี ดดงั ตารางตอ่ ไปน้ี
เรนจ์ การอา่ นคา่
1 ค่าที่อา่ นไดเ้ ปน็ คา่ ของจุดวดั
10 ค่าที่อา่ นไดค้ ณู ดว้ ย 10 จะเปน็ ค่า ของการวดั
1k คา่ ที่อ่านไดค้ ูณด้วย 1k จะเปน็ ค่า ของการวดั
10k ค่าทอี่ า่ นไดค้ ูณดว้ ย 10k จะเปน็ คา่ ของการวัด

ตวั อย่างการอา่ นคา่

รูปท่ี 6 สเกล เข็มมิเตอรช์ ี้ทคี่ ่า 20
รูปที่ 6 เขม็ มเิ ตอรช์ ้ีทเี่ ลข 20 จงึ อา่ นได้ 20
ถ้าใชเ้ รนจ์ 1 จุดวดั จะมีคา่ 20
ถ้าใชเ้ รนจ์ 10 จุดวัดจะมคี ่า 200
ถ้าใชเ้ รนจ์ 1k จดุ วดั จะมีค่า 20k
ถ้าใชเ้ รนจ์ 10k จุดวดั จะมีคา่ 200k

ครจู ิราวรรณ

การใชม้ ัลตมิ ิเตอร์วดั แรงดนั ไฟฟา้ กระแสตรง (DCV)
สายวดั สดี าเสียบแจก็ –COM และสายวดั สแี ดงเสียบแจก็ + ใชส้ ายวัดท้งั สองวัดจุดวดั อยา่ งขนาน

และตอ้ งตอ่ สายวดั ให้ตรงกับขวั้ แรงดนั ของจดุ วัดดว้ ยคือ สายวดั สดี าต่อทข่ี วั้ ลบ และสายวดั สีแดงต่อท่ี
ขวั้ บวก ถา้ ตอ่ สายวดั กลับข้วั เขม็ มิเตอรจ์ ะดีกลับ อาจทาให้มิเตอร์เสยี ได้

เรนจ์ คา่ ท่ีใช้วดั ได้ ค่าท่คี วรใช้วดั

DC 0.1V 0-0.1V 0-0.1V
DC 0.5V 0-0.5V 0.1-0.5V
DC 2.5V 0-2.5V 0.5-2.5V
DC 10V 0-10V 2.5-10V
DC 50V 0-50V 10-50V
DC 250V 0-250V 50-250V
DC 1000V 0-1000V 250-1000V

อา่ นคา่ ที่สเกล DC V.A ซ่ึงเป็นสเกลของเรนจ์แรงดันสลบั AC 10V ข้ึนไป และเรนจ์กระแตรงดว้ ย
สเกลนีแ้ บ่งเป็นสเกลย่อย 3 สเกล คือ สเกลบน ค่าในสเกล 0-250 สเกลกลาง ค่าในสเกล 0-50 สเกลล่าง
คา่ ในสเกล 0-10 การอ่านคา่ มีรายละเอียดดังตารางตอ่ ไปนี้

เรนจ์ การอ่านคา่

DC 0.1V อ่านคา่ ทส่ี เกลล่างของสเกลหมายเลข 2 ค่าที่อ่านได้หารด้วย 100 จะเปน็ คา่ V ของจุดวัด หรอื ใหเ้ ทยี บคา่ 10
ในสเกลเท่ากับ 0.1V
DC 0.5V อา่ นคา่ ท่ีสเกลกลางของสเกลหมายเลข 2 ค่าท่ีอ่านได้หารดว้ ย 100 จะเป็นค่า V ของจดุ วัด หรอื ให้เทยี บคา่ 50
ในสเกลเท่ากบั 0.5V
DC 2.5V อ่านคา่ ทส่ี เกลบนของสเกลหมายเลข 2 คา่ ทีอ่ ่านไดห้ ารด้วย 100 จะเปน็ ค่า V ของจุดวัด หรอื ใหเ้ ทียบค่า 250
ในสเกลเทา่ กับ 2.5V
DC 10V อา่ นค่าทีส่ เกลลา่ งของสเกลหมายเลข 2 คา่ ที่อา่ นได้ จะเป็นคา่ V ของจดุ วัด
DC 50V อ่านคา่ ทส่ี เกลกลางของสเกลหมายเลข 2 คา่ ทีอ่ า่ นได้ จะเปน็ ค่า V ของจดุ วดั
DC 250V อ่านค่าท่สี เกลบนของสเกลหมายเลข 2 ค่าท่อี ่านได้ จะเป็นคา่ V ของจุดวัด

DC 1000V อ่านคา่ ทีส่ เกลลา่ งของสเกลหมายเลข 2 คา่ ทอี่ ่านไดค้ ูณด้วย 100 จะเป็นค่า V ของจุดวัด หรอื ให้เทียบคา่ 10 ใน
สเกลเท่ากบั 1000V

