The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วย1_ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by janny_book, 2021-11-05 03:15:25

หน่วย1_ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

หน่วย1_ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

๑หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี

ประวัตแิ ละความสาคญั

ของพระพทุ ธศาสนา

จุดประสงค์การเรยี นรู้
๑. อธิบายการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาทตี่ นนบั ถอื สู่ประเทศไทยได้
๒. วเิ คราะหค์ วามสาคัญของพระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาที่ตนนับถือทม่ี ตี ่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทยรวมทัง้ การพัฒนาตนและครอบครัวได้

การทาสังคายนา

“ส” รว่ มกัน พร้อมกัน
“คายนา” การสวด การสาธยาย

• การสวดพร้อมกัน หรอื รว่ มกันสวด
• การรอ้ ยกรอง หรือการจัดหมวดหม่พู ระธรรมวนิ ยั

การทาสังคายนา ได้รบั การทาตดิ ตอ่ กันมาหลายครงั้ ทง้ั ในประเทศอนิ เดยี
และประเทศอนื่ ๆ รวมทง้ั ส้ิน ๑๐ ครั้ง

ดนิ แดนสวุ รรณภูมิ ทีต่ ั้งของประเทศไทยในปจั จุบนั รวมไปถงึ
ดินแดนของประเทศเพ่อื นบ้านใกล้เคียงทอ่ี ยูร่ อบๆ
นับถือศาสนาและลัทธิ ในอดีตเรยี กรวมๆ วา่
ความเช่อื แตกต่างกนั
“สุวรรณภมู ”ิ

นบั ถอื พระพุทธศาสนา

นบั ถือศาสนาพราหมณ์ - ฮนิ ดู

นับถอื บูชาภตู ผีปศี าจ ความเชือ่ ที่มตี อ่
ปรากฏการณธ์ รรมชาติ

นกิ ายเถรวาท การนับถือ นกิ ายมหายาน
พระพุทธศาสนา
• อาณาจกั รทวารวดี ในดนิ แดนสวุ รรณภูมิ • อาณาจกั รศรีวิชยั
• อาณาจกั รพกุ าม
• อาณาจกั รหรภิ ุญชยั

ยุคของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

ก่อนปี พ.ศ. ๕๐๐

ยุคเถรวาทสมัยพระเจา้ อโศกมหาราช พระเจ้าอโศกมหาราช ได้มีการทานุบารุงพระพุทธศาสนาจนมีความรุ่งเรือง
ทรงจัดให้มีการสังคายนาคร้ังท่ี ๓ และมีการเผยแผ่พระพุทธศาสนามายังในประเทศ
พ.ศ. ๑๓๐๐ ไทยมหี ลักฐาน อาทิ สถปู เจดีย์ ธรรมจกั รกวางหมอบ

ยุคมหายาน ประมาณ พ.ศ.๑๓๐๐ อาณาจักรศรีวิชัยเรืองอานาจมาก มีอิทธิพลครอบคลุมพื้นที่
ทางคาบสมุทรตอนใต้ ตลอดจนหมู่เกาะชวาและสุมาตรา รวมไปถึงบริเวณภาคใต้
พ.ศ. ๑๖๐๐ ของไทย นับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน โดยมีหลักฐานต่างๆ อาทิ
พ.ศ. ๑๖๙๖ พระโพธสิ ัตว์อวโลกเิ ตศวรทท่ี าดว้ ยสาริด

ยุคเถรวาทแบบพุกาม พระเจ้าอนุรุทธมหาราช มหากษัตริย์ผู้ทรงอิทธิพลของอาณาจักรพุกาม แผ่ขยาย
อานาจเข้ามาครอบครองอาณาจักรต่างๆ ทางตอนเหนือของไทยจนเฟื่องฟู เรียกว่า
“นิกายเถรวาทพุกาม” หลักฐานสาคัญที่พบ ได้แก่ เจดีย์วัดเจ็ดยอด จังหวัดเชียงใหม่
ทสี่ ร้างเลยี นแบบเจดียพ์ ุทธคยาในอินเดยี

ยุคเถรวาทแบบลังกาวงศ์ พระเจ้าปรากรมพาหุมหาราชกษัตริย์ลังกา ได้ทรงทานุบารุงพระพุทธศาสนา
โดยรวมพระสงฆ์ให้เป็นนิกายเดียว มีการสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ ๗ ทาให้
พระพทุ ธศาสนารงุ่ เรอื งมากขึน้ พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์นี้เป็นแบบที่นับถือมา
จนปัจจบุ ัน

พระพุทธศาสนาแบบลงั กาวงศใ์ นประเทศไทย

สมยั สุโขทัย สมยั ลา้ นนา

วัดมหาธาตุ พระธาตุดอยสเุ ทพ

จ.สโุ ขทัย จ.เชยี งใหม่

สมัยอยธุ ยา

วัดพระศรสี รรเพชญ์

จ.พระนครศรอี ยธุ ยา

สมัยธนบรุ ี สมัยรัตนโกสินทร์

วัดอรณุ ราชวราราม วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร

ความสาคญั ของพระพุทธศาสนาตอ่ สังคมไทย

พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาประจาชาตไิ ทย
พระพทุ ธศาสนาเปน็ สถาบนั หลกั ของสังคมไทย

พระพทุ ธศาสนาเป็นสภาพแวดลอ้ มที่กว้างขวาง
และครอบคลมุ สังคมไทย

พระพทุ ธศาสนา

เปน็ ศาสนาประจาชาตไิ ทย

• คนไทยสว่ นใหญ่ใหก้ ารยอมรบั นับถือพระพทุ ธศาสนา
• มสี ญั ลักษณแ์ ทนพระพทุ ธศาสนา ในสถานท่ีราชการ
• พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพทุ ธมามกะและอคั รศาสนปู ถัมภก
• กาหนดให้วนั สาคัญทางพระพทุ ธศาสนาเปน็ วนั หยุดราชการ

พระพทุ ธศาสนา

เปน็ สถาบันหลกั ของสังคมไทย

• พระพุทธศาสนาเป็นสถาบันท่ีอยู่คชู่ าตไิ ทย
• พระมหากษัตริย์ไทยทรงเป็นพุทธมามกะ
• พระมหากษัตริยไ์ ทยทรงเปน็ อัครศาสนปู ถัมภก
• รฐั บาลไทยสง่ เสริมสนบั สนนุ พระพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนา
เปน็ สภาพแวดล้อมทกี่ วา้ งขวางและครอบคลมุ สงั คมไทย

• มวี ัดและสานักสงฆ์มากมายทว่ั ประเทศ

• มปี ชู นียสถาน ปชู นยี วัตถุมากมาย

• ประเพณีพิธีกรรมต่างๆ ของคนไทยมาจากพระพทุ ธศาสนา

• นสิ ยั และมารยาทไทยมาจากรากฐานทางพระพุทธศาสนา

• ภาษาและวรรณคดไี ทยมอี ิทธิพลมาจากพระพทุ ธศาสนา พ.ศ.
• มีการนับศักราช เปน็ พุทธศักราช

เบญจศลี หลักธรรมทว่ี ่าด้วยการรกั ษากายวาจาให้เรยี บรอ้ ย เว้นจากความชวั่ ๕ ประการ

๑. เวน้ จากการฆ่า การเบียดเบียนสตั วโ์ ลก
ทง้ั ปวง

๒. เว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เขามิได้ให้
การฉอ้ โกง การทาลายของผ้อู นื่

๓. เว้นจากการประพฤตผิ ดิ ในกาม ไม่
ละเมิด ส่งิ ทีผ่ ้อู น่ื หวงแหน

๔. เว้นจากการพูดเท็จ

๕. เวน้ จากการดม่ื นา้ เมา และสงิ่ เสพติด
ท้งั ปวง

เบญจธรรม หลักธรรมท่คี ู่กบั เบญจศีล มงุ่ เน้นการกระทาเพ่ิม มิใช่การละเว้นอย่างเดยี ว มี ๕ ประการ

๑. มเี มตตา กรณุ า

๒. หาเลย้ี งชีพในทางสจุ ริต

๓. สงั วรในกาม ควบคุมตนในกามารมณ์

๔. มคี วามสตั ย์
๕. ไม่ประมาท ระลึกอยเู่ สมอว่าสง่ิ ใดควร
สงิ่ ใดไมค่ วร

คณุ ธรรมทน่ี าไปสคู่ วามสาเร็จ ๔ ประการ

ความมใี จรกั ในส่ิงท่ีกาลงั ต้งั ใจทา ความพยายามเขม้ แขง็ อดทนทจ่ี ะทา

ฉนั ทะ
วิริยะ

อทิ ธิบาท ๔

วิมังสา จิตตะ

การวางแผน ไตรต่ รองตามเหตผุ ล ความต้งั ใจแนว่ แนท่ ี่จะทา

พละ ๕ หลกั ธรรมทเี่ ปน็ กาลงั ใจใหท้ างานลลุ ว่ งสาเรจ็ ได้

สทั ธา วิรยิ ะ สติ สมาธิ ปญั ญา

ความเชอ่ื มั่น ความเพยี ร ความระลึกได้ มจี ิตใจตั้งมน่ั มคี วามรู้ ชัดเจน
ในสง่ิ ท่ีตนกาลงั ทา ไมป่ ระมาท
กบั เรอ่ื งทก่ี ระทา

กลุ จริ ัฏฐิติธรรม ๔ ของหมดรจู้ กั หามาไว้
ของเก่ารู้จักบรู ณะซ่อมแซม
หลักธรรม รจู้ ักประมาณการกินการใช้

เพ่ือการพัฒนาใหส้ กลุ ยัง่ ยืน ตง้ั ผมู้ ศี ลี ธรรมเปน็ พอ่ บ้านแม่เรือน

ทศิ ๖ หลักธรรมท่ีบอกหน้าทท่ี บี่ คุ คลพึงปฏบิ ตั ติ ่อกัน โดยมีหลกั ธรรมทเี่ กีย่ วเน่อื ง

กบั การพัฒนาครอบครัว คือ ทิศเบ้อื งหนา้ หรือ บดิ ามารดา

บุตรธิดาพึง บารุงบิดามารดา

• ท่านเลยี้ งมาแลว้ เลย้ี งทา่ นตอบ
• ชว่ ยทาการงานของท่าน
• ดารงวงศ์ตระกลู
• ประพฤตติ ัวให้เหมาะสมกบั ความเป็นทายาท
• เม่ือท่านลว่ งลับไปแลว้ ทาบุญอทุ ิศให้ท่าน

ทิศ ๖ หลักธรรมท่ีบอกหน้าทที่ ี่บคุ คลพงึ ปฏิบัตติ อ่ กัน โดยมหี ลักธรรมทีเ่ กี่ยวเน่อื ง

กบั การพัฒนาครอบครัว คอื ทศิ เบ้ืองหน้า หรือ บิดามารดา

บิ ด า ม า ร ด า พึ ง ป ฏิ บั ติ ต่ อ บุ ต ร ธิ ด า

• ห้ามปรามจากความชวั่
• ให้ตัง้ อยใู่ นความดี
• ให้ศึกษาศิลปวิทยา
• หาคคู่ รองท่ีสมควรให้
• มอบทรพั ยส์ มบตั ิใหใ้ นโอกาสอันควร


Click to View FlipBook Version