๑
การวเิ คราะห์หลกั สูตร
มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ชีว้ ดั
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓
นางจินตนา โสมาศรี
ตาแหน่ง ครู
โรงเรยี นบ้านจาปาทอง
สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๔
๑
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
วสิ ัยทัศน์
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน มงุ่ พฒั นาผู้เรียนทกุ คน ซ่งึ เป็นกำลังของชาติให้เป็น
มนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพล
โลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ มีความรู้และ
ทกั ษะพน้ื ฐาน รวมทั้ง เจตคตทิ ีจ่ ำเปน็ ตอ่ การศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดย
มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตาม
ศักยภาพ
หลักการ
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน มีหลักการท่สี ำคัญ ดังน้ี
๑. เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาเพือ่ ความเปน็ เอกภาพของชาติ มจี ดุ หมายและมาตรฐานการเรียนรู้
เป็นเป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพืน้ ฐานของ
ความเป็นไทยควบค่กู ับความเป็นสากล
๒. เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาเพอ่ื ปวงชน ทีป่ ระชาชนทกุ คนมีโอกาสไดร้ บั การศกึ ษาอย่างเสมอ
ภาค และมีคณุ ภาพ
๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัด
การศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับสภาพและความตอ้ งการของทอ้ งถ่ิน
๔. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลา และ
การจดั การเรียนรู้
๕. เปน็ หลกั สตู รการศึกษาทีเ่ น้นผ้เู รยี นเป็นสำคญั
๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ครอบคลมุ ทุกกลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรู้และประสบการณ์
จุดหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข
มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ
การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ดงั นี้
๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน
ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ ยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมี
ทกั ษะชีวติ
๓. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ท่ดี ี มสี ุขนิสัย และรกั การออกกำลังกาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ
๒
๕. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
ส่ิงแวดลอ้ ม มีจติ สาธารณะท่มี ่งุ ทำประโยชนแ์ ละสรา้ งสิ่งท่ีดงี ามในสงั คม และอย่รู ว่ มกนั ในสงั คมอย่าง
มคี วามสขุ
สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้
มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ดงั นี้
สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน มงุ่ ใหผ้ ู้เรียนเกดิ สมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดังน้ี
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เปน็ ความสามารถในการรับและสง่ สาร มวี ฒั นธรรมในการ
ใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยน
ข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจา
ต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลัก
เหตผุ ลและความถูกตอ้ ง ตลอดจนการเลือกใช้วิธกี ารสื่อสาร ทีม่ ปี ระสิทธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบที่
มีตอ่ ตนเองและสงั คม
๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์
การคดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพ่อื นำไปสกู่ ารสร้าง องค์
ความร้หู รอื สารสนเทศเพอ่ื การตัดสินใจเกีย่ วกับตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ
ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ
เข้าใจความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณต์ ่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้ มา
ใช้ในการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบ ที่
เกดิ ข้นึ ตอ่ ตนเอง สงั คมและส่ิงแวดลอ้ ม
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆไปใช้ใน
การดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง การเรียนรอู้ ย่างตอ่ เน่ือง การทำงานและการอยู่ร่วมกันใน
สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ
อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จัก
หลกี เลี่ยงพฤติกรรมไมพ่ ึงประสงคท์ สี่ ่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผูอ้ นื่
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลอื ก และใช้ เทคโนโลยีด้าน
ต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การ
สือ่ สาร การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เพื่อใหส้ ามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
๑
๒. ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ
๓. มวี นิ ัย
๔. ใฝเ่ รียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน
๗. รกั ความเปน็ ไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
นอกจากน้ี สถานศกึ ษาสามารถกำหนดคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์เพม่ิ เติมให้สอดคล้องตาม
บริบทและจดุ เน้นของตนเอง
สาระและมาตรฐานการเรียนรกู้ ลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ทำไมตอ้ งเรยี นภาษาไทย
ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ
และเสรมิ สรา้ งบุคลกิ ภาพของคนในชาติใหม้ ีความเปน็ ไทย เปน็ เครื่องมอื ในการตดิ ตอ่ ส่ือสารเพื่อสร้าง
ความเขา้ ใจและความสัมพนั ธ์ท่ดี ีตอ่ กนั ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิตร่วมกัน
ในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จาก
แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพื่อพฒั นาความรู้ พัฒนากระบวนการคดิ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และสร้างสรรค์
ใหท้ ันตอ่ การเปล่ียนแปลงทางสังคม และความก้าวหนา้ ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใช้
ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นสื่อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ
ด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรยี ภาพเป็นสมบัติล้ำคา่ ควรแก่การเรยี นรู้ อนุรักษ์ และสืบสานให้
คงอยู่คชู่ าตไิ ทยตลอดไป
เรยี นรอู้ ะไรในภาษาไทย
ภาษาไทยเป็นทกั ษะทตี่ อ้ งฝกึ ฝนจนเกิดความชำนาญในการใช้ภาษาเพ่อื การส่อื สารการเรียนรู้
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และเพื่อนำไปใชใ้ นชีวติ จรงิ
• การอ่าน การอ่านออกเสียงคำ ประโยค การอ่านบทร้อยแก้ว คำประพันธ์ชนิดต่างๆ
การอ่านในใจเพื่อสรา้ งความเข้าใจ และการคิดวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ความรู้จากสงิ่ ท่อี ่าน เพื่อนำไป ปรับใช้ใน
ชีวติ ประจำวัน
• การเขียน การเขยี นสะกดตามอักขรวิธี การเขยี นสื่อสาร โดยใชถ้ ้อยคำและรูปแบบต่างๆ
ของการเขียน ซึ่งรวมถึงการเขียนเรียงความ ย่อความ รายงานชนิดต่างๆ การเขียนตามจินตนาการ
วิเคราะห์วจิ ารณ์ และเขียนเชงิ สรา้ งสรรค์
• การฟัง การดู และการพูด การฟงั และดูอย่างมีวจิ ารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น
ความรสู้ ึก พูดลำดับเรอื่ งราวตา่ งๆ อย่างเปน็ เหตุเป็นผล การพูดในโอกาสตา่ งๆ ทงั้ เปน็ ทางการและไม่
เปน็ ทางการ และการพดู เพือ่ โน้มน้าวใจ
๒
• หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสม
กับโอกาสและบุคคล การแต่งบทประพันธ์ประเภทต่างๆ และอิทธิพลของภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย
• วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมเพื่อศกึ ษาข้อมูล แนวความคิด
คุณค่าของงานประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทำความเข้าใจบทเห่ บทร้องเล่นของเดก็
เพลงพืน้ บ้านที่เป็นภมู ิปัญญาที่มีคุณค่าของไทย ซึ่งได้ถ่ายทอดความรู้สึกนกึ คิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียม
ประเพณี เรื่องราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกิดความซาบซึ้งและภูมิใจใน
บรรพบรุ ษุ ท่ไี ดส้ ง่ั สมสบื ทอดมาจนถงึ ปัจจุบัน
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ การอา่ น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรูแ้ ละความคดิ เพอื่ นำไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ปัญหาใน
การดำเนนิ ชีวิตและมีนสิ ัยรักการอ่าน
สาระที่ ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน
รปู แบบตา่ งๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อย่าง
มปี ระสิทธิภาพ
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดอู ย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ
ความร้สู กึ ในโอกาสตา่ งๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์
สาระที่ ๔ หลักการใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัตขิ องชาติ
สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณคา่ และนำมาประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตจรงิ
คุณภาพผเู้ รียน
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กำหนดคุณภาพผู้เรียนเมื่อจบ
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ และชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ ไวด้ ังน้ี
จบชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓
อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความ เรื่องสั้นๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ได้ถูกต้อง
คล่องแคล่ว เข้าใจความหมายของคำและข้อความที่อ่าน ตั้งคำถามเชิงเหตุผล ลำดับเหตุการณ์
คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ข้อคิดจากเรือ่ งที่อ่าน ปฏิบัติตามคำสั่ง คำอธิบายจากเรื่องที่อ่านได้
๓
เข้าใจความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ อ่านหนังสืออย่างสม่ำเสมอและมี
มารยาทในการอา่ น
มีทกั ษะในการคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย บันทึกประจำวัน เขยี นจดหมายลา
ครู เขียนเร่อื งเกย่ี วกบั ประสบการณ์ เขียนเร่ืองตามจินตนาการและมีมารยาทในการเขยี น
เล่ารายละเอียดและบอกสาระสำคัญ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม รวมทั้งพูดแสดงความคิด
ความรู้สกึ เก่ยี วกบั เรอื่ งท่ีฟงั และดู พดู ส่ือสารเล่าประสบการณแ์ ละพดู แนะนำหรือพดู เชิญชวนให้ผู้อ่ืน
ปฏิบตั ติ าม และมมี ารยาทในการฟัง ดู และพูด
สะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ ความแตกต่างของคำและพยางค์ หน้าที่ของคำ
ในประโยค มีทักษะการใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคำ แต่งประโยคง่าย ๆ แต่งคำ
คล้องจอง แตง่ คำขวัญ และเลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ
เข้าใจและสามารถสรุปข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีที่อ่าน รู้จักเพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ซึ่งเป็น
วัฒนธรรมของท้องถิ่น ร้องบทร้องเล่นสำหรับเด็กในท้องถิ่น ท่องจำบทอาขยานและบทร้อยกรอง
ท่ีมคี ณุ ค่าตามความสนใจได้
จบชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖
อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะได้ถูกต้อง อธิบายความหมาย
โดยตรงและความหมายโดยนัยของคำ ประโยค ข้อความ สำนวนโวหาร จากเรื่องที่อ่าน เข้าใจ
คำแนะนำ คำอธิบายในคมู่ ือต่าง ๆ แยกแยะขอ้ คดิ เห็นและข้อเท็จจริง รวมท้ังจับใจความสำคัญของ
เรื่องที่อ่าน และนำความรู้ความคิดจากเรื่องทีอ่ ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตได้มีมารยาท
และมีนสิ ยั รักการอ่าน และเหน็ คณุ คา่ ส่งิ ท่อี า่ น
มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึง่ บรรทัด เขียนสะกดคำ แต่งประโยค
และเขียนข้อความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคำชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพโครงเรื่องและ
แผนภาพความคดิ เพอ่ื พฒั นางานเขยี น เขียนเรียงความ ยอ่ ความ จดหมายส่วนตัว กรอกแบบรายการ
ต่าง ๆ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น เขียนเรื่องตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ และมี
มารยาทในการเขียน
พดู แสดงความรู้ ความคิดเก่ียวกบั เรอ่ื งท่ฟี ังและดู เลา่ เร่อื งย่อหรือสรุปจากเร่ืองที่ฟัง และดู
ตั้งคำถาม ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟังและดู รวมทั้งประเมินความน่าเชื่อถือจากการฟังและดูโฆษณา
อยา่ งมีเหตผุ ล พูดตามลำดับขั้นตอนเร่ืองต่าง ๆ อยา่ งชัดเจน พูดรายงานหรือประเดน็ คน้ คว้าจากการฟัง
การดู การสนทนา และพดู โน้มน้าวได้อยา่ งมีเหตุผล รวมท้งั มีมารยาทในการดูและพดู
สะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ สำนวน คำพังเพยและสุภาษิต รู้และเข้าใจชนิดและ
หนา้ ท่ีของคำในประโยค ชนิดของประโยค และคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้คำราชาศัพท์และคำ
สุภาพได้อย่างเหมาะสม แต่งประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนส่ี กลอนสุภาพ และกาพย์
ยานี ๑๑
เข้าใจและเห็นคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพื้นบ้าน ร้องเพลงพื้นบ้าน
ของท้องถิ่น นำข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ีอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง และท่องจำบทอาขยาน
ตามท่กี ำหนดได้
๔
ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
สาระท่ี ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความร้แู ละความคดิ เพ่อื นำไปใช้ตดั สินใจ แก้ปญั หา
ในการดำเนินชวี ิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ช้ัน ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
ป.๓ ๑. อ่านออกเสยี งคำ ขอ้ ความ เร่ือง การอา่ นออกเสียงและการบอกความหมายของคำ
สั้นๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง คำคล้องจอง ขอ้ ความ และบทร้อยกรองง่ายๆ ท่ี
คลอ่ งแคล่ว ประกอบด้วย คำพื้นฐานเพ่มิ จาก ป.๒ ไมน่ ้อยกวา่
๒. อธบิ ายความหมายของคำและ ๑,๒๐๐ คำ รวมทัง้ คำที่เรียนร้ใู นกลุ่มสาระการเรยี นรู้
ขอ้ ความทอี่ ่าน อื่น ประกอบด้วย
- คำที่มตี วั การันต์
- คำทีม่ ี รร
- คำทม่ี ีพยญั ชนะและสระไมอ่ อกเสยี ง
- คำพ้อง
- คำพิเศษอน่ื ๆ เชน่ คำที่ใช้ ฑ ฤ ฤๅ
๓. ตง้ั คำถามและตอบคำถามเชงิ การอ่านจบั ใจความจากส่อื ต่างๆ เชน่
- นทิ านหรอื เรอ่ื งเกย่ี วกับท้องถนิ่
เหตผุ ลเก่ียวกบั เรือ่ งที่อ่าน
- เรื่องเล่าสน้ั ๆ
๔. ลำดบั เหตุการณ์และคาดคะเน
- บทเพลงและบทร้อยกรอง
เหตกุ ารณจ์ ากเร่อื งทีอ่ า่ นโดยระบุ
- บทเรยี นในกลุ่มสาระการเรยี นรู้อ่ืน
เหตผุ ลประกอบ - ขา่ วและเหตุการณใ์ นชีวิตประจำวนั ในท้องถิน่
๕. สรปุ ความรู้และขอ้ คดิ จากเร่อื งท่ี และชมุ ชน
อ่านเพือ่ นำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั
๖. อา่ นหนังสือตามความสนใจ การอ่านหนงั สอื ตามความสนใจ เช่น
อยา่ งสมำ่ เสมอและนำเสนอเรื่อง - หนังสอื ที่นกั เรยี นสนใจและเหมาะสมกับวัย
ทอ่ี า่ น - หนังสอื ทค่ี รแู ละนกั เรียนกำหนดรว่ มกนั
๗. อา่ นขอ้ เขยี นเชงิ อธบิ ายและปฏบิ ัติ การอา่ นขอ้ เขียนเชิงอธบิ าย และปฏบิ ัติตามคำสั่ง
ตามคำสง่ั หรือขอ้ แนะนำ หรอื ขอ้ แนะนำ
- คำแนะนำตา่ งๆ ในชีวิตประจำวัน
- ประกาศ ป้ายโฆษณา และคำขวญั
๘. อธบิ ายความหมายของข้อมูลจาก การอา่ นข้อมูลจากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ
แผนภาพ แผนที่ และแผนภมู ิ มารยาทในการอ่าน เชน่
๙. มมี ารยาทในการอา่ น
๕
ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
- ไมอ่ า่ นเสยี งดงั รบกวนผู้อ่ืน
- ไม่เลน่ กนั ขณะทอี่ า่ น
- ไมท่ ำลายหนังสอื
- ไม่ควรแย่งอ่านหรอื ชะโงกหน้าไปอา่ นขณะที่
ผู้อ่นื กำลงั อ่าน
สาระที่ ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขียนสือ่ สาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ และเขยี นเร่ืองราว
ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้
อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ป.๓ ๑. คดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทดั การคัดลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัดตาม
รูปแบบการเขยี น ตัวอกั ษรไทย
๒ เขยี นบรรยายเกีย่ วกับสงิ่ ใดสง่ิ หน่ึง การเขียนบรรยายเก่ยี วกับลักษณะของ คน สตั ว์
ได้อย่างชดั เจน สิง่ ของ สถานท่ี
๓. เขยี นบันทึกประจำวัน การเขยี นบนั ทกึ ประจำวัน
๔. เขยี นจดหมายลาครู การเขียนจดหมายลาครู
ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๕. เขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการ
การเขยี นเรอื่ งตามจินตนาการจากคำ ภาพ
๖. มีมารยาทในการเขียน และหัวข้อทก่ี ำหนด
มารยาทในการเขียน เชน่
- เขียนใหอ้ า่ นง่าย สะอาด ไมข่ ีดฆ่า
- ไมข่ ีดเขียนในท่ีสาธารณะ
- ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกบั เวลา สถานที่ และ
บคุ คล
- ไมเ่ ขยี นลอ้ เลยี นผู้อน่ื หรอื ทำให้ผ้อู ่นื เสยี หาย
สาระที่ ๓ การฟงั การดู และการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดอู ย่างมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ
ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์
ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ป.๓ ๑. เลา่ รายละเอยี ดเก่ียวกับเรอื่ งท่ฟี ัง การจบั ใจความและพูดแสดงความคิดเหน็ และ
และดทู ้ังทีเ่ ป็นความรแู้ ละความบันเทงิ ความรู้สึกจากเรือ่ งทฟ่ี งั และดูท้ังท่ีเปน็ ความรู้และ
ความบนั เทิง เชน่
๖
ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
๒. บอกสาระสำคญั จากการฟงั และการ - เรอ่ื งเลา่ และสารคดีสำหรับเดก็
ดู - นิทาน การต์ นู เรือ่ งขบขัน
๓. ตง้ั คำถามและตอบคำถามเกยี่ วกบั - รายการสำหรบั เดก็
เรื่องทีฟ่ ังและดู - ขา่ วและเหตุการณใ์ นชวี ิตประจำวัน
๔. พูดแสดงความคดิ เห็นและ - เพลง
ความรู้สึกจากเรอ่ื งท่ีฟังและดู
๕. พูดสอ่ื สารไดช้ ัดเจนตรงตาม การพดู สื่อสารในชวี ติ ประจำวัน เช่น
วตั ถุประสงค์ - การแนะนำตนเอง
- การแนะนำสถานที่ในโรงเรียนและ
ในชุมชน
- การแนะนำ/เชิญชวนเก่ยี วกบั การปฏิบัตติ น
ในดา้ นต่างๆ เชน่ การรักษาความสะอาด
ของรา่ งกาย
- การเลา่ ประสบการณ์ในชวี ิตประจำวัน
- การพูดในโอกาสตา่ งๆ เช่น การพูดขอร้อง
การพูดทกั ทาย การกลา่ วขอบคณุ และ
ขอโทษ การพดู ปฏิเสธ และการพดู ชกั ถาม
๖. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการ มารยาทในการฟงั เชน่
พดู - ตง้ั ใจฟัง ตามองผพู้ ดู
- ไมร่ บกวนผู้อ่ืนขณะท่ฟี งั
- ไม่ควรนำอาหารหรือเครือ่ งด่มื ไป
รับประทานขณะท่ีฟัง
- ไมแ่ สดงกริ ยิ าที่ไมเ่ หมาะสม เช่น โห่ ฮา หาว
- ให้เกยี รติผู้พดู ดว้ ยการปรบมือ
- ไม่พูดสอดแทรกขณะทีฟ่ งั
มารยาทในการดู เช่น
- ตัง้ ใจดู
- ไมส่ ง่ เสยี งดงั หรอื แสดงอาการรบกวนสมาธิ
ของผู้อนื่
มารยาทในการพูด เชน่
- ใช้ถ้อยคำและกิรยิ าท่ีสภุ าพ เหมาะสมกบั
กาลเทศะ
- ใช้นำ้ เสยี งนมุ่ นวล
- ไม่พูดสอดแทรกในขณะทีผ่ ้อู ่ืนกำลังพดู
- ไมพ่ ูดล้อเลียนให้ผอู้ ืน่ ได้รับความอับอาย
หรอื เสยี หาย
๗
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ
ชน้ั ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ป.๓ ๑. เขยี นสะกดคำและบอกความหมาย การสะกดคำ การแจกลกู และการอ่านเปน็ คำ
ของคำ มาตราตัวสะกดทตี่ รงตามมาตราและไมต่ รงตาม
มาตรา
การผันอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ
คำที่มีพยัญชนะควบกลำ้
คำท่ีมอี ักษรนำ
คำที่ประวสิ รรชนียแ์ ละคำท่ีไม่ประวสิ รรชนยี ์
คำทมี่ ี ฤ ฤๅ
คำท่ใี ช้ บนั บรร
คำทีใ่ ช้ รร
คำที่มีตวั การันต์
ความหมายของคำ
๒. ระบุชนิดและหน้าท่ขี องคำใน ชนดิ ของคำ ไดแ้ ก่
ประโยค - คำนาม
- คำสรรพนาม
- คำกริยา
๓. ใชพ้ จนานุกรมค้นหาความหมายของ การใช้พจนานุกรม
คำ
๔. แต่งประโยคง่ายๆ การแตง่ ประโยคเพือ่ การส่อื สาร ได้แก่
- ประโยคบอกเล่า
- ประโยคปฏิเสธ
- ประโยคคำถาม
- ประโยคขอรอ้ ง
- ประโยคคำส่งั
ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
๕. แตง่ คำคลอ้ งจองและคำขวญั คำคลอ้ งจอง
คำขวัญ
๖. เลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐานและ ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาถน่ิ ไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ ภาษาถ่ิน
๘
สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็
คุณคา่ และนำมาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จรงิ
ชัน้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ป.๓ ๑. ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่าน วรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพ้ืนบ้าน
วรรณกรรมเพื่อนำไปใช้ใน - นทิ านหรอื เรือ่ งในท้องถิ่น
ชีวติ ประจำวัน - เร่อื งสนั้ งา่ ยๆ ปรศิ นาคำทาย
๒. รจู้ ักเพลงพนื้ บ้านและเพลงกลอ่ ม - บทรอ้ ยกรอง
เดก็ เพื่อปลกู ฝังความชืน่ ชม - เพลงพืน้ บ้าน
วัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ - เพลงกล่อมเดก็
๓. แสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับวรรณคดี - วรรณกรรมและวรรณคดีในบทเรยี นและ ตาม
ท่ีอา่ น ความสนใจ
๔. ท่องจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทม่ี คี ณุ ค่า
และบทรอ้ ยกรองทมี่ คี ุณค่าตาม - บทอาขยานตามที่กำหนด
ความสนใจ - บทร้อยกรองตามความสนใจ
๙
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย คำอธิบายรายวิชา
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง
ฝึกอา่ นออกเสียงคำ ข้อความ เรือ่ งส้ัน ๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธบิ ายความหมายของคำ
และข้อความที่อ่านตัง้ คำถาม ตอบคำถามเชิงเหตุผล ลำดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้
ขอ้ คิดจากเรอื่ งทอี่ ่าน เพอื่ นำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั เลือกอ่านหนงั สอื ตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและ
นำเสนอเร่ืองที่อา่ นอ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคำสั่งหรือขอ้ แนะนำอธิบายความหมายของ
ขอ้ มลู จากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ มมี ารยาทในการอา่ น
ฝกึ คัดลายมือดว้ ยตวั บรรจงเต็มบรรทัด เขยี นบรรยาย เขียนบนั ทกึ ประจำวัน เขียนเร่ืองตาม
จินตนาการ มีมารยาทในการเขยี น
ฝกึ ทกั ษะการฟัง การดแู ละการพูด เล่ารายละเอยี ด บอกสาระสำคัญ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม
พดู แสดงความคิดเห็น ความรสู้ กึ พูดสือ่ สารไดช้ ัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ มมี ารยาทในการฟงั
การดแู ละการพดู
ฝึกเขียนตามหลักการเขยี น เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ ระบุชนิด หน้าที่ของคำ
ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ แต่งประโยคง่ายๆ แต่งคำคล้องจองและคำขวัญเลือกใช้
ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่นิ ได้เหมาะสมกบั กาลเทศะ
ระบุข้อคิดท่ไี ด้จากการอ่านวรรณกรรมเพ่ือนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั รู้จกั เพลงพนื้ บา้ น เพลง
กล่อมเดก็ เพอ่ื ปลูกฝงั ความชนื่ ชมวัฒนธรรมท้องถน่ิ แสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับวรรณคดีท่อี า่ น ท่องจำ
บทอาขยานตามทก่ี ำหนดและบทร้อยกรองที่มคี ุณค่าตามความสนใจ
โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลมุ่
กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสือ่ ความ กระบวนการแก้ปญั หา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก
การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพดู พูดแสดงความคดิ เหน็ กระบวนการสรา้ ง
ความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย
เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ใน
ชีวติ ประจำวันได้อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม
ตัวชว้ี ดั
ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
(รวม ๓๒ ตวั ช้ีวัด)
๑๐
ตารางแสดงความสัมพันธร์ ะหวา่ งมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้วี ัด และสาระการเรียนรภู้ าษาไทย
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคิด เพือ่ นำไปใช้ตัดสินใจแก้ปญั หา
ในการดำเนนิ ชีวิตและมนี สิ ยั รักการอ่าน
ตวั ชว้ี ัด ผ้เู รียนรูอ้ ะไร ผเู้ รยี นทำอะไรได้
๑. อา่ นออกเสยี งคำ หลักการอา่ นออกเสียงคำ ๑. อ่านออกเสียงคำ
ข้อความ เร่ืองสนั้ ๆ และ ขอ้ ความ เรือ่ งสั้นๆและ ๒. อา่ นข้อความ
บทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ได้ บทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ๓. อ่านเรอ่ื งสั้น ๆ
ถกู ตอ้ ง คล่องแคลว่ ๔. อา่ นบทร้อยกรอง
รคู้ วามหมายของคำและ
๒. อธิบายความหมายของ ขอ้ ความ ๑. อธิบายความหมายของคำ
คำและข้อความที่อา่ น
และข้อความทอ่ี ่าน
๓. ตั้งคำถามและตอบ รู้และเข้าใจเร่อื งทีอ่ ่าน ๑.ต้งั คำถามและตอบคำถาม
คำถามเชงิ เหตุผล เกย่ี วกบั เร่ืองท่อี า่ นอยา่ งมี
เก่ยี วกับเรือ่ งท่ีอา่ น หลักการคาดคะเนเหตกุ ารณ์ เหตผุ ล
จากเรอ่ื งทอี่ ่านไดอ้ ย่างมเี หตุผล
๔. ลำดับเหตุการณ์และ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรอื่ ง
หลักการสรปุ ความรู้และขอ้ คิด ท่อี า่ น
คาดคะเนเหตกุ ารณจ์ าก จากเร่ืองทอี่ า่ น
สรปุ ความรู้และข้อคิดจากเรื่อง
เร่อื งท่ีอา่ นโดยระบุเหตุผล รู้วธิ ีการเลอื กหนงั สอื ตามความ ที่อ่าน
สนใจอยา่ งสมำ่ เสมอและ
ประกอบ นำเสนอเร่ืองทอี่ า่ น ๑. อา่ นหนงั สือตามความสนใจ
รู้เขา้ ใจข้อเขียนเชงิ อธิบาย อยา่ งสม่ำเสมอ
๕. สรปุ ความรู้และขอ้ คิดจาก ปฏบิ ัตติ ามคำสง่ั หรือขอ้ แนะนำ
๒.นำเสนอเร่ืองที่อ่าน
เร่อื งทีอ่ ่านเพอ่ื นำไปใชใ้ น ๑. เข้าใจข้อเขยี นเชิงอธิบาย
๒. ปฏิบตั ิตามคำสั่งหรอื
ชีวิตประจำวนั
๖. อ่านหนังสือตามความ ข้อแนะนำ
สนใจอยา่ งสม่ำเสมอ
และนำเสนอเรอ่ื งทีอ่ า่ น
๗. อา่ นข้อเขียนเชงิ อธบิ าย
และปฏิบัตติ ามคำส่ัง
หรอื ขอ้ แนะนำ
๑๑
ตวั ชวี้ ัด ผู้เรยี นรู้อะไร ผเู้ รียนทำอะไรได้
๘. อธบิ ายความหมายของ ร้แู ละเขา้ ใจความหมายของ ๑. อธบิ ายความหมายของ
ข้อมลู จากแผนภาพ ขอ้ มลู จากแผนภาพ แผนท่ีและ ข้อมูลจากแผนภาพ
แผนท่ี และแผนภมู ิ แผนภมู ิ
๒.อธบิ ายความหมายของ
๙. มีมารยาท ในการอา่ น มารยาทในการอ่าน ขอ้ มูลจากแผนที่
หมายเหตุ
ตวั ชว้ี ัดตวั นี้ให้จัด ๓. อธิบายความหมายของ
กจิ กรรมรวมกับตัวชวี้ ัด ขอ้ มูลจากแผนภูมิ
ที่ ๑ - ๗
มมี ารยาท ในการอ่าน
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ใช้กระบวนการเขียนเขยี นส่อื สาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรปู แบบตา่ งๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้า
อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวช้ีวัด ผู้เรียนรูอ้ ะไร ผู้เรียนทำอะไรได้
๑. คัดลายมอื ตัวบรรจงเต็ม หลักการเขียนด้วยตวั บรรจง คัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัด
บรรทดั ตามหลกั การคัดลายมือชว่ ยให้ ได้
การสอ่ื สารมีประสิทธิภาพตรง
ตามวัตถุประสงค์
๒ เขียนบรรยายเกี่ยวกบั สิง่ ใด หลกั การเขียนบรรยาย เขยี นบรรยายไดอ้ ยา่ งชัดเจน
สงิ่ หนึง่ ไดอ้ ย่างชดั เจน
หลกั การเขียนบันทกึ ประจำวัน เขยี นบนั ทึกประจำวนั ได้
๓. เขยี นบนั ทกึ ประจำวัน หลักการเขยี นจดหมายลาครู เขยี นจดหมายลาครู
๔. เขยี นจดหมายลาครู
๑๒
ตวั ชีว้ ัด ผ้เู รียนรู้อะไร ผ้เู รียนทำอะไรได้
๕. เขียนเรื่องตามจนิ ตนาการ หลักการเขยี นอยา่ งมีมารยาท มมี ารยาทในการเขียน
๖. มมี ารยาทในการเขยี น เปน็ การใชภ้ าษาและเทคนคิ
เฉพาะทเี่ หมาะสมตามประเภท
ของงาน ช่วยให้การส่ือสาร
มีประสิทธิภาพยงิ่ ขน้ึ
สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และ
ความร้สู ึกในโอกาสตา่ งๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์
ตวั ชี้วัด ผเู้ รียนรู้อะไร ผูเ้ รยี นทำอะไรได้
๑. เล่ารายละเอยี ดเกีย่ วกับ การฟังอยา่ งต้ังใจ มสี มาธใิ น เล่ารายละเอยี ดเกยี่ วกบั เรื่อง
เรอื่ งทฟี่ งั และดทู ั้งทเี่ ป็นความรู้ การฟงั ช่วยให้เขา้ ใจ และ ที่ฟังและดู
และความบันเทงิ ปฏิบัติตามได้อย่างถกู ตอ้ ง
๒. บอกสาระสำคญั จากการฟงั สาระสำคัญจากการฟังและดู บอกสาระสำคญั จากการฟัง
และการดู และการดู
๓. ตั้งคำถามและตอบคำถาม หลักการฟัง และดอู ยา่ งตงั้ ใจ ต้ังคำถามและตอบคำถามเรอ่ื ง
เก่ียวกบั เรอ่ื งทีฟ่ งั และดู มสี มาธิ จะทำให้ตั้งคำถามและ ทีฟ่ งั และดู
ตอบคำถามได้
๔. พูดแสดงความคดิ เห็นและ หลักการฟงั และดแู ลว้ สามารถ พดู แสดงความคิดเหน็ และ
ความรสู้ กึ จากเรือ่ งทีฟ่ ังและดู จบั ใจความสำคญั ของทฟี่ ัง ความรู้สกึ จากเรื่องทฟ่ี งั และดู
และดู ทำให้สามารถพดู แสดง
๕. พดู สื่อสารได้ชัดเจน ความคดิ เห็นและความรู้สึก พูดสือ่ สารในชวี ิตประจำวันได้
ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ จากเรอื่ งทฟี่ ังและดูได้ ตามวัตถุประสงค์
วิธกี ารพูดสื่อสาร
ในชีวติ ประจำวนั
๑๓
ตัวชี้วัด ผู้เรยี นรอู้ ะไร ผู้เรียนทำอะไรได้
๖. มมี ารยาทในการฟงั การดู การมีมารยาทในการฟัง การดู มมี ารยาทในการฟงั การดู และ
และการพูด และการพดู เป็นคณุ ลกั ษณะ การพดู
พื้นฐานในการอยู่รว่ มกนั ใน
สงั คม
สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษา
และพลงั ของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติ
ของชาติ
ตัวช้วี ัด ผเู้ รยี นร้อู ะไร ผู้เรียนทำอะไรได้
๑. เขยี นสะกดคำและบอก รูจ้ ักมาตราตัวสะกด การผัน เขียนสะกดคำและบอก
ความหมายของคำ วรรณยกุ ตแ์ ละความหมาย ความหมาย ของคำได้
ของคำ
๒. ระบชุ นิดและหน้าท่ขี องคำ รู้จักชนิดและหน้าท่ีของคำใน ระบชุ นดิ และหนา้ ท่ีของคำใน
ในประโยค ประโยค ประโยค
๓. ใชพ้ จนานุกรมค้นหา รูห้ ลักและวิธีการใช้พจนานกุ รม ใช้พจนานกุ รมคน้ หา
ความหมายของคำ ความหมายของคำ
๔. แต่งประโยคงา่ ยๆ โครงสรา้ งของประโยค เรยี บเรียงคำเป็นประโยคงา่ ย
ๆได้
๕. แต่งคำคลอ้ งจองและ หลักการหาคำทม่ี เี สียงสระ ๑. เขยี นคำคลอ้ งจองได้
คำขวญั เหมือนกนั ตวั สะกดแม่ ๒. เขยี นคำขวัญ
เดียวกันมาตอ่ กนั ให้เกดิ เสียง
สัมผัสคลอ้ งจอง
๖. เลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐาน หลักและวิธกี ารใชภ้ าษาไทย เลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐาน
และภาษาถน่ิ ไดเ้ หมาะสมกบั และภาษาถนิ่ และภาษาถ่นิ ได้เหมาะสมกบั
กาลเทศะ กาลเทศะ
๑๔
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดี และวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็น
คุณค่าและนำมาประยุกต์ใช้ในชวี ิตจริง
ตวั ชีว้ ัด ผู้เรยี นรู้อะไร ผูเ้ รียนทำอะไรได้
๑. ระบุข้อคิดทีไ่ ด้จากการอ่าน หลักการอา่ นหรือการฟัง บอกขอ้ คดิ ทีไ่ ด้จากการอา่ นหรือ
การฟงั วรรณกรรมร้อยแกว้ และ
วรรณกรรมเพอ่ื นำไปใช้ใน วรรณกรรม ร้อยแกว้ และ ร้อยกรองสำหรบั เดก็ ได้
ชวี ติ ประจำวัน ร้อยกรองสำหรบั เดก็ รู้จกั เพลงพน้ื บา้ นและเพลง
กลอ่ มเดก็ เพอื่ ปลูกฝงั ความช่นื
๒. รจู้ กั เพลงพนื้ บา้ นและเพลง รู้และเข้าใจวฒั นธรรมท้องถน่ิ ชมวัฒนธรรมท้องถ่นิ
กล่อมเดก็ เพื่อปลูกฝงั ความ
ชน่ื ชมวฒั นธรรมทอ้ งถิ่น
๓. แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั หลกั การแสดงความคิดเหน็ แสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกบั
เกี่ยวกบั วรรณคดี วรรณคดที อี่ ่าน
วรรณคดีท่อี ่าน
๔. ท่องจำบทอาขยานตามที่ การรู้และเข้าใจแบบแผนภาษา ท่องจำบทอาขยาน และ
กำหนดและบทรอ้ ยกรองท่ีมี และฉันทลักษณ์ ทำให้สามารถ บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ
คุณค่าตามความสนใจ ท่องจำบทอาขยานและบท
รอ้ ยกรอง
๑๕
โครงสร้างเวลาเรยี น เวลาเรยี น(ช่ัวโมง)
ชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี ๓ ๒๐๐
๒๐๐
ท่ี รายวชิ า/ กจิ กรรม ๘๐
๑ ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๘๐
๒ ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๘๐
๓ ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๘๐
๔ ส ๑๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๔๐
๕ พ ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๘๐
๖ ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๔๐
๗ ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๙๒๐
๘ อ ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ -
๙ ส ๑๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์
๑๒๐
รวมเวลาเรียนพื้นฐาน ๔๐
รายวชิ าเพิม่ เติม
๔๐
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ๓๐
แนะแนว ๑๐
กจิ กรรมนกั เรยี น ๑,๐๔๐
ชมรม,ชมุ นุม
ลกู เสอื /เนตรนารี/ยวุ กาชาด
กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรยี น
๑๖
โครงสร้างรายวชิ าภาษาไทยระดบั ประถมศึกษา
ระดับประถมศึกษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลา ๒๐๐ ชวั่ โมง
ท่ี ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ / สาระสำคญั ฯ เวลา น้ำหนัก
ตวั ชวี้ ดั (ชั่วโมง) คะแนน
๑ ปฏบิ ตั กิ ารสายลบั จิว๋ ท ๑.๑ ป๓/๓ - การอา่ นออกเสยี งและการ ๑๓ ๘
ท ๑.๑ ป๓/๔ บอกความหมายของคำ คำ
ท ๑.๑ ป๓/๖ คล้องจอง ข้อความและบท
ท ๒.๑ ป.๓/๒ รอ้ ยกรองงา่ ยๆทปี่ ระกอบดว้ ย
ท ๓.๑ ป.๓/๔ คำพืน้ ฐานเพม่ิ จาก ป.2 ไม่
ท ๓.๑ ป.๓/๕ น้อยกวา่ ๑๒,๐๐๐ คำ
ท ๔.๑ ป.๓/๑ -มารยาทในการอา่ น
ท ๔.๑ ป.๓/๓ - การคัดลายมือตัวบรรจงเตม็
บรรทัดตามรูปแบบการเขยี น
ตัวอกั ษรไทย
- การเขยี นแสดงความคดิ เหน็
- เขยี นเร่อื งจากภาพ
- การพูดส่อื สารใน
ชีวติ ประจำวัน
-พดู รายงาน
-การอา่ นสะกดคำ
-การแจกลูก
-การอ่านเป็นคำมาตรา
ตวั สะกดทีต่ รงตามมาตรา
-การอ่านเปน็ คำมาตรา
ตวั สะกดทไ่ี มต่ รงตามมาตรา
๒ แต่เดก็ ซื่อไว้ ท ๑.๑ ป๓/๑ - การอ่านจับใจความสำคญั ๑๓ ๘
ท ๑.๑ ป๓/๓ จากสือ่ ตา่ งๆ
ท ๑.๑ ป๓/๔ - การอ่านบทรอ้ ยกรอง
ท ๑.๑ ป๓/๖ - การอ่านขอ้ เขียนเชิงอธิบาย
ท ๒.๑ ป.๓/๒ และปฏบิ ัติตามคำส่งั หรอื
ท ๒.๑ ป.๓/๕ คำแนะนำ
ท ๓.๑ ป.๓/๔ - การเขียนบรรยายเกี่ยวกบั
ท ๔.๑ ป.๓/๑ ลักษณะของคน สตั ว์
ท ๔.๑ ป.๓/๓
๑๗
ท่ี ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / สาระสำคญั ฯ เวลา น้ำหนัก
ตัวชี้วัด (ชว่ั โมง) คะแนน
ส่งิ ของ สถานท่ี นิทาน
การ์ตนู เร่อื งขบขนั รายการ
สำหรบั เด็ก ข่าวและเหตุการณ์
ในชวี ิตประจำวนั
- การผนั อกั ษรกลาง
- อกั ษรสูง
ท ๔.๑ ป.๓/๔ - อักษรตำ่
- คำท่มี ีพยญั ชนะควบกล้ำ
- คำที่มอี ักษรนำ
- คำท่ีประวิสรรชนยี ์
- คำท่ไี มป่ ระวชิ สรรชนยี ์
- พดู แสดงความคิดเหน็ พูด
รายงาน
๓ ปา่ น้ีมีคณุ ท ๑.๑ ป.๓/๑ - การอา่ นขอ้ มูลจากแผนภาพ ๑๓ ๘
- แผนที่ ๑๓ ๘
ท ๑.๑ ป.๓/๓ - แผนภูมิ
- การเขยี นบันทึกประจำวนั
ท ๑.๑ ป.๓/๔ - เร่อื งเลา่ และสารคดีสำหรับ
เด็ก
ท ๒.๑ ป.๓/๒ - เขียนเรื่องจากภาพ
- การฟงั รายงาน
ท ๒.๑ ป.๓/๕ -ฟังสัมภาษณ์แล้วพดู ตอบ
ท ๓.๑ ป.๓/๔ คำถาม
- อา่ นบทอาขยาน
๔ อาหารดีชวี ีมสี ุข ท ๑.๑ ป.๓/๑ - อา่ นบทร้อยกรองตามที่
กำหนด
ท ๑.๑ ป.๓/๓
ท ๑.๑ ป.๓/๔ - ขา่ วและเหตุการณ์ใน
ท ๑.๑ ป.๓/๖
ท ๒.๑ ป.๓/๒ ชีวติ ประจำวนั ในทอ้ งถ่ินและ
ท ๓.๑ ป.๓/๔ ชุมชน
ท ๔.๑ ป.๓/๑ - การเขยี นเรอ่ื งตามจนิ ตนาการ
- การเขียนเร่อื งจากคำ ภาพ
และหวั เรือ่ งทีก่ ำหนด
๑๘
ท่ี ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ / สาระสำคญั ฯ เวลา น้ำหนัก
๕ ทำด.ี ...อย่าหวั่นไหว ตวั ชี้วดั (ช่วั โมง) คะแนน
๖ พลงั งานคอื ชวี ติ - การแนะนำตนเอง
ท ๑.๑ ป.๓/๑ - การแนะนำสถานท่ใี น ๑๓ ๘
ท ๑.๑ ป.๓/๓ โรงเรยี นและในชมุ ชน
ท ๑.๑ ป.๓/๔ - การแนะนำ/เชญิ ชวนเก่ียวกบั ๑๓ ๕
ท ๑.๑ ป.๓/๖ การปฏบิ ัติตนในดา้ นตา่ งๆ เชน่
ท ๒.๑ ป.๓/๒ การรักษาความสะอาดของ
ท ๒.๑ ป.๓/๕ ร่างกาย
ท ๓.๑ ป.๓/๔ ชนดิ ของคำ ไดแ้ ก่
ท ๓.๑ ป.๓/๕ - คำนาม
ท ๔.๑ ป.๓/๑ - คำกิรยิ า
- คำสรรพนาม
ท ๑.๑ ป.๓/๑
ท ๑.๑ ป.๓/๒ - การอา่ นจับใจความจากส่อื
ท ๑.๑ ป.๓/๓ ตา่ งๆ
ท ๑.๑ ป.๓/๔ - อ่านข่าวและเหตุการณใ์ น
ท ๒.๑ ป.๓/๒ ชีวติ ประจำวนั ในทอ้ งถิ่นและ
ท ๒.๑ ป.๓/๕ ชุมชน
ท ๓.๑ ป.๓/๔ - การเขียนเรื่องตามจนิ ตนาการ
ท ๔.๑ ป.๓/๑ - การเขยี นเรอื่ งจากคำ ภาพ
ท ๔.๑ ป.๓/๔ - การเขียนเรอ่ื งจากภาพ
- การเขียนเรื่องตามหวั ข้อที่
กำหนด
- การแนะนำตนเอง
- การพูดเลา่ เรอ่ื ง
- การตอบคำถาม
- เขยี นแสดงความคิดเห็น
- เขยี นแผนภาพ
- เขียนโครงเรือ่ ง
- เขยี นอ่านคำพอ้ งรปู
- เขียนอา่ นคำพ้องเสียง
- การอา่ นสะกดคำ
- การอ่านแจกลูก
๑๙
ที่ ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / สาระสำคญั ฯ เวลา น้ำหนัก
ตวั ชี้วดั (ช่ัวโมง) คะแนน
๗ ความฝันเปน็ จริงได้ ท ๑.๑ ป.๓/๑ - เขียนแสดงความคดิ เห็น ๑๓ ๕
- เขยี นแผนภาพ
ท ๑.๑ ป.๓/๓ - เขยี นโครงเรือ่ ง
ท ๑.๑ ป.๓/๔ - เขยี นอา่ นคำราชาศัพท์
ท ๒.๑ ป.๓/๒ - การอา่ นสะกดคำ
ท ๒.๑ ป.๓/๕ - การอา่ นแจกลกู
ท ๓.๑ ป.๓/๔ - ฟงั การสมั ภาษณ์
ท ๔.๑ ป.๓/๑
ท ๔.๑ ป.๓/๗ - ฟงั การรายงานพรอ้ ม- ตอบ
คำถาม
ท ๔.๑ ป.๓/๔
๘ ภมู ใิ จภาษาไทยของเรา ท ๑.๑ ป.๓/๑ -การคัดลายมือตวั บรรจงเตม็ ๑๓ ๕
ท ๑.๑ ป.๓/๒ บรรทดั ตามรูปแบบการเขียน
ท ๑.๑ ป.๓/๓ -ตวั อักษรไทย
ท ๑.๑ ป.๓/๔ -เขียนแสดงความคิดเหน็
ท ๑.๑ ป.๓/๖ -เขียนเร่ืองจากภาพ
ท ๒.๑ ป.๓/๒ -การพูดสอ่ื สารใน
ท ๒.๑ ป.๓/๕ ชีวิตประจำวนั
ท ๓.๑ ป.๓/๑ - พูดรายงาน
ท ๓.๑ ป.๓/๔ -การอ่านสะกดคำ
ท ๔.๑ ป.๓/๑ -การอ่านแจกคำ
- ฟงั การสมั ภาษณ์
- ฟงั การรายงานพรอ้ มตอบ
คำถาม
๙ คดิ ไปรไู้ ป ท ๑.๑ ป.๓/๑ - เขียนแสดงความคดิ เหน็ ๑๒ ๕
ท ๑.๑ ป.๓/๓ - เขยี นแผนภาพโครงการ
ท ๑.๑ ป.๓/๔ - พูดสอื่ สารในชีวิตประจำวนั
ท ๑.๑ ป.๓/๖ - พูดรายงาน
ท ๒.๑ ป.๓/๒ - การอ่านสะกดคำ
ท ๒.๑ ป.๓/๕ - การแจกลกู
ท ๓.๑ ป.๓/๑ - ฟงั การสัมภาษณ์
ท ๓.๑ ป.๓/๔ - ฟังการรายงาน
ท ๔.๑ ป.๓/๑ - ตอบคำถาม
๒๐
ท่ี ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ / สาระสำคญั ฯ เวลา น้ำหนัก
ตวั ช้ีวดั (ชั่วโมง) คะแนน
๑๐ นอกเมอื ง...ในกรงุ ท ๑.๑ ป.๓/๑ - เขยี นแสดงความคิดเห็น ๑๒ ๕
ท ๑.๑ ป.๓/๓ - เขียนแผนภาพโครงการ
ท ๑.๑ ป.๓/๔ - พดู สื่อสารในชวี ิตประจำวนั
ท ๒.๑ ป.๓/๕ - พดู รายงาน
ท ๓.๑ ป.๓/๔ - การอ่านสะกดคำ
ท ๔.๑ ป.๓/๑ - การแจกลูก
ท ๔.๑ ป.๓/๓ - ฟังการสัมภาษณ์
ท ๔.๑ ป.๓/๔ - ฟงั การรายงาน
ท ๕.๑ ป.๓/๔ - ตอบคำถาม
๑๑ สง่ ข่าว...เลา่ เร่อื ง ท ๑.๑ ป.๓/๑ -เขยี นแสดงความคดิ เหน็ ๑๒ ๕
ท ๑.๑ ป.๓/๓ - เขยี นแผนภาพ โครงการ
ท ๑.๑ ป.๓/๔ - เขียนจดหมาย
ท ๒.๑ ป.๓/๒ - พดู ส่ือสารในชีวติ ประจำวัน
ท ๒.๑ ป.๓/๕ - พูดรายงาน
ท ๓.๑ ป.๓/๔ - การอา่ นสะกดคำ
ท ๔.๑ ป.๓/๑ - การอา่ นแจกลกู
ท ๔.๑ ป.๓/๓ - ฟังการสัมภาษณ์
ท ๕.๑ ป. ๓/๕ - ฟังการรายงาน
- ตอบคำถาม
๑๒ ประชาธปิ ไตยใบเล็ก ท ๑.๑ ป.๓/๑ - เขยี นแสดงความคิดเหน็ ๑๒ ๕
ท ๑.๑ ป.๓/๓ - เขียนแผนภาพ โครงการ
ท ๑.๑ ป.๓/๔ คำกรยิ า
ท ๒.๑ ป.๓/๒ - พูดสื่อสารในชีวิตประจำวนั
ท ๒.๑ ป.๓/๕ - พูดรายงาน
ท ๓.๑ ป.๓/๔ - การอ่านสะกดคำ
ท ๔.๑ ป.๓/๑ - การแจกลกู
ท ๕.๑ ป.๓/๕ - ฟังการสัมภาษณ์
- ฟงั การรายงาน
- ตอบคำถาม
๒๑
ที่ ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / สาระสำคญั ฯ เวลา น้ำหนัก
๑๓ ของดีในตำบล ตวั ชว้ี ดั (ชว่ั โมง) คะแนน
- เขียนแสดงความคดิ เห็น
๑๔ ธรรมชาติเจ้าเอย ท ๑.๑ ป.๓/๑ - เขียนแผนภาพ โครงการคำ ๑๒ ๕
ท ๑.๑ ป.๓/๓ วเิ ศษณ์
๑๕ เล่นทายคำ ท ๑.๑ ป.๓/๔ - พดู สื่อสารในชีวติ ประจำวนั ๑๒ ๕
ท ๒.๑ ป.๓/๒ - พดู รายงาน
๑๖ บนั ทึกความหลงั ท ๒.๑ ป.๓/๕ - การอา่ นสะกดคำ ๑๒ ๕
ท ๓.๑ ป.๓/๔ - การแจกลกู
ท ๔.๑ ป.๓/๑ - ฟังการสมั ภาษณ์ ๑๒ ๑๐
ท ๔.๑ ป.๓/๕ - ฟังการรายงาน
ท ๕.๑ ป.๓/๔ - ตอบคำถาม
- เขยี นแสดงความคิดเหน็
ท ๑.๑ ป.๓/๑ - เขยี นแผนภาพ โครงการคำ
ท ๑.๑ ป.๓/๓ วเิ ศษณ์
ท ๑.๑ ป.๓/๔ - พดู ส่อื สารในชวี ติ ประจำวัน
ท ๒.๑ ป.๓/๒ - พดู รายงาน
ท ๒.๑ ป.๓/๕ - การอา่ นสะกดคำ
ท ๓.๑ ป.๓/๔ - การแจกลกู
ท ๔.๑ ป.๓/๑ - ฟังการสัมภาษณ์
ท ๔.๑ ป.๓/๕ - ฟังการรายงาน
ท ๕.๑ ป.๓/๔ - ตอบคำถาม
ท ๑.๑ ป.๓/๑ - เขียนแสดงความคดิ เห็น
ท ๑.๑ ป.๓/๒ - เขยี นแผนภาพ โครงการ
ท ๑.๑ ป.๓/๓ การใช้เคร่อื งหมายต่างๆ
ท ๑.๑ ป.๓/๔ - พูดสื่อสารในชวี ิตประจำวัน
ท ๑.๑ ป.๓/๖ - พูดรายงาน
ท ๒.๑ ป.๓/๒ - การอา่ นสะกดคำ
ท ๒.๑ ป.๓/๕ - การแจกลูก
ท ๓.๑ ป.๓/๔ - ฟงั การสมั ภาษณ์
ท ๔.๑ ป.๓/๑ - ฟังการรายงาน
- ตอบคำถาม
ท ๑.๑ ป.๓/๑ - เขยี นแสดงความคิดเหน็
ท ๑.๑ ป.๓/๓ - เขยี นแผนภาพ โครงการ
ท ๑.๑ ป.๓/๔ สำนวนโวหาร คำคล้อง
ท่ี ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / สาระสำคญั ฯ ๒๒
ตวั ชีว้ ดั
เวลา นำ้ หนกั
จอง (ช่วั โมง) คะแนน
ท ๒.๑ ป.๓/๒ - พดู ส่อื สารใน ๒๐๐ ๑๐๐
ท ๒.๑ ป.๓/๕ ชวี ติ ประจำวัน
- พดู รายงาน
ท ๓.๑ ป.๓/๔ - การอ่านสะกดคำ
ท ๔.๑ ป.๓/๖ - การแจกลกู
ท ๕.๑ ป.๓/๔ - ฟังการสัมภาษณ์
- ฟังการรายงาน
- ตอบคำถาม
รวมตลอดปี
๒๓
การวเิ คราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชว้ี ัด
กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๓
๒๔