The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Vorachat Detyothin, 2024-02-05 02:01:36

Thai Financial System_Mar 2023

Thai Financial System_Mar 2023

Thai Financial Systems May 2023


Outline ❖ Financial Institutions and Non-banks ❖ Financial Markets ❖ Thai Financial Regulators and Players 2


Source of Fundings (Outstanding as % of GDP)


Financial Institutions (FIs) • Thai Commercial Banks • Retail Banks • Subsidiaries • Foreign Bank Branches Undertake finance business of accepting deposit from public and granting credit which includes medium term and long term loan to qualified industry. Undertake credit foncier business by accepting deposit from public, granting mortgage loan, and purchasing immovable property under contract of sale with right of redemption. Commercial Banks Credit Foncier Company SFIs A state-owned financial institution established by a specific law to implement government policies in developing and promoting the economy and supporting various investments under the supervision of the MOF. Intermediary for capital mobilization and allocation of economic resources Finance Companies 4 Securities Companies Companies licensed to undertake securities businesses to perform securities brokering, dealing, underwriting, mutual fund management, private fund management, securities financing, securities borrowing and lending


Outstanding of bond market by issuer type (billion Baht) Bond Market Source: ThaiBMA, BOT Market size to GDP (%) Public Debt Securities holders (as of Mar 2023) Corporate Bond holders (as of Dec 2022) 5


Peer-to-Peer lending Platform P - Loan • Including 10 companies • e.g. AEON , American Express Credit card company 01 Nano Finance 02 Asset management company 03 • Provide loan to retail for the purpose of business undertaking without any collateral • e.g. first choice , tidlor • Managing and solving NPLs for Banks • e.g. BAM , SAM • Provide loan to retail for the purpose of get goods or services with or without collateral • e.g. KTC , Krungsri • An electronic platform provider which takes a matchmaker role between lenders and borrowers without using financial intermediary • E.g. Nestify 04 05 Non-Banks 6


Money Market Capital Market FX Market and FX derivative market Interbank Market Repurchase Market FX swaps Bond Market Stock Market Spot Forward FX Swaps Cross Currency Swaps FX options Financial Market 7


Bank A Bank B FX Interbank Onshore Market FX Brokers Importers Exporters Bank C FX Brokers Bank D FX Interbank Offshore Market มาตรการป้องปรามการเก็งก าไรค่าเงินบาท * FX Interbank Onshore Market will trade USDTHB pair only. Anti-speculation measures Onshore and Offshore Markets FX Market 8


FX Hedging Instruments 9


SET MAI LiVE TFEX • Paid up capital : > THB 300 M • 3 years+ of operating track record • net profits THB 50 M over 2-3 years • SMEs and Startups Platform for fundraising and Trading • Knowledge Sharing for preparing SMEs and Startups • Thailand Futures Exchange Platform for trading products such as Gold, Currency, Agricultural products แบ่งเป็น ตราสารทุน (Equity Instruments) และ ตราสารหนี้(Bond Instruments) Capital Market Primary Market Secondary Market • Paid up capital : > THB 50 M • 2 years+ of operating track record • net profits THB 10 M latest year 10


Government BOT SOEs Corporate Foreign Total 45% Outstanding As of Dec 2021 20% 7% 27% 1% Primary market Secondary market OTC Key players • FI • Mutual fund • HNW and individual • Insurance companies • Contractual Savings Fund e.g. SSO Capital Market - Bond 11


Ministry of Finance Bank of Thailand ▪ Commercial banks ▪ Specialized Financial Institutions (SFIs) (Supervisory Role) ▪ Non-banks e.g. P-Loan, e-money Securities and Exchange Commission ▪ Securities Businesses ▪ Asset Management Company ▪ Stock and Derivatives Exchange Fiscal Policy Office ▪ SFIs (Ownership Role) Office of Insurance Commission ▪ Insurance Business Ministry of Agriculture & Cooperative Cooperative Auditing Department ▪ Cooperatives Financial Services Providers Regulators Ministry Level Financial Institutions Capital Markets Semi-formal FIs Thai Financial Regulators and Players 12


