The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการธุรกิจ 1 -2564 จากสำนักพิมพ์เอมพันธ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by K.NUN, 2021-04-10 06:55:47

การจัดการธุรกิจ 1 -2564 จากสำนักพิมพ์เอมพันธ์

การจัดการธุรกิจ 1 -2564 จากสำนักพิมพ์เอมพันธ์

หน่วยท่ี 1

ความรพู้ ืน้ ฐาน

ทางธรุ กิจดิจิทลั

1. ความหมายของธรุ กิจความหมายของธรุ กิจ

ธรุ กิจ คอื กจิ กรรมตา่ ง ๆทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การผลติ สนิ คา้ หรอื
บรกิ ารโดยการจดั สรรทรพั ยากรหรอื ปัจจยั ทม่ี อี ยมู่ าเปลย่ี น
สภาพอย่างมรี ะบบจนกระทงั่ ไดเ้ ป็นสนิ คา้ หรอื บรกิ ารแล้ว
นาส่ิงเหล่านัน้ มาจาหน่ายซ้ือขายหรือแลกเปล่ียนเพ่ือ
นาไปสู่ผลกาไรหรือส่ิงตอบแทนตามจุดประสงค์ของ
ผปู้ ระกอบการ

2. รปู แบบการจดั ตงั้ ธรุ กิจ

2.1 ธรุ กิจแบบเจ้าของคนเดียว (Single or Sole Proprietor)

เป็นกจิ การแบบมผี ปู้ ระกอบการเพยี งคนเดยี วทงั้ การตดั สินใจและ
การบรหิ ารดา้ นต่าง ๆ เป็นสทิ ธขิ าดของผูป้ ระกอบการเพยี งคน
เดยี วธุรกิจประเภทน้ีส่วนมากเป็นธุรกิจส่วนตวั ท่มี ีขนาดเล็กใช้
เงนิ ทุนในการดาเนินการไม่มาก ขอบเขตการดาเนินการหรอื การ
บริหารเรียบง่ายไม่ซับซ้อนขัน้ ตอนการทางานไม่เยอะ แล ะ
สว่ นมากจะเน้นไปทค่ี วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผปู้ ระกอบการกบั ลกู คา้

2.2 ห้างห้นุ ส่วน (Partnership)

คือ กิจการหรือองค์การทางธุรกิจท่ีมีผู้ประกอบการหรือ
ผูด้ าเนินการมากกว่าสองคนข้นึ ไปโดยทุกคนมคี วามรบั ผิดชอบ
รว่ มกนั ในการดาเนินธุรกจิ และมกี ารแบ่งผลกาไรออกเป็นสดั ส่วน
ตามท่ีตกลงกันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ห้าง
หุน้ สว่ นแบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภทไดแ้ ก่

หา้ งหุน้ สว่ นสามญั หา้ งหุน้ สว่ นจากดั

2.3 บริษทั จากดั (Limited Company)

คอื องค์การธุรกจิ หรอื กจิ การทม่ี บี ุคคลตงั้ แต่ 3 คนขน้ึ ไป
ลงทุนร่วมกันทากิจกรรมหรือประกอบกิจการ โดยมี
วตั ถุประสงคใ์ นการแสวงหากาไรจากการประกอบการนัน้
ๆ มาแบ่งกนั บรษิ ทั จากดั นัน้ จะมกี ารแบ่งทุนออกเป็นหุน้
โดยมลู คา่ แต่ละหุน้ นนั้ เทา่ กนั ผลู้ งทนุ สาหรบั บรษิ ทั จากดั จะ
เรยี กว่า ผถู้ อื หุน้ และผถู้ อื หุน้ จะรบั ผดิ เพียงเฉพาะจานวน
ไมเ่ กนิ จานวนเงนิ ทถ่ี อื หุน้ อยู่

2.4 สหกรณ์ (Co – Operative Society)

