คุคุณ คุคุ ครูรูสุสุ รูรู ด สุสุ า จัจัน จัจั ทอง นาฎศิศิ ศิศิ ลป์ป์พื้พื้ ป์ป์ พื้พื้ น พื้พื้ เมืมือ มืมื ง ภาคใต้ จัดทำ โดย เด็ด็ก ด็ด็ หญิญิงญิญิกรกนก ช่ช่ว ช่ช่ ยทอง เสนอ
มีลัษณะเป็นแหลมหรือแผ่น ดินยื่นลงไปในทะเล มีพื้นที่ ชายฝั่งทะเลเป็นแนวยาวทั้ง สองด้านรวมกันมากกว่า 2,400 กิโลเมตร ตอนกลาง ของภาค มีเทือกเขาสูง 3 แนว ทอดตัวเป็นแนวยาวเหนือ-ใต้ ลักษณะภูมิประเทศของภาคใต้
ความเชื่อ ความเชื่อของชาวไทยในภาคใต้ จำ แนกตาม มูลฐานที่เกิดได้เป็น 4 ประเภทใหญ่ คือ 1. ความเชื่อที่เกี่ยวกับลัทธิและศาสนา 2. ความเชื่อทางไสยศาสตร์ ภาคใต้มี 2 กลุ่มคือชาวเลหรือชาวน้ำ และ พวกซาไกความเชื่อของชน 2 กลุ่มนี้ เด่นใน เรื่องผี วิญญาณ และอำ นาจเหนือธรรมชาติ ส่วนความเชื่อที่สืบเนื่องจากศาสนาจำ แนก เป็นกลุ่มไทยพุทธ ไทยมุสลิม และชาวจีน ความเชื่อกลุ่มนี้เ นี้ กิดจากความเชื่อมั่นต่อความเชื่อกลุ่มแรก ถือว่าชีวิตอยู่ใต้ อำ นาจของสิ่งเหนือธรรมชาติหรือบุญญาธิการของพระศาสดาและทวยเทพทั้ง ทั้ ปวง และถ้าผู้ใดสามารถยึดมั่นในสิ่งเหล่านั้น นั้ ก็ดี หรือเพียรบำ เพ็ญจนอำ นาจเหล่านั้น นั้ มีขึ้น ขึ้ ในตัวตนก็ดี จะทำ ให้ตนมีคุณวิเศษเหนือคนสามัญ พวกนี้จึ นี้ จึ งเชื่อในเรื่องไสยศาสตร์ เวทมนตร์คาถา เครื่องรางของขลัง และโชคลางแล้วมักดึงเอาศาสนาเข้ามาประสมประสาน มีอิทธิพลของลัทธิศาสนา พราหมณ์และลัทธินิยมดั้ง ดั้ เดิมประสมอยู่เป็นอันมาก
ความเชื่อ ความเชื่อของชาวไทยในภาคใต้ จำ แนกตาม มูลฐานที่เกิดได้เป็น 4 ประเภทใหญ่ คือ 3. ความเชื่อที่เกี่ยวกับจริยาวัตร 4. ความเชื่อที่เกี่ยวกับยากลางบ้านและการปัด เป่ารักษาไข้ ความเชื่อกลุ่มนี้ส่ นี้ ส่ วนใหญ่เกิดแต่อุบายที่จะอบรมสั่งสอนให้ผู้ ที่อยู่ในความรับผิดชอบ มีความประพฤติหรือกิริยาที่ควร ประพฤติสอดคล้องกับค่านิยมของสังคมนั้น นั้ ๆเป็นเครื่อง กำ หนด มีการปลูกฝังให้เชื่อตามให้ปฏิบัติตาม มักนำ เอาคุณและโทษที่อยู่เหนือวิสัยธรรมชาติมาอ้างเพื่อไม่ให้ฝ่าฝืนหรือ ละเลย ความเชื่อกลุ่มนี้เ นี้ กิดแต่ความจำ เป็นในการดิ้น ดิ้ รน ต่อสู้เพื่อความอยู่รอดและปลอดภัยของชีวิตความ เชื่อส่วนหนึ่งได้จากประสบการณ์ที่สะสมสืบต่อกัน มาซึ่งความเชื่อเหล่าอาจจะเป็นจริงหรือไม่เป็นจริง ขึ้น ขึ้ อยู่กับความเชื่อนั้น นั้ ๆ
ยะลา นับถือศาสนาอิสลาม 81.46% คนพุทธ 18.45% - นราธิวาส นับถือศาสนาอิสลาม 82% คน พุทธ 17% - สงขลา นับถือศาสนาอิสลาม 63.71% คนพุทธ 33.16% เป็นต้น ซึ่งประชากรส่วนใหญ่จะนับถือศาสนาพุทธ ประมาณ78% ศาสนาอิสลามประมาณ20% และ อื่นๆ อีก2% ศาสนา การบับถือศาสนาต่างๆจะแตกต่างตามพื้น พื้ ที่เช่น
การแต่งกาย การแต่งกายของคนภาคใต้นั้นเป็นการ แต่งกายที่ไม่เหมือนกับ ภาคอื่น ในด้าน การแต่งกายชาวภาคใต้ใช้ผ้าหลายรูป แบบ ทั้งผ้าฝ้าย ผ้าแพร ผ้าเขียนลายเทียน ผ้ามัดย้อม แต่ผ้าที่มีชื่อที่สุดของภาคใต้ กลับเป็น ที่มีชื่อเสียงเป็นอย่างมาก และเนื่องจากภาคใต้ตั้งอยู่แถบศูนย์สูตร มีผลให้อุณหภูมิไม่แตกต่าง กันนัก ชาวใต้ นิยมแต่งกายแบบเรีย รี บง่าย หลวมๆ ผ้ายก
อาหารพื้นบ้านภาคใต้มีรสชาติโดดเด่นเป็น เอกลักษณ์เฉพาะถิ่นเนื่องจากภาคใต้เคย เป็นศูนย์กลางการค้า การเดินเรือ รื ของ พ่อค้าจากอินเดีย จีน และชวาในอดีต ดังนั้น อาหารพื้นบ้านภาคใต้ทั่วไปจะมีลักษณะผสม ผสาน ระหว่า ว่ งอาหารไทยพื้นบ้านกับอาหาร อินเดียใต้ และอาหารของภาคใต้จะมีรสเผ็ด มากกว่า ว่ ภาคอื่น ๆ เช่นคั่วกลิ้ง,แกงคั่วหอย ขมใบชะพลู,แกงไตปลา,ขนมจีนน้ำ ยาปู เป็นต้น อาหาร
ภาคใต้ ดินแดนแห่งความหลากหลายทาง ป ไป ระเพณีและวัฒ วั นธรรมที่มีความน่าสนใจไม่น้อย ด้ กว่า ว่ ภาคอื่นของไทย เพราะเป็นเมืองที่เต็มไป ด้ วยเสน่ห์มนต์ขลัง ชวนให้น่าขึ้นไปสัมผัสความ งดงามเหล่านี้ยกตัวิย่ วิย่ างเช่น ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ ชาวนครฯ เชื่อมั่นมั่ว่า ว่ ระบรมธาตุเจดีย์เป็น เสมื บ มื อนตัวแทนของพระพุทธศาสนา ภายในเจดีย์ รรจุพระบรมสารีริ รี ก ริ ธาตุ ทุกปีหนึ่งๆ และ ประเพณีชิงเปรต เป็นประเพณีเนื่องในเทศกาลวัน วั สารท เดือนสิบของชาวไทยที่นับถือศาสนาพุทธ จัดทำ โ ในวัด วั ทุกวัด วั ในวัน วั แรม 14 หรือ รื 15 ค่ำ เดือนสิบ ดยทำ ร้านจัดสำ รับอาหารคาวหวานไปวางอุทิศ ส่วนกุศลให้เปรตชน (ปู่ ย่า ตา ยาย และ บรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว) ร้านที่วาง ประเพณี
สังคมชาวใต้เป็นสังคมเกษตรกรรม อาชีพของชาวใต้ส่วนใหญ่คือการเพาะ ปลูก เลี้ยงสัตว์ และประมง การเพาะปลูก ทำ ได้เฉพาะบริเ ริ วณที่ราบลุ่มชายฝั่งทะเล โดยเฉพาะทางด้านทิศ ตะวัน วั ออกสามารถ ทำ นาได้มาก นิยมปลูกข้าวเจ้าเป็นหลัก การประมงมีการจับปลาดุกทะเลในรูด้วย ในบริเ ริ วณน้ำ ตื้นโดยใช้เครื่อ รื่ งมือ ไซ สวิง วิ ไม้พาย ส่วนเวลากลางคืนเมื่อน้ำ ใสออก หาปลา ใช้ฉมวกแทงปลา ส่วนบริเ ริ วณป่า ชายเลน และลำ คลองจะดักปลาด้วยแร้ว จับกุ้งด้วยฉมวก อาชีพ
หนังตะลุง คือ การสร้างโรงหนัง และขึงจอที่ทำ จากผ้าขาวผืนเดียว ใช้ ตะเกียงให้แสงสว่าว่งด้านหลังเวที การแสดง จะแสดงโดยใช้ตัว หนังแกะจากตัวหนังซึ่งแกะจากหนังวัว วั หรือ รื หนังควายมาทำ เป็น ตัวละคร และใช้คน เชิดตัวหนังนั้นพร้อมๆ กับการพากย์ไปด้วย
มโนราห์ มโนราห์เป็นศิลปะการแสดงพื้นบ้านของภาคใต้ที่นิยม เล่นสับ ทอดกันมายาวนานไม่น้อยกว่าว่๔๐๐ ปี เป็นการ ละเล่นที่มีทั้งการร้อง การรําและมีท่ารําที่อ่อนช้อย สวยงามเป็นการร่ายรําและรับร้องที่งดงามเป็น เอกลักษณ์เฉพาะถิ่น มีดนตรีเ รีป็นลูกเล่นรับ-ส่งตลอด การแสดง ผู้รำ โนราสวมครื่อ รื่ งแต่งกายที่ทําด้วยลูกปัด หลากสี
ระบำ ไก่ชน เป็นการละเล่นที่มีความสนุกสนาน และเป็นการนำ ภูมิปัญญา ลีลาของ การชนไก่มาประยุกต์ และปรับปรุง โดยคณะครูอาจารย์ภาควิช วิ านาฏศิลป์ ไทย วิท วิ ยาลัยนาฏศิลปพัทลุงได้คิด ประดิษฐ์ “ระบำ ชนไก่” ขึ้นมา โดยนำ การละเล่น ตีไก่ หรือ รื ชนไก่ มาจัดทำ เป็นการแสดงในรูปแบบนาฏศิลป์ไทย
ระบำ ปั้นหม้อ รำ ปั้นหม้อได้แนวคิดจากวิธีการปั้น หม้อ ซึ่งมีเอกลักษณ์และยังคงวิธี การอันดั้งเดิม ซึ่งแตกต่างจากการ ปั้นหม้อสมัยใหม่ และในปัจจุบันยัง คงทำ สืบต่อกันมาจนทุกวันนี้การ ฟ้อนเริ่มจากการที่ชายหนุ่มไปขนดิน มาให้ฝ่ายหญิง ฝ่ายหญิงจะเริ่ม กระบวนการปั้นจนให้เป็นรูปหม้อ และฝ่ายชายจะนำ ฟืนมาเพื่อเตรียม เผาหม้อ ในระหว่างที่รอให้เผาหม้อ ให้เรียบร้อยจะมีการเกี้ยวพาราสีกัน
เป็นการแสดงของชาวภาคใต้ ดัดแปลงมา จากการทำ สวนยาง ซึ่งเป็นอาชีพหลักของ ชาวปักษ์ใต้ ท่ารำ เริ่มจากากรออกไปกรีด ยาง ฝ่ายชายจะมีไฟฉายติดอยู่บนศีรษะ และถือมีดสำ หรับกรีดยาง การที่ต้องมี ไฟฉายเพราะออกไปกรีดยางตอนดึก พอ รุ่งเช้าก็ออกไปเก็บยาง ต่อจากนั้นก็นำ น้ำ ยางไปผสมกับน้ำ ยา แล้วกวนจนน้ำ ยาง แข็งตัว จึงนำ ไปนวด และรีดเป็นแผ่น แล้ว นำ ออกตากแดด จนถึงการเก็บแผ่นยาง ระบำ กรีดยาง