The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการธุรกิจ 1 -2564 จากสำนักพิมพ์เอมพันธ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by K.NUN, 2021-04-10 06:55:47

การจัดการธุรกิจ 1 -2564 จากสำนักพิมพ์เอมพันธ์

การจัดการธุรกิจ 1 -2564 จากสำนักพิมพ์เอมพันธ์

2.1 การยนื ยนั ตวั ตนลม้ เหลว (Authentication Failed)
2.2 โปรแกรมประสงคร์ า้ ย (Malicious Software)
2.3 การคน้ หาชอ่ งโหวบ่ นเวบ็ ปซตจ์ ากผปู้ มป่ ระสงคด์ ี (Reconnaissance)
2.4 การโจมตปี ปยงั เป้าหมายโดยตรง (Intrusion or Attempted Exploit)
2.5 การปลอมแปลงเวบ็ ปซตใ์ นการทาธุรกรรมดจิ ทิ ลั (Phishing Website)

2.6 โปรแกรมทป่ี มพ่ งึ ประสงคเ์ พอ่ื กระทาการบางสง่ิ (Potentially Unwanted Program)

โทรจนั แอดแวร์
(Trojans) (Adware)

สปายแวร์ มลั แวร์
(Spyware) (Malware)

3. การจดั การความเสี่ยงและภยั คกุ คามธรุ กรรมดิจิทลั

ความเสี่ยง (Risk Definition) หมายถงึ ผล
ของความปม่แน่นอนท่ีส่งผลต่อองค์กรหรอื
เหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ และกอ่ ใหเ้ กดิ ผลเชงิ ลบต่อ
เป้าหมายขององคก์กรการจดั การความเสย่ี ง
แ ล ะ ภัย คุ ก ค า ม ธ รุ ก ร ร ม ดิ จิ ทัล เ ป็ น
องค์ประกอบสาคญั ในการทาธุรกรรมดจิ ทิ ลั
ทงั้ กบั ตนเอง หน่วยงาน องค์กรต่าง ต เป็ น
อย่างมากโดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่อื ใหผ้ ู้ใช้งาน
เทคโนโลยสี ารสนเทศทุกคนมคี วามรู้ความ
เข้าใจและตระหนักถึงความเส่ียงและภัย
คกุ คามธุรกรรมดจิ ทิ ลั



3.1 ความเสย่ี งดา้ นขอ้ มลู สารสนเทศ (Information Risk)
3.2 ความเสย่ี งดา้ นอุปกรณ์ฮารด์ แวร์ (Hardware Risk)
3.3 ความเสย่ี งดา้ นซอฟตแ์ วร์ (Software Risk)
3.4 ความเสย่ี งดา้ นผใู้ ชง้ าน (Users Risk)
3.5 ความเสย่ี งดา้ นกายภาพและสงิ่ แวดลอ้ ม (Physical and Environment Risk)

3.6 ความเสย่ี งดา้ นเครอื ขา่ ยสอ่ื สาร (Network Communication Risk)

เพอ่ื ป้องกนั ความเสย่ี งหน่วยงานหรอื องคก์ รควรดาเนินการดงั น้ี
กาหนดใหม้ รี ะบบเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตสารอง
กาหนดคุณสมบตั ทิ างดา้ นความมนั่ คงปลอดภยั
กาหนดระดบั การใหบ้ รกิ ารหรอื แกป้ ัญหาหากเกดิ เหตกุ ารณ์ขน้ึ อยา่ งเป็นขนั้ ตอน
กาหนดการบรหิ ารจดั การสาหรบั บรหิ ารเครอื ขา่ ยทงั้ หมดทอ่ี งคก์ รใชบ้ รกิ ารอยู่
กาหนดขอ้ ตกลงกบั ผใู้ หบ้ รกิ ารเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตหากเกดิ เหตุการณ์เครอื ข่ายขดั ขอ้ งขน้ึ
กาหนดมาตรการและวธิ กี ารบารงุ รกั ษาอุปกรณ์เครอื ขา่ ยสอ่ื สารใหส้ ม่าเสมอ

3.7 ความเสย่ี งดา้ นกระบวนการใชง้ าน (Process Risk)

หมายถงึ ความเสย่ี งทเ่ี กดิ จากกระบวนการใชง้ านธุรกรรมดจิ ทิ ลั ซ่งึ ส่วนใหญ่มกั จะเกดิ จากทกั ษะหรอื ความรแู้ ละ
ความเขา้ ใจการใชง้ านดจิ ทิ ลั ของผใู้ ชง้ าน ดงั นนั้ เพอ่ื ป้องกนั ความเสย่ี งดงั กล่าว ผใู้ หบ้ รกิ ารควรมกี ารใหค้ วามรแู้ ละ
ความเขา้ ใจการใชง้ านดจิ ทิ ลั กบั ผใู้ ชง้ านเบอ้ื งตน้ ก่อนทจ่ี ะเขา้ ใชง้ านหรอื บรกิ ารธุรกรรมดจิ ทิ ัลต่าง ต ของหน่วยงาน
องคก์ รทม่ี อี ยซู่ ง่ึ สามารถทาปด้ ดงั น้ี

การจดั ฝึกอบรมการใชง้ านธุรกรรมดจิ ทิ ลั

การจดั ทาคมู่ อื การใชง้ านธุรกรรมดจิ ทิ ลั

มขี อ้ แนะนาหรอื ตวั ชว่ ยในขณะมกี ารใชง้ านธรุ กรรมดจิ ทิ ลั ทป่ี รากฏขอ้ ความช่วยเหลอื อยบู่ นหน้าเวบ็ เพจ

การออกแบบและพฒั นาแอปพลเิ คชนั ใหมท่ ุกครงั้ โดยตระหนกั ถงึ ความงา่ ยและสะดวกกบั ผใู้ ชง้ านธรุ กรรมดจิ ทิ ลั มากทส่ี ดุ

4. ความมนั่ คงปลอดภยั ในการทาธรุ กรรมดิจิทลั

ปัจจบุ นั ผใู้ ชง้ านอนิ เทอรเ์ น็ตทวั่ โลกมจี านวนเพม่ิ มากขน้ึ ทุกปี โดยเฉพาะจานวนผใู้ ชง้ านอนิ เทอรเ์ น็ตในภูมภิ าคเอเชยี มจี านวน
ถงึ 2,300 ลา้ นคน เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั จานวนภูมภิ าคทเ่ี หลอื จานวนผใู้ ชง้ านอนิ เทอรเ์ น็ตทงั้ หมดรวมกันเพยี ง 2,233 ลา้ นคน
คดิ เป็น 50.3% ของประชากรทใ่ี ชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตทวั่ โลก รองลงมาเป็นภมู ภิ าคยุโรป มจี านวนถงึ 727 ลา้ นคน คดิ เป็น 15.9% และ
น้อยทส่ี ุดคอื ภมู ภิ าคโอเชยี เนียออสเตรเลยี มจี านวน 29 ลา้ นคน คดิ เป็น 0.6% ของประชากรทใ่ี ชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ทวั่ โลก

จานวนผใู้ ชง้ านอนิ เทอรเ์ น็ตทวั่ โลก ค.ศ. 2020

เปรยี บเทยี บเปอรเ์ ซน็ ตจ์ านวนผใู้ ชง้ านอนิ เทอรเ์ น็ตทวั่ โลก ค.ศ. 2020

หน่วยที่ 8

กฎหมายและจริยธรรม

และการทาธรุ กรรมดิจิทลั

ห น่ ว ย ท่ี . 8

1. กฎหมายและจริยธรรม

กฎหมาย
คอื ขอ้ บงั คบั ทเ่ี ป็นมาตรฐานทใ่ี ชว้ ดั และใช้กาหนดความ
ประพฤตขิ องประชากรในสงั คมไดว้ า่ สงิ่ ทก่ี ระทาลงไปนนั้
ถกู หรอื ผดิ สามารถกระทาไดห้ รอื กระทาไมไ่ ด้

จริยธรรม (Ethics)
มาจากคาวา่ จรยิ + ธรรม ซง่ึ คาวา่ จรยิ หมายถงึ ความประพฤตหิ รอื กริ ยิ าทค่ี วร
ประพฤติ ส่วนคาว่า ธรรม หมายถงึ คุณความดี หรอื หลกั ปฏบิ ตั ิ เม่ือนาคาทงั้
สองมารวมกนั เป็น “จรยิ ธรรม” จงึ มคี วามหมายว่า “คุณความดที ค่ี วรประพฤต”ิ
หรอื “หลกั ปฏบิ ตั หิ รอื กริ ยิ าทค่ี วรประพฤต”ิ

2. จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ปัจจุบนั เทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ มามบี ทบาทและ
ความเก่ียวข้องกับชุมชนและสงั คมในทุกระดบั ชนั้
ดงั นนั้ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ โดยเฉพาะการใช้
งานกับชุมชนและสังคมออนไลน์ จาเป็ นจะต้อง
คานงึ ถงึ จรยิ ธรรมใน 4 ประเดน็ ประกอบดว้ ย

01 02 03 04

ความเป็นสว่ นตวั ความถกู ตอ้ ง ความเป็นเจา้ ของ การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู
(Information Privacy) (Information Property) (Data Accessibility)
(Information Accuracy)



3. ความหมายของธรุ กรรมดิจิทลั

ธรุ กรรมดิจิทลั (digital transaction) หมายถงึ ธรุ กรรมทก่ี ระทาขน้ึ โดยใชว้ ธิ กี ารทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์
ผา่ นระบบเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตโดยใชอ้ ุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ ป็นเครอ่ื งมอื ดาเนินการเป็นหลกั

4. กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย

กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศของประเทศไทย ไดท้ าการศกึ ษา
และยกรา่ งกฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศตงั้ แต่วนั ท่ี 15 ธนั วาคม
2541 โดยคณะกรรมการเทคโนโลยสี ารสนเทศแห่งชาติ (กทสช.)
(National Information Technology Committee) และมอบหมาย
ให้ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งช าติ
(National Electronics and Computer Technology Center)
ร่วมกับสานักงานพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
(National Science and Technology Development Agency) ใน
ฐานะสานักงานเลขานุการคณะกรรมการไอทแี ห่งชาติ ทาหน้าท่ี
เป็นเลขานุการประกอบด้วยกฎหมายท่ดี าเนินการศกึ ษาและยก
รา่ งทงั้ หมด 6 ฉบบั

กฎหมายเกย่ี วกบั ธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Transactions Law)
กฎหมายเกย่ี วกบั ลายมอื ชอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Signatures Law)
กฎหมายเกย่ี วกบั การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานสารสนเทศใหท้ วั่ ถงึ และเทา่ เทยี มกนั (National Information Infrastructure Law)
กฎหมายเกย่ี วกบั การคมุ้ ครองขอ้ มลู สว่ นบคุ คล (Data Protection Law)
กฎหมายเกย่ี วกบั การกระทาความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ (Computer Crime Law)
กฎหมายเกย่ี วกบั การโอนเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Funds Transfer Law)

5. กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทยท่ีมีผลบงั คบั ใช้อย่ใู นปัจจบุ นั

กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศท่มี ผี ลบงั คบั ใช้อยู่ใน
ปัจจุบนั มอี ยู่ด้วยกัน 3 ฉบบั คือ กฎหมายธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายการคุ้มครองขอ้ มูลส่วน
บุคคล และกฎหมายการกระทาความผิดเก่ียวกับ
คอมพวิ เตอร์

กฎหมายธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ พ.ศ. 2544
พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2551
พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2552

พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2562

พระราชบญั ญตั สิ านกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ. 2562

พระราชกฤษฎกี ากาหนดประเภทธุรกรรมในทางแพง่ และพาณชิ ยท์ ย่ี กเวน้
มใิ หน้ ากฎหมายวา่ ดว้ ยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สม์ าใชบ้ งั คบั พ.ศ. 2549
พระราชกฤษฎกี ากาหนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารในการทาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกสภ์ าครฐั พ.ศ. 2549
พระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยวธิ กี ารแบบปลอดภยั ในการทาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกสพ์ .ศ. 2553

กฎหมายการค้มุ ครองข้อมลู ส่วนบคุ คล
พระราชบญั ญตั คิ ุม้ ครองขอ้ มลู สว่ นบุคคล พ.ศ. 2562

กฎหมายการกระทาความผิดเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์

พระราชบญั ญตั กิ ารกระทาผดิ ทางคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบญั ญตั กิ ารกระทาผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2560

กฎหมายเศรษฐกิจดิจิทลั
พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการรกั ษาความมนั่ คงปลอดภยั ไซเบอร์ พ.ศ. 2562

6. การทาธรุ กรรมดิจิทลั

จากความหมายของธุรกรรมทางอิ เล็กทรอนิ กส์
(electronic transaction) คอื ธุรกรรมทก่ี ระทาขน้ึ โดยใช้
วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทัง้ หมดหรือแต่บางส่วน นั้น
ปัจจุบนั ประเทศไทยมหี ลายหน่วยงานทงั้ ในส่วนภาครัฐและ
ภาคธุรกจิ มกี ารปรบั เปล่ยี นการทาธุรกรรมดา้ นต่าง ๆ จาก
เดิมท่ีใช้เอกสารเป็นหลกั โดยเฉพาะภาคการเงินและการ
ธนาคาร มกี ารปรบั รูปแบบการทาธุรกรรมการเงนิ ทส่ี ะดวก
รวดเรว็ ขน้ึ ผา่ นระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ คอื การใชเ้ ทคโนโลยเี ขา้
มาพฒั นาระบบการเงนิ (financial technology)

6.1 6.2 6.3 6.4

การจา่ ยเงนิ ผา่ นระบบ การบรกิ ารรบั -สง่ สนิ คา้ ออนไลน์ การบรกิ ารอเิ ลก็ ทรอนิกสภ์ าครฐั การทาธุรกรรมทางการเงนิ
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Transfer Service Online (Thailand e-Government) (Online Banking หรอื Internet Banking)
Products)
(Electronic Payment)

นอกจากน้ีธนาคารแห่งประเทศไทยได้อนุญาตให้ธนาคารพาณิชย์ประกอบธุรกิจให้บรกิ ารอ่นื ท่เี ก่ยี วขอ้ งกับเทคโนโลยี
สารสนเทศเพอ่ื สนบั สนุน digital banking (Information Technology related services) มที งั้ หมด 8 ประเภท ดงั น้ี

1. นอกจากน้ธี นาคารระบบการเงนิ แบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Money)
2. บรกิ ารเครอื ขา่ ยบตั รเครดติ (Credit Card Network)
3. บรกิ ารเครอื ขา่ ยแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ทางการคา้ (Electronic Data Capture)
4. บรกิ ารจดุ เชอ่ื มโยง (Switching Center)
5. บรกิ ารหกั บญั ชี (Clearing)
6. บรกิ ารชาระดลุ (Settlement)
7. บรกิ ารชาระเงนิ แทน

8. บรกิ ารชาระเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์

หน่วยท่ี 9

กรณีศึกษา

ธรุ กิจดิจิทลั

1. ธนาคารอิเลก็ ทรอนิ กส์ (e-Banking)

ซ่งึ ในปัจจุบนั แต่ละธนาคารได้มกี ารพฒั นาธุรกรรมดจิ ทิ ลั
เพ่อื ให้บรกิ ารแก่ลูกค้าหลากหลายรูปแบบทงั้ บริการบน
เวบ็ ไซต์ หรอื แอปพลเิ คชนั ทส่ี ามารถดาวน์โหลดและตดิ ตงั้
เพ่อื ใช้งานบนเคร่อื งคอมพิวเตอร์พีซี โน้ตบุ๊ก แท็บเล็ต
โทรศพั ทม์ อื ถอื สมารต์ โฟน หรอื อุปกรณ์พกพาต่าง ๆ เช่น
กดเงนิ โดยไมใ่ ชบ้ ตั ร สแกนบลิ /QR ชาระเงนิ เตมิ เงนิ โอน
เงนิ จา่ ยบลิ การลงทุน การแจง้ เตอื นการบรกิ ารพเิ ศษหรอื
บรกิ ารผา่ นแบงกง้ิ เอเยนต์ เป็นตน้

2. การตลาดอิเลก็ ทรอนิ กส์ (e-Marketing)

ซ่งึ ในปัจจุบนั แต่ละธุรกิจได้มกี ารพฒั นาธุรกรรมดจิ ทิ ลั
เพ่อื ใหบ้ รกิ ารแก่ลูกคา้ หลากหลายรูปแบบทงั้ บรกิ ารบน
เว็บไซต์ หรือแอปพลิเคชนั ท่ีสามารถดาวน์โหลดและ
ตดิ ตงั้ เพอ่ื ใชง้ านบนเครอ่ื งคอมพวิ เตอรพ์ ซี ี โน้ตบุ๊ก แทบ็
เลต็ โทรศพั ท์มอื ถอื สมารต์ โฟน หรอื อุปกรณ์พกพาต่าง
ๆซง่ึ มใี หบ้ รกิ ารหลากหลายรปู แบบ เชน่ การไลฟ์ สดขาย
สินค้า การสัง่ -ซ้ือสินค้าออนไลน์ การโฆษณาผ่าน
เวบ็ ไซตห์ รอื สอ่ื สงั คมออนไลน์ เป็นตน้

3. สถาบนั การศึกษาอิเลก็ ทรอนิ กส์ (e-Institute)

ซง่ึ ในปัจจุบนั ไดม้ กี ารปรบั เปลย่ี นรปู แบบการจดั การเรยี นการสอน รายวชิ า หลกั สตู ร คอร์สฝึกอบรม การประชุมหรอื สมั มนา
ทางวชิ าการ ไวใ้ หบ้ รกิ ารแก่ผเู้ รยี น นิสติ นักศกึ ษา นักวชิ าการ ชาวบา้ น ชุมชนหรอื ประชาชนทวั่ ไปหลากหลายรูปแบบทงั้
บรกิ ารบนเวบ็ ไซต์ หรอื แอปพลิเคชนั ทส่ี ามารถดาวน์โหลดและตดิ ตงั้ เพ่อื ใชง้ านบนเคร่อื งคอมพวิ เตอรพ์ ซี ี โน้ตบุ๊ก แทบ็ เลต็
โทรศพั ทม์ อื ถอื สมารต์ โฟน หรอื อุปกรณ์พกพาต่าง ๆซง่ึ สถาบนั การศกึ ษาอเิ ลก็ ทรอนิกสท์ ม่ี กี ารปรบั เปล่ียนเป็นจดั การเรยี นรู้
ดจิ ทิ ลั เช่น การศกึ ษาระบบเปิดเพ่อื การเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ (Thai MOOC) สถาบนั กวดวชิ า โรงเรยี น สถาบนั การศึกษา
มหาวทิ ยาลยั หน่วยงานหรอื องคก์ รทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั งานดา้ นวชิ าการหรอื การใหค้ วามรสู้ ชู่ ุมชน เป็นตน้

4. การเกษตรกรรมอิเลก็ ทรอนิ กส์ (e-Agriculture)

เป็นการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารมา
ประยุ กต์ใช้เพ่ือเ ป็ นเค ร่ืองมือในการจัดกา รข้อมูล
ขา่ วสารหรอื การตดิ ต่อเพอ่ื การสอ่ื สารและส่งข้อมลู ใน
ระยะไกล อีกทัง้ ยังนาไปประยุกต์เพ่ือประโยชน์
ทางด้านเกษตรกรรมบางครงั้ อาจจะเรยี กว่า เกษตร
อจั ฉรยิ ะ (Smart Agriculture) เชน่ ระบบสารสนเทศ
ภมู ศิ าสตร์ ฟารม์ อจั ฉรยิ ะ (Smart Farm) เกษตรกรรม
ความแมน่ ยาสงู (Precision Farming) เป็นตน้

5. โรงพยาบาลอิเลก็ ทรอนิ กส์ (e-Hospital)

ซ่ึงในปัจจุบันมีรูปแบบทัง้ บริการบนเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชันท่ี
สามารถดาวน์โหลดและติดตงั้ เพ่อื ใช้งานบนเคร่อื งคอมพวิ เตอร์พีซี
โน้ตบุ๊ก แทบ็ เลต็ โทรศพั ทม์ อื ถอื สมารต์ โฟนหรอื อุปกรณ์พกพาต่าง ๆ
ซ่ึงคลินิก โรงพยาบาล สถาบันสุขภาพต่าง ๆ ของรัฐก็ได้ท่ีมีการ
ปรบั เปล่ียนการบรกิ ารให้กบั ลูกค้าหรือประชาชนหลายรูปแบบเช่น
ระบบคิวออนไลน์ การดูแลสุขภาพด้วยการใช้เทคโนโลยีอัจฉริยะ
(Intelligent healthcare) ตูบ้ รกิ ารอเนกประสงคภ์ าครฐั (Government
Smart Kiosk) เป็นตน้

6. การขนส่งอิเลก็ ทรอนิ กส์ (e-Transportation)

ซ่งึ ในปัจจุบนั มรี ูปแบบทงั้ บรกิ ารบนเว็บไซต์ หรอื แอป
พลเิ คชนั ท่สี ามารถดาวน์โหลดและตดิ ตงั้ เพ่อื ใช้งานบน
เคร่อื งคอมพวิ เตอรพ์ ซี ี โน้ตบุ๊ก แทบ็ เลต็ โทรศพั ทม์ อื ถอื
สมารต์ โฟน หรอื อุปกรณ์พกพาต่าง ๆ ซง่ึ หน่วยงานภาค
ขนส่งของเอกชนและภาครฐั ได้มกี ารปรบั เปล่ียนการ
บริการให้กับลูกค้าหรือประชาชนหลายรูปแบบ เช่น
ระบบตรวจสอบและตดิ ตามสนิ คา้ (Track & Trace)
ระบบรบั -สง่ พสั ดุขนาดเลก็ (Drop & Pick up) และระบบ
การขนสง่ แบบเรยี ลไทมเ์ ป็นตน้

7. การกีฬาอิเลก็ ทรอนิ กส์ (e-Sports)

ซง่ึ ในปัจจุบนั มรี ปู แบบการเล่นเป็นกลุ่มทมี หรอื บุคคลบนเวบ็ ไซต์หรอื
แอปพลิเคชนั ท่สี ามารถดาวน์โหลดและติดตงั้ เพ่อื ใช้งานบนเคร่อื ง
คอมพวิ เตอรพ์ ซี ี โน้ตบุ๊ก แทบ็ เล็ต โทรศพั ท์มอื ถอื สมาร์ตโฟน หรอื
อุปกรณ์พกพาต่าง ๆ ปัจจบุ นั มอี ยเู่ กมหลายประเภททม่ี กี ารแขง่ ขนั กง่ึ
อาชพี หรอื ระดบั มอื อาชพี มเี งนิ รางวลั กอ้ นโตเพอ่ื ดงึ ดูดผเู้ ขา้ ชม เช่น
เวิลด์ไซเบอร์เกมอาร์โอวเี มเจอร์ลีก และอิเล็กทรอนิกส์สปอร์ตชิง
แชมป์ โลก เป็นตน้

8. อตุ สาหกรรมการผลิตอิเลก็ ทรอนิ กส์ (e-Manufacturing)

ซง่ึ ในปัจจุบนั มอี ุตสาหกรรมการผลติ อเิ ล็กทรอนิกส์
ทส่ี ามารถควบคุมและสงั่ การกระบวนการผลติ ผ่าน
เวบ็ ไซต์ หรอื ควบคุมและสงั่ การผา่ นแอปพลเิ คชนั ท่ี
สามารถดาวน์โหลดและตดิ ตงั้ เพ่อื ใชง้ านบนเครอ่ื ง
คอมพวิ เตอร์พซี ี โน้ตบุ๊ก แทบ็ เลต็ โทรศพั ท์มอื ถอื
สมาร์ตโฟน หรอื อุปกรณ์พกพาต่าง ๆ ได้หลาย
อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ ช่น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ย า น ย น ต์
อุตสาหกรรมผลิตช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์ แ ละ
อุตสาหกรรมผลติ กระดาษ เป็นตน้

9. ธรุ กิจบนั เทิงอิเลก็ ทรอนิ กส์ (e-Entertainment)

เป็นการประกอบธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั กระบวนการสตรมี มงิ่ (Streaming)ซ่ึงก็คอื การรบั ส่ง
สญั ญาณ ถ่ายทอดไฟลม์ ลั ตมิ เี ดยี ทงั้ ภาพและเสยี งผา่ นเครอื ขา่ ยระบบอนิ เทอรเ์ น็ตดว้ ยการใชเ้ ทคโนโลยี 4G หรอื 5G
โดยไมต่ อ้ งมกี ารดาวน์โหลดไฟลจ์ นครบ เชน่ เน็ตฟลกิ ซ์ (Netflix) ยทู บู (YouTube) และเฟซบกุ๊ (Facebook) เป็นตน้

10. รฐั บาลอิเลก็ ทรอนิ กส์ (e-Government)

การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและระบบการสอ่ื สารอนิ เทอรเ์ น็ต เขา้ มาชว่ ยในการบรหิ าร
จดั การและชว่ ยงานของภาคราชการใหม้ คี วามคล่องตวั และมปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ขน้ึ กวา่ เดมิ


Click to View FlipBook Version