คือ องค์การธุรกิจท่ีมีกลุ่มบุคคล ซ่ึงมีอาชีพความสนใจหรือ
ความต้องการเป็นไปในทิศทางเดยี วกนั หรอื คล้ายคลึงกนั มา
รวมตวั กนั ทาหน้าทใ่ี นการประกอบธุรกจิ เพ่อื ช่วยเหลือสมาชกิ
เชน่ สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์ออมทรพั ยค์ รู เป็นตน้

2.5 รฐั วิสาหกิจ (State Enterprise)

คอื องค์การธุรกจิ หรอื หน่วยงานทร่ี ฐั ได้จดั ตงั้ ขน้ึ
โดยมีเงินทุนทัง้ หมดเป็ นของรัฐ หรือรัฐมีทุน
รว่ มกนั อย่ดู ว้ ยมากกวา่ 50% องคก์ ารรฐั วสิ าหกจิ
นนั้ ตอ้ งมกี ารบรหิ ารใหไ้ ดก้ าไรและคนื กาไรใหแ้ ก่
รฐั เช่น การประปานครหลวงการไฟฟ้าฝ่ายผลติ
แหง่ ประเทศไทย เป็นตน้

3. ประเภทของธรุ กิจ

3.1 ธรุ กิจแบบซื้อมาขายไป (Merchandising Firm)

หมายถงึ กจิ การทซ่ี อ้ื ขายสนิ คา้ ซง่ึ มที งั้ การขายส่งและ
ขายปลกี โดยทไ่ี ม่ใช่ผูผ้ ลติ มรี ายได้หลกั คือ เงนิ หรอื
กาไรทไ่ี ดจ้ ากการขายสนิ คา้ มคี ่าใชจ้ า่ ย คอื ตน้ ทุนของ
สนิ คา้ และคา่ ใชจ้ า่ ยในการขายและบรกิ าร

3.2 กิจการผลิต (Manufacturing Firm)

หมายถงึ กจิ การผลติ ทม่ี โี รงงานสาหรบั ผลติ สนิ คา้ หรอื กจิ การ
พวกอุตสาหกรรม มรี ายได้หลกั จากกาไรท่ไี ดจ้ ากการขาย
สนิ ค้า มคี ่าใช้จ่าย คือ ค่าต้นทุนในการซ้ือวตั ถุดิบ ค่าจ้าง
คนงาน และคา่ ใชจ้ า่ ยในกระบวนการผลติ

3.3 กิจการให้บริการ (Service Firm)

เช่น บริการจองตัว๋ เคร่ืองบิน หรือธนาคาร
กิ จ ก า ร ป ร ะ เ ภ ท น้ี มีร า ย ไ ด้ ห ลั ก ม า จ า ก
ค่าธรรมเนียม หรอื ค่าบรกิ ารส่วนค่าใช้จ่าย คอื
ค่าจ้างพนักงานหรอื เงนิ เดือนพนักงานค่าวสั ดุ
สน้ิ เปลอื ง หรอื คา่ เชา่

4. ปัจจยั พืน้ ฐานในการดาเนินธรุ กิจ

คน เงิน วสั ดหุ รือวตั ถดุ ิบ
(Man) (Money)
(Material)

วิธีปฏิบตั ิงาน การจดั การ ขวญั และกาลงั ใจ
(Method) (Management) (Morale)

5. หน้าที่ในการจดั การองคก์ รธรุ กิจ

1. การวางแผน 2. การจดั องคก์ ร 3. การอานวยการ 4. ดา้ นการควบคมุ

6. ลกั ษณะของธรุ กิจทวั่ ไปและธรุ กิจดิจิทลั

ธรุ กิจดิจิทลั เป็นธุรกจิ ทใ่ี ช้เทคโนโลยี
ต่ า ง ๆ เ ข้ า ม า ช่ ว ย พัฒ น า แ ล ะ
ด า เ นิ น ก า ร ใ น ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ มี
รูปแบบการส่ือสารท่ีรวดเร็วโดยการ
น า ส่ ง ข้อ มูล ผ่ า น เ ค รือ ข่า ย เ ข้า สู่
คอมพวิ เตอร์ทันทีโดยไม่หยุดพกั จึง
สามารถทางานได้ทันทีแตกต่างจาก
รู ป แ บ บ ข อ ง ธุ ร กิจ แ บ บ เ ดิม ท่ีใ ช้
เทคโนโลยีขนั้ พ้ืนฐาน คือ จดหมาย
โทรสาร และโทรศพั ท์