โครงการพัฒนาศูนย์กลางการเงินและตลาดทุน EEC


แนะน าทีม FCD ประชุม “โครงสร้างพ ื้นฐาน” กับ SET (คทง. 4 ฝ่าย) Kickoffs “เกณฑ์การระดมทุน” กับ ก.ล.ต. ประชุมกับ Targeted Investor กับ AMATA & WHA & Rojana etc. Kickoffs “เกณฑ์การระดมทุน”กับ SET ประชุมกับ Targeted Investor กับ SNC / SCG / PTT etc. 14 Financial Center Development Team – FCD พห ี่น ิ ง พแี่จน พผี่ึง้ ปอง โอ๊ค หารือการจัดตั้งกระดานฯ กับท่าน ดร.ภากร (ผจก.ตลท.) ประชุม Infra Tradingกับทีม Operation คุณภัทรวสี(รอง ผจก.ตลท.) Working Term ตั้งกระดานรระดมทุน กับผู้บริหารระดับสูง SET


ภูมิหลังโครงการ 15 โครงการพัฒนาแหล่งระดมทุน EEC และการพัฒนาศูนย์กลางการเงิน EEC มีแนวคิด พัฒนาแหล่งระดมทุน EEC เป็นล าดับแรก ร่วมกับ SET • ระดมทุนทั้ง ตลาดแรก (Primary Market) และ ตลาดรอง (Secondary Market) เป็น USD etc. รองรับธุรกิจที่ใช้USD เป็น Functional Currency • เนื่องจากการซื้อขายหลักทรัพย์เป็น USD จ าเป็นต้องมีการพัฒนาระบบงานรองรับการ Clearing และ Settlement ดังนั้น จึงต้องมีการประมาณการ Demand & Supply Side จากฝ่ังผู้ระดมทุนเป้าหมาย และ ผู้ลงทุนเป้าหมาย • ที่ผ่านมา ทีมพัฒนาศูนย์กลางการเงิน ได้ด าเนินการ ดังต่อไปนี้ • วางแนวคิดการพัฒนาแหล่งระดมทุน EEC ทั้งบน รูปแบบเดิม Traditional และ รูปแบบ Digital • สอบถามและรวบรวม Demand & Supply side 1. ความต้องการทั้ง Financial Services & Support และความสนใจในการจัดหาเงินทุน ทั้ง Project Base & Long Term Base กับภาคเอกชนที่เป็น Potential Fundraisers 2. ความสนใจของผู้ลงทุน (Demand Side) ในแหล่งระดมทุน EEC • วางแผนและจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐาน รองรับการพัฒนาแหล่งระดมทุนร่วมกับ SET และเอกชน • วิเคราะห์และจัดท าข้อสรุปเกณฑ์การระดมทุนในแหล่งระดมทุน EEC ร่วมกับ ก.ล.ต. และ SET


มติการประชุมคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (Board SET) เมื่อ 25 เมษายน 66 เห็นชอบการร่วมแถลงข่าวกับ EEC ในการพัฒนาแหล่งระดมทุนร่วมกัน แต่งตั้งคณะท างานขับเคลื่อนการพัฒนาศูนย์กลางการเงินใน EEC (สกพอ. ธปท. ก.ล.ต. และ ตลท.) การด าเนินงานท ี่ผ ่ านมาของโครงการฯ 16 25 ตุลาคม 64 การประชุมคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิ เศษภาคตะวันออก (กพอ.) ครั้งที่ 2/65 มติที่ประชุม เห็นชอบ พัฒนาแหล่งระดมทุนใน EEC โดยสนับสนุนให้ใช้เงินตราต่างประเทศ และเริ่มต้นด้วย USD มติที่ประชุม รับทราบ แนวทางการขับเคลื่อนโครงการฯ โดยให้เริ่มพัฒนาแหล่งระดมทุน EEC (EEC Fundraising Venue) เป็นล าดับแรก เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในด้านการให้บริการทางการเงิน แก่ภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจ และเป็นพื้นที่น าร่อง (Pilot Area) มติที่ประชุม รับทราบ แนวทางการพัฒนาแหล่งระดมทุน EEC (EEC Fundraising Venue) และให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสนับสนุน โครงการฯ เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมทางการเงินให้สอดรับและสนับสนุนการลงทุนใน EEC ทั้งจากนักลงทุนไทยและต่างประเทศ 9 มีนาคม 65 28 ธันวาคม 65 การประชุมคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิ เศษภาคตะวันออก (กพอ.) ครั้งที่ 5/65 มีการประชุมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (เช่น ก.ล.ต. ตลท. และ ธปท.) และผู้ระดมทุนเป้าหมาย มากกว่า 10 ครั้ง เพื่อให้ได้มาซึ่งภาพรวมแหล่งระดมทุน เกณฑ์การระดมทุน และโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสม และ Feasibility Study เบื้องต้น ปี 65 - 66 การด าเนินงานต่อไป เดือน มิถุนายน 66 การด าเนินงานทผี่่านมา แถลงข่าวการพัฒนาแหล่งระดมทุน EEC ร่วมกัน (รอยืนยันนัดหมาย 2 มิถุนายน 2566) ร่วมสนับสนุนการจัดเตรียม Trading Infrastructure ทั้ง Traditional และ Digital Path และสนับสนุนข้อมูลจัดท า Feasibility Study ส าหรับ ตลท. โดยเฉพาะฝ่ัง Supply Side 25 เมษายน 66 ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการพัฒนาแหล่งระดมทุน EEC ตลท. พัฒนาระบบรองรับการซื้อ-ขายที่เป็นเงินตราต่างประเทศ


1 3 Infrastructure ใช้Blockchain/DLT สนับสนุนการท า ธุรกรรมการเงิน 12 S-Curve+ แหล่งระดมทุน เงินตราต่างประเทศ (Fundraising) 1. เพื่อ Facilitate ธุรกิจใน EEC ให้สามารถท าธุรกรรมทางการเงิน ตั้งแต่การเข้าถึงแหล่งเงินทุน การระดมเงินทุน การบริหารความเสี่ยง และการเข้าถึงบริการทางการเงินและการท าธุรกรรมการเงินที่คล่อง และสะดวก และต้นทุนที่เหมาะสม ส าหรับบริษัทหลากหลายประเภทและขนาดตลอดทั้ง Value Chain 2. เพื่อใช้ความเป็นศูนย์กลางทางการเงินต่อยอดให้EEC ที่สามารถดึงดูดบริษัทชั้นน า SMEs ที่เปน ็ ธุรกิจต่องเนื่องและ Startup ที่หลากหลายให้มาลงทุนขยายกิจการ/จดทะเบียนในเขต EEC วัตถุประสงค์ของการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางการเงิน ผ่าน 3 กิจกรรมหลัก เพื่อให้ผู้ที่ ่ลงทุนใน EEC สามารถ เลือกใช้บริการการเงินตามความ เหมาะสมประกอบด้วย Green Activities or Industries Green Finance (Transition Financing + Green Industries) Supply Chain Supply Chain Financing (SMEs & Start Up) 2 4 17 พัฒนา ล าดับแรก Sandbox ของกิจกรรม และหากภาคส่วนอื่นๆ เห็นประโยชน์ก็ขยาย ผลได้ทั้งประเทศ


ภาพรวมการพัฒนาศูนย์กลางการเงิน EEC แหล่งระดมทุน EEC เป้าหมาย เปน ็ แหล่งรวมบริการการเงินเพื่อ 12 S-Curve และเป็นการระดมทุนทั้งเงินบาทและ เงินตราต่างประเทศ พัฒนา ล าดับแรก สนับสนุน • เพื่อช่วย facilitate ธุรกิจขนาดกลางและเล็ก • สามารถน า Blockchain Technology มาช่วยลดขั้นตอนและกระบวนการในการ reconcile เอกสาร • ใช้ Smart Contracts ในการลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการช าระเงิน • ลดต้นทุนทางการเงินต ่าลง Supply Chain Financing พัฒนา คู่ขนานกันไป Start-Up Green Financing • ออกแบบผลิตภัณฑ์ทางการเงิน Fund Raising หรือ Fund Matching ผ่านการจัดท ากระดาน (Dash Board) • รายชื่อและข้อมูลเบื้องต้นของกลุ่มผู้ประกอบการ Start-Up • Business Matching Platform • สนับสนุนการลงทุนในธุรกิจใหม่ๆ ที่สนับสุนเป้าหมายการเข้าสู่Net Zero ของ ประเทศไทย • ให้ธุรกิจในไทยสามารถรับมือกับ Transition Risk และ Physical Risk และ สามารถแข่งขันได้ในระยะยาว • Green Bond • การซื้อขาย คาร์บอนเครดิต (Carbon Credit) ในตลาด อบก. 18 เป็น แหล่งรวมธุรกรรมการเงินเพื่อสนับสนุนกลุ่มผู้ประกอบการใน แหล่งน าร่องธุรกรรมการเงินใหม่ๆ (Sandbox) ให้ประเทศพื้นที่ เช่น blockchain / tokenization ผลักดันให้ลูกค้าใน EEC ทั้งรายใหญ่ SME และ start up ใน เปลี่ยนแปลงไปสู่Green and Sustainable Finance และอาจต่อพัฒนาต่อยอดจนกลายเป็นเมืองการเงินของ EEC


• เป็นประโยชน์ต่อการจัดสรรเงินทุนส าหรับกิจการที่มีความเกี่ยวข้องกับ เงินตราต่างประเทศ • บริษัทมีกิจกรรมในพื้นที่ EEC และมีการท าธุรกรรมที่ใช้เงินตรา ต่างประเทศ ทั้ง USD และ RMB • แหล่งระดมทุนจะสนับสนุนการจัดหาเงินตราต่างประเทศส าหรับด าเนิน ธุรกิจได้สะดวก และสามารถลดต้นทุนทางการเงินได้ ตัวอย่าง ผลการหารือผู้ระดมทุนเป้าหมาย สรุปการหารือ กลุ่มผู้ระดมทุนเป้าหมาย มีความเห็นส่วนใหญ่ว่า “การพัฒนาแหล่งระดมทุนเงินตราต่างประเทศ จะสามารถสนับสนุน กลุ่มผู้ประกอบการได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคธุรกิจที่มีการท าธุรกิจในระดับนานาชาติ” สรุปประเด็นจากกลุ่มตัวอย่าง ได้ดังนี้ กลุ่ม บ.พลังงาน กลุ่ม ธุรกิจ Start-Up ที่สนับสนุนอุตฯ เป้าหมาย • มีการลงทุนในต่างประเทศ หากมีเครื่องมือการเงินที่สามารถหา USD Funding ได้จะเป็นประโยชน์มาก • กลุ่มธุรกิจในนิคมฯ ที่มีความสนใจใน Foreign Currency ส่วนใหญ่ เป็น Global Firms ที่มีการตั้งอยู่แล้ว • มีความสนใจ ในการหาเครื่องมือทางการเงินที่ช่วย Exit หรือ Partial Divestment ได้ • เครื่องมือทางการเงินที่เป็น USD เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อ MNCs • บริษัทในเครือที่ลงทุนและร่วมทุนในต่างประเทศ ท าธุรกรรมด้วยเงิน USD หากมีเครื่องมือทางการเงินสนับสนุนการจัดหา USD Funding จะเป็นประโยชน์มาก • กลุ่มผู้ประกอบการในนิคมฯ ส่วนใหญ่ใช้เงินตราต่างประเทศ เข้ามา เพื่อลงทุนและประกอบธรุกิจ ทั้ง USD หรือ RMB • จะเป็นประโยชน์หาก EECสนับสนุนการจัดหาเงินทุนเงินตราต่างประเทศ กลุ่ม บ.นิคมอุตสาหกรรม 1 • การมีแหล่งเงินทุนที่เป็น Foreign Currency เพื่อสนับสนุนกลุ่มธุรกิจ ที่มีความสอดคล้องกับ 12 อุตสาหกรรมเป้าหมาย EEC และเป็นกลุ่ม ธุรกิจใหม่ จะเป็นประโยชน์มาก เนื่องจากธุรกิจส่วนใหญ่เป็นธุรกิจตั้ง ใหม่ และมีความจ าเป็นต้องระดมทุน • ส่วนใหญ่มีการท าธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท าธุรกรรมกับต่างประเทศ ยกเว้นการก่อสร้างที่ยังคงต้องใช้เงิน บาท 19 กลุ่ม บ.นิคมอุตสาหกรรม 2 ผลการส ารวจความคิดเห็น


ภาพรวมการพัฒนา EEC Fundraising Venue EEC Fundraising Venue Traditional Path Digital Path – TDX (Thai Digital Exchange) Debt (THB/USD) Equity IPO บริษัทใน EEC & 10 S-Curve บน New Trading Platform (ร่วมกับ SET) สกุลเงิน: USD/THB เกณฑ์: เป็นไปตามเกณฑ์การเข้าจดทะเบียนหลักทรัพย์ในปัจจุบัน ระดมทุนส าหรับ Project Base 20 Financial Activities Bond Loan พัฒนา Clearing & Settlement System พัฒนา เป็นล าดับแรก เข้าระดมทุนได้แล้ว อยู่ระหว่างการพัฒนาคาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 66 ท าได้ค่อนข้างเสรี


โครงการตลาดทุน EEC การพัฒนาหลักทรัพย์กระดาน EEC (EEC Fundraising Venue)


22


23


24


Click to View FlipBook Version