ตัวอยา่ งการอ่านค่า

DACC 5V0.AV UP ACD5C0VV.UAP

รูปที่ 7 สเกล DC V.A เข็มมิเตอร์ช้ีท่ีคา่ 150 ในสเกลบน ครจู ริ าวรรณ
ตาแหนง่ ท่ีเขม็ มเิ ตอรช์ ใ้ี นรูปที่ 7
สเกลบนคือเลข 150 ถา้ ใชเ้ รนจ์ DC 2.5 จุดวดั จะมีคา่ 1.5V ถ้าใชเ้ รนจ์ DC 250V จะมีค่า 150V
สเกลกลางคือเลข 30 ถ้าใช้เรนจ์ DC 50 จดุ วัดจะมีค่า 30V ถ้าใชเ้ รนจ์ DC 0.5V จะมีค่า 0.3V
สเกลล่างคอื เลข 6 ถา้ ใชเ้ รนจ์ DC 10 จุดวดั จะมีค่า 6V ถ้าใช้เรนจ์ DC 1000V จะมคี ่า 600V

การใชม้ ัลติมิเตอรว์ ดั แรงดันไฟฟา้ กระแสสลบั (ACV)

การวัด ใชส้ ายวัดสดี าเสยี บแจ็ก –COM และสายวัดสีแดงเสยี บเจก๊ + นาสายวดั ทง้ั สองวัด
กบั จุดวัดอยา่ งขนานหรอื คร่อม สายวดั ใดจะวดั จดุ ใดกไ็ ด้ ให้ระมัดระวังกว่าปกติเม่อื วัดแรงดนั กระแสสลับที่
มีคา่ สูงตั้งแต่ 200 V ขนึ้ ไปดงั นี้

- ตรวจสอบว่าได้ตั้งเรนจ์ AC 250V หรือ AC 1000V และสายวัดไดเ้ สียบแจก็ ไว้เรียบร้อยแล้วหรือไม่
- ใหป้ ิด (off) สวติ ช์แหลง่ จา่ ยไฟของวงจรก่อนจะต่อสายวดั เม่ือต่อสายวัดแล้วจึงเปิด (on) สวติ ช์
- อย่าแตะต้องสายวัดและมเิ ตอร์ขณะวัด เมื่อวัดเรียบรอ้ ยแล้ว ใหป้ ิดสวิตชก์ อ่ นจะปลดสายวดั ออกจาก
จดุ วัด

การอา่ นค่า เรนจ์ AC 10V อา่ นค่าที่สเกล AC10V เรนจ์อื่นอ่านท่ีสเกล DC V.A การอา่ นค่ามี
รายละเอยี ดดงั ตารางตอ่ ไปนี้

เรนจ์ การอา่ นค่า

AC 10V อา่ นค่าทีส่ เกลหมายเลข 3 ค่าท่ีอ่านไดเ้ ป็นคา่ V ของจุดวัด
AC 50V อ่านค่าท่สี เกลกลางของสเกลหมายเลข 2 ค่าทอ่ี า่ นได้เป็นคา่ V ของจุดวัด
AC 250V อ่านคา่ ที่สเกลบนของสเกลหมายเลข 2 คา่ ทีอ่ า่ นได้เป็นค่า V ของจดุ วดั
AC 1000V อา่ นคา่ ทส่ี เกลลา่ งของสเกลหมายเลข 2 ค่าท่ีอ่านได้คณู ด้วย 100 เป็นค่า V ของจุดวัด

ตัวอยา่ งการอา่ นค่า

DACC 5V0.AV UP ACD5C0VV.UAP

รปู ท่ี 8 สเกล DC V.A เขม็ มเิ ตอร์ช้ีทค่ี า่ 100 ในสเกลบน
สเกลบนเข็มช้ที ีเ่ ลข 100 จงึ อา่ นได้คา่ 100 เม่อื ใช้เรนจ์ AC 250V จุดวัดจะมคี ่า 100V
สเกลกลางเข็มชท้ี เี่ ลข 20 จึงอ่านไดค้ า่ 20 เม่ือใช้เรนจ์ AC 50V จดุ วัดจะมีค่า 20V
สเกลลา่ งเขม็ ช้ที เี่ ลข 4 คูณด้วย 100 จงึ อา่ นได้ค่า 400V เมอื่ ใชเ้ รนจ์ AC 1000V จุดวัดจะมีค่า 400V

การใช้มลั ติมเิ ตอรว์ ดั กระแสไฟฟา้ ของไฟฟา้ กระแสตรง (DCA)
การวัดการไหลของกระแสไฟฟา้ ในวงจร จะต้องตดั สายไฟในวงจรออก และต่อสายของมเิ ตอร์

อนุกรมกบั วงจร และใหห้ มนุ สวิตช์ไปที่ตาแหนง่ DCA
ถ้ากระแสไฟฟ้าไมเ่ กิน 2.5 มลิ ลแิ อมป์ หมุนสวิตชไ์ ปที่ 2.5 DCA
ถา้ กระแสไฟฟ้าไม่เกนิ 25 มิลลิแอมป์ หมนุ สวิตช์ไปที่ 25 DCA
ถ้ากระแสไฟฟ้าไม่เกนิ 250 มิลลแิ อมป์ หมุนสวติ ชไ์ ปที่ 250 DCA

ถา้ เป็นดจิ ทิ ลั มลั ตมิ ิเตอร์ สายสีแดง (+) เสียบเขา้ ท่ีตาแหนง่ 10 ADC ส่วนสายสดี า (-)เสียบที่ตาแหน่งเดิม
** หมายเหตุ : ถา้ เข็มชเ้ี คลอ่ื นทตี่ กี ลับ แสดงวา่ ต่อสายไฟผดิ ดา้ น ให้ทาการสลบั สายไฟใหมถ่ ้าเป็นดิจิทัลมัล
ติมเิ ตอร์ จะแสดงเคร่อื งหมายลบ

ครูจริ าวรรณ

การเลอื กใช้เรนจจ์ ะมีรายละเอีดยดงั ตารางต่อไปนี้

เรนจ์ ค่าทีว่ ดั ได้ คา่ ทคี่ วรใช้วัด
DC 50 uA 0-50 A 0-50 A
DC 2.5mA 0-2.5mA 50 A-2.5mA
DC 25mA 0-25mA 2.5mA-25mA
DC 250mA 0-250mA 25mA-250mA

การอ่านค่าจะอ่านคา่ จากสเกลของเรนจ์แรงดนั ไฟสลับ ไฟตรง สเกลนมี้ สี เกลย่อย 3 สเกล แต่ใชใ้ นยา่ นการวัดกระแสตรง
เพียง 2 สเกลคือ สเกล 0-250 และ สเกล 0-50

DACC 5V0.AV UP ACD5C0VV.UAP

อ่านคา่ ได้ รูปท่ี 9 เข็มชีม้ เิ ตอร์ทต่ี าแหนง่ 6.75, 32.5 และ 165

ยา่ น 0-50 uA อา่ นคา่ ได้ = 32.5 uA
ย่าน 0-2.5 mA อ่านค่าได้ = 1.675 mA
ย่าน 0-25 mA อ่านค่าได้ = 16.5 mA
ย่าน 0-250 mA อา่ นคา่ ได้ = 165 mA

ข้อควรระวงั ในการใชม้ ลั ตมิ ิเตอร์
1. อยา่ ใหม้ ลั ติมิเตอรม์ กี ารกระทบกระเทือนอยา่ งแรง เชน่ ตก หลน่ จากที่สูง เพราะจะทาให้
เครื่องมือวดั ชารุดเสยี หาย
2. ควรวางมลั ตมิ ิเตอรใ์ นตาแหนง่ ราบ (แนวนอน) ขณะใช้งานและเลกิ ใชง้ าน
3. กอ่ นทาการวดั ทกุ คร้ังงตอ้ งแนใ่ จวา่ เลอื กยา่ นการวัดถกู ตอ้ งเสมอ
4. ต้ังคา่ สเกลสงู สดุ ของยา่ นการวดั ขณะวดั จดุ ที่ไม่ทราบค่าแนน่ อน
5. หา้ มใช้ยา่ นวดั โอหม์ วัดคา่ แรงดันไฟตรงหรือแรงดนั ไฟสลบั
6. เม่ือวดั แรงดนั ไฟตรงตอ้ งใชส้ ายวัดใหถ้ ูกขัว้ +- เสมอ
7. เมอ่ื เลอื กยา่ นวัดโอหม์ ไม่ควรใหป้ ลายสายวัดแตะกันนานเกนิ ไป
8. เมือ่ เลกิ ใช้งานควรถอดสายวัดออกและปรบั สวิตชเ์ ลือกยา่ นไปท่ี OFF
9. ไม่ควรให้มลั ติมเิ ตอร์เกดิ Overload (เกินสเกล) บอ่ ยครัง้ ขณะทาการวดั ต้องดตู าแหน่งของยา่ นวดั
การวดั ให้เหมาะสมกบั วงจรทจี่ ะวดั
10. มลั ตมิ เิ ตอร์ทไี่ ม่ไดใ้ ช้เปน็ เวลานาน ก่อนใช้ควรหมนุ Function และ Range switch ไปมาเพอื่ ลด
ความฝืดและใหห้ นา้ สมั ผัสไฟฟ้าทีด่ ี
11. ควรจัดเกบ็ มัลติมเิ ตอรใ์ หอ้ ยู่ในเครอ่ื งหอ่ หมุ้ (Case) เสมอ

ครจู ริ าวรรณ


Click to View FlipBook Version