6. การเปลี่ยนแปลงเข้าส่ยู คุ เศรษฐกิจดิจิทลั

การเปล่ียนแปลงเขา้ สู่ยุคเศรษฐกิจดิจทิ ลั มาจากแนวคิด
“ประเทศไทยยุค 4.0” หรอื “ไทยแลนด์ 4.0” (Thailand 4.0)
ซ่ึงเป็ นวิสัยทัศน์เชิงนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจข อง
ประเทศไทยหรอื โมเดลพฒั นาเศรษฐกจิ ของรฐั บาล ภายใต้
การนาของพลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชานายกรฐั มนตรแี ละ
รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงกลาโหมทเ่ี ขา้ มาบรหิ ารประเทศบน
วสิ ยั ทศั น์ทว่ี า่ “มนั่ คงมงั่ คงั่ ยงั่ ยนื ”



7. ความหมายและแนวคิดธรุ กิจดิจิทลั

ธรุ กิจดิจิทลั (Digital Business)

คือ การนาเทคโนโลยีต่าง ๆเข้ามาช่วยปรับเปล่ียน
โครงสร้างและพฒั นาธุรกิจเพ่ือเพ่ิมความสะดวกสบาย
ให้กบั ทงั้ ผู้ประกอบการ ผูบ้ รโิ ภค ในการเลือกสินคา้ หรอื
บรกิ ารต่าง ๆ และเพ่อื เพ่ิมผลกาไรหรอื ยอดขายให้กับ
ธุรกจิ เช่น การนาแอปพลิเคชนั มาช่วยให้ผูบ้ รโิ ภคเขา้ ถงึ
สนิ คา้ หรอื บรกิ ารไดง้ ่ายมากขน้ึ เช่น การทาโฆษณาผ่าน
เวบ็ ไซต์หรอื ส่อื สงั คมออนไลน์ รวมไปถึงการจดั ซ้ือและ
จดั สง่ สนิ คา้ ในรปู แบบออนไลน์

8. ความสาคญั ของธรุ กิจดิจิทลั

ความสาคญั ของธุรกิจดิจิทลั คอื การปรบั เปล่ยี น
โครงสรา้ งหรอื รปู แบบของธุรกจิ หรอื การประกอบการ
ท่ีเป็ นอยู่แบบเดิม หรืออยู่ในรูปแบบออฟไ ลน์
(Offline) ใหอ้ ยใู่ นรปู แบบออนไลน์ (Online Platform)
แ ล ะ ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ ก า ร ส่ื อ ส า ร
(Information Communication Technology: ICT)ใน
การพัฒนาธุรกิจให้ก้าวสู่ดิจิทัล เพ่ือให้เกิดความ
ทันสมัยและเหมาะสมกับยุคสมัยท่ีมีการพัฒน า
เทคโนโลยตี า่ ง ๆ มากขน้ึ

9. ธรุ กิจดิจิทลั และการเปลี่ยนแปลง

คาว่า Digital Disruption หรือการเปลี่ยนแปลงอนั เนื่องจากเทคโนโลยีดิจิทลั หลายคนเขา้ ใจคาคาน้ีวา่ เป็นแรงโจมตี เป็น
ภยั รา้ ยแรงต่อธุรกจิ แต่พวกเขาเขา้ ใจผดิ เพราะการเปลย่ี นแปลงน้ี คอื การปฏริ ปู การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ จากการนาเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ลั และโมเดลทางธุรกจิ แบบใหม่มาประยุกต์ใชน้ วตั กรรมทางเทคโนโลยแี ละโมเดลต่าง ๆ น้ี จะสามารถส่งผลกระทบต่อ
สนิ คา้ และบรกิ ารในอุตสาหกรรมสง่ิ ต่าง ๆทเ่ี กดิ จากการเปล่ยี นแปลงน้ีส่งผลกระทบต่อตลาดในปัจจุบนั และทาใหเ้ กดิ ความ
จาเป็นในการบรู ณาการสง่ิ ต่าง ๆ ใหม่

หน่วยท่ี 2

โครงสรา้ งพนื้ ฐาน

ธรุ กิจดิจิทลั

1. โครงสรา้ งพืน้ ฐานระบบอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกสเ์ คลื่อนที่ไร้สาย

โครงสรา้ งพน้ื ฐานระบบอุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ช่องทางการติดต่อส่อื สารระหว่างอุปกรณ์ ผ่านเทคโนโลยี
เคล่อื นท่ไี รส้ ายจะมสี ่วนเก่ยี วขอ้ งต่างๆ ไดแ้ ก่ การสอ่ื สารสนามใกล้ (Near Field Communication: NFC)
ช่องทางตดิ ต่อส่อื สารระหว่างอุปกรณ์ ช่องทาง
ทาธุรกรรมดจิ ทิ ลั เทคโนโลยกี ารส่อื สารต่าง ๆ ชอ่ งทางการทาธรุ กรรมดจิ ทิ ลั โดยใชโ้ มไบลเ์ บราวเ์ ซอรแ์ ละ
โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี แอปพลเิ คชนั

2. มิดเดิลแวรข์ องระบบอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกสเ์ คล่ือนที่ไรส้ าย

โมไบล์มิดเดิลแวร์ เป็นซอฟต์แวร์ท่ที าการเช่อื มต่อ
กา ร ใช้ง า นร ะ ห ว่า ง ร ะบ บ ป ฏิบัติกา ร ห รือ เ ช่ือม แ อ ป
พลเิ คชนั ทแ่ี ตกต่างกนั คอื เป็นซอฟตแ์ วรท์ ่ีทางานคนั่
ระหว่างระบบปฏิบตั ิการของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
เคล่อื นทไ่ี รส้ ายประเภทต่าง ๆ และแอปพลิเคชนั หรอื
โ ม ไ บ ล์ แ อ ป พ ลิ เ ค ชัน ท่ีติด ตั้ง อ ยู่ บ น อุ ป ก ร ณ์
อิเล็กทรอนิกส์เคล่ือนท่ีไร้สายเหล่านั้น สามารถ
เช่อื มต่อประสาน (Interface) เขา้ กบั อุปกรณ์ท่ีมี
ระบบปฏบิ ตั กิ ารหรอื แอปพลิเคชนั ท่ตี ่างกนั ไดเ้ พ่อื ให้
การใชง้ านสามารถใชง้ านต่อไปไดอ้ ย่างอตั โนมตั ิ โดย
มดิ เดลิ แวรม์ ปี ระโยชน์ดงั น้ี

พฒั นาและบรหิ ารจดั การแอปพลิเคชนั ทท่ี างาน รักษาความมัน่ คงปลอดภัยและบริการ
บนเวบ็ และแอปพลิเคชนั ท่ที างานบนอุปกรณ์ จดั การอุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ คลอ่ื นทไ่ี รส้ าย
อเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ คล่อื นทอ่ี จั ฉรยิ ะ

รวบรวมกลุ่มผูใ้ ช้งานทส่ี ามารถทางานภายใต้ รกั ษาความมนั่ คงปลอดภยั ของการเช่ือมข้อมูล
ระบบต่าง ๆ ท่ีเป็นเบ้ืองหลังของโมไบล์เว็บ การขนส่งข้อมูล และข้อมูลแอปพลิเคชนั ต่าง ๆ
เซอรว์ สิ หรอื แหลง่ ทรพั ยากรขอ้ มลู บนคลาวดไ์ ด้ ของอุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ คลอ่ื นทไ่ี รส้ าย

3. โครงสร้างพืน้ ฐานการเชื่อมต่อเครือข่ายเคลื่อนท่ีไรส้ าย

โครงสรา้ งพน้ื ทก่ี ารเช่อื มต่อเครอื ขา่ ยเคล่ือนทไ่ี รส้ าย
มหี ลากหลายเทคโนโลยี ไดแ้ ก่ เทคโนโลยรี ะบุตัวตน
ด้วยคล่ืนวิทยุเทคโนโลยีบลูทูธ เทคโนโลยีบีคอน
เทคโนโลยีไวไฟ เทคโนโลยีซิกบี และเทคโนโลยี
โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นท่ี โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี

1. 4.

เทคโนโลยีระบตุ วั ตนด้วยคลื่นวิทยุ หรืออารเ์ อฟไอดี เทคโนโลยีไวไฟ
(Radio Frequency Identification: RFID) (Wi-Fi)

2. 5.

เทคโนโลยีบลทู ธู เทคโนโลยีซิกบี
(Bluetooth Technology) (ZigBee)

3. 6.

เทคโนโลยีบีคอน เทคโนโลยีโทรศพั ท์
(Beacon Technology) เคลื่อนที่

4. การประมวลผลบนโทรศพั ทแ์ ละการประมวลผลบนอปุ กรณ์สวมใส่

4.1 การประมวลผลบนโทรศพั ท์ (Mobile Computing)

คอื โทรศพั ทม์ อื ถอื ทม่ี ลี กั ษณะการทางานเหมอื นคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยที ช่ี ่วยใหผ้ ใู้ ชง้ านสามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารต่าง ๆ ไดท้ ุกทท่ี ุกเวลา
การประมวลผลบนโทรศพั ท์มกี ารเช่ือมโยงกับการส่อื สารไร้สาย สงั่ การผ่านแอปพลิเคชนั ทาให้รบั รู้ตาแหน่งสถานท่ีสนับสนุนการ
เคลอ่ื นไหว (Mobility Support) ความปลอดภยั (Security) การจดั การทรพั ยากร(Resource Management) โปรโตคอลเครอื ขา่ ย (Network
Protocols) การออกอากาศ (Broadcast)เทคโนโลยี (Technologies) มาตรฐาน (Standards) และสอ่ื ไรส้ าย (Wireless Medium)

4.2 การประมวลผลบนอปุ กรณ์สวมใส่ (Wearable Computing)

คือ อุ ปก รณ์ สวม ใส่ท่ีมีลักษณะกา รทาง า นเหมือ น
คอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยที ช่ี ว่ ยผใู้ ชง้ านสามารถเขา้ ถงึ บรกิ าร
ตา่ ง ๆ ไดท้ ุกทท่ี กุ เวลาซง่ึ สามารถควบคุมโดยผู้ใชง้ านและมี
ความมนั่ คงในการปฏิบตั งิ าน ผู้ใช้สามารถป้อนคาสงั่ และ
ดาเนินการชุดคาสัง่ ท่ีป้ อนไว้และผู้ใช้งานสามารถทา
กจิ กรรมอน่ื ๆ ได้

5. การประมวลผลแบบคลาวด์ (Cloud Computing)

การประมวลผลแบบคลาวด์ (Cloud Computing) เป็น
ลักษณะของการทางานของผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ผ่าน
อินเทอร์เน็ต ท่ีให้บริการใดบริการหน่ึงกับผู้ใช้ โดยผู้
ให้บรกิ ารจะแบ่งปันทรพั ยากรให้กับผู้ต้องการใช้งานนัน้
การประมวลผลแบบคลาวด์ เป็นลกั ษณะทพ่ี ฒั นาขน้ึ ต่อมา
จากความคดิ และบรกิ ารของเวอรช์ วั ไลเซชนั และเวบ็ เซอร์
วซิ โดยผู้ใช้งานนัน้ ไม่จาเป็นต้องมคี วามรู้ในเชิงเทคนิค
สาหรบั ตวั พน้ื ฐานการทางานนนั้

5.1 ประเภทของการประมวลผลแบบคลาวด์ (Cloud Computing)

สามารถแบ่งออกได้เป็ น คลาวดส์ ่วนตวั (Private Cloud)
3 ประเภทไดแ้ ก่ Private คลาวดส์ าธารณะ (Public Cloud)
Cloud, Public Cloud คลาวดแ์ บบผสม (Hybrid Cloud)
และ Hybrid Cloud โดย
มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

5.2 การบริการบนระบบการประมวลผลแบบคลาวด์ (Cloud Computing)

สามารถแบ่งรูปแบบของชนั้ ไดแ้ ก่ การให้บริการ
ซอฟตแ์ วร์ หรอื Software as a Service (SaaS)
การใหบ้ รกิ ารแพลตฟอรม์ หรอื Platform as a
Service (PaaS) การใหบ้ รกิ ารโครงสรา้ งพน้ื ฐาน
หรอื Infrastructure as a Service(IaaS) ซง่ึ เป็น
การบรกิ ารหลกั และยงั มบี รกิ ารระบบจดั เกบ็ ข้อมลู
หรอื data Storage as a Service(dSaaS) บรกิ าร
ร่วมรวมลาดับความเช่ือมโยง หรือ Composite
Service (CaaS)



6. ข้อมลู เกินนับ (Big Data)

ความหมายของคาวา่ “ข้อมูลเกินนับ (Big Data)” จากองคค์ วามรู้
ภาษา-วฒั นธรรม โดยสานักงานราชบณั ฑติ ยสภา หมายถึง ขอ้ มูล
ตวั เลข ขอ้ ความ รปู ภาพ วดี ทิ ศั น์ ส่อื ประสม ในรปู แบบดจิ ิทลั ทส่ี รา้ ง
หรือผลิตข้ึนตลอดเวลา เพ่ือประโยชน์ในการจัดเก็บ เผยแพร่
แลกเปล่ยี น ผ่านเครอื ข่ายสารสนเทศโดยบุคคล องค์การของรฐั และ
เอกชน ข้อมูลเหล่านัน้ เม่อื รวมกนั เขา้ มปี รมิ าณมากครอบคลุมเร่อื ง
หลากหลาย และมีความซับซ้อน ไม่อาจประมวลผลด้วยระบบ
คอมพวิ เตอรท์ ม่ี อี ยทู่ วั่ ไปได้ ตอ้ งใชโ้ ปรแกรมประมวลผลทจ่ี ดั ทาเฉพาะ
มาวเิ คราะห์ จดั หมวดหมู่ และจดั การเพ่อื นาผลมาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์
ตามประสงค์

6.1 คณุ ลกั ษณะของข้อมลู เกินนับ (Big Data)

ซง่ึ ประกอบไปด้วยขนาดของขอ้ มูล(Volume)
ความเร็ว(Velocity) ความหลากหลาย
(Variety) ความถูกต้อง (Veracity) คุณค่า
(Value) และความแปรผนั ได(้ Variability)

6.2 หลกั การและการวางกลยทุ ธข์ องข้อมลู เกินนับ

จะมี 3 คาท่ีเก่ียวข้องกัน คือ
ข้ อ มู ล ( Data)ส า ร ส น เ ท ศ
(Information) และการวเิ คราะห์
(Analytics) ซง่ึ มคี วามสมั พนั ธ์
ในหลกั การและการวางกลยุทธ์
ของขอ้ มลู เกนิ นบั

6.3 การเปล่ียนข้อมลู เป็นสินทรพั ยเ์ ชิงกลยทุ ธข์ องธรุ กิจ

เป็นความท้าทายสาหรบั ผู้บริหาร
หรอื เจา้ ของธุรกจิ ในเร่อื งของข้อมูล
เกินนับ ก็คือการเปล่ียนข้อมูลเป็น
สนิ ทรพั ยเ์ ชงิ กลยุทธข์ องธุรกิจ กค็ อื
ผู้บ ริห า ร ห รือ เ จ้า ข อ ง ธุ ร กิจ จ ะ ต้อ ง
ระบุความต้องการให้ไดว้ ่า ต้องการ
สรา้ งคุณค่าอะไรต่อธุรกจิ จากข้อมูล
ท่ีเ กิดข้ึน โ ดย ข้อมูล ข อง ธุ รกิ จ
แบง่ เป็น 3 ประเภทหลกั ๆ ไดแ้ ก่

ขอ้ มลู ประเภทกระบวนการของธรุ กจิ ขอ้ มลู ของสนิ คา้ และบรกิ ารทเ่ี กดิ การ ขอ้ มลู ของลกู คา้
นาเสนอคณุ คา่ ของธุรกจิ ต่อลกู คา้

6.4 การสรา้ งคณุ ค่าให้ธรุ กิจด้วยการทายทุ ธศาสตรข์ ้อมลู (Data Strategy)

ขององค์กรโดยการเร่ิมต้นตัง้ แต่การเก็บ
รวบรวมขอ้ มูลจากแหล่งใดบ้าง เช่น การเก็บ
ขอ้ มูลจากแหล่งภายในบรษิ ทั จากฝ่ ายต่าง ๆ
หรอื เอกสาร เป็นต้น และจากภายนอกองค์กร
เช่น อินเทอร์เน็ต ส่ือสงั คมออนไลน์ เป็ นต้น
ต่อจากนนั้ กท็ าการวเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยนาขอ้ มลู
ท่รี วบรวมมาได้มาทาการวเิ คราะห์ด้วยระบบ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ

6.5 Big Data และการทา Digital Transformation

สาหรบั ธุรกจิ เม่อื มผี ูส้ นใจเขา้ ไปดูสนิ คา้ ในเวบ็ ไซต์ของ
Amazon จะเหน็ ไดว้ ่ามคี าแนะนาต่าง ๆ ทช่ี ่วยใหผ้ ซู้ ้อื
พจิ ารณาในการตดั สนิ ใจซอ้ื สนิ คา้ และยงั มคี าวิจารณ์จาก
ลูกคา้ ดว้ ย และนาขอ้ มูลนัน้ มาช่วยจดั ลาดบั สนิ คา้ มกี าร
เปรยี บเทยี บตวั สนิ คา้ ในลกั ษณะสนิ คา้ ทใ่ี กลเ้ คยี งกนั

7. อินเทอรเ์ น็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Thing)

หมายถึง เครือข่ายของวัตถุ อุปกรณ์
พาหนะ สง่ิ ปลูกสรา้ ง และสงิ่ ของอ่นื ๆ ทม่ี ี
วงจรอิเล็กทรอนิกส์ซอฟต์แวร์ เซ็นเซอร์
และการเช่อื มต่อกบั เครอื ขา่ ยฝังตวั อยู่ และ
ทาใหว้ ตั ถุเหล่านัน้ สามารถเกบ็ บันทกึ และ
แลกเปลย่ี นขอ้ มลู ได้ อนิ เทอรเ์ น็ตของสรรพ
สง่ิ ทาให้วตั ถุสามารถรบั รู้สภาพแวดล้อม
แ ล ะ ถู ก ค ว บ คุ ม ไ ด้ จ า ก ร ะ ย ะ ไ ก ล ผ่ า น
โครงสรา้ งพน้ื ฐานเครอื ข่ายท่มี อี ยู่แล้ว ทา
ใหเ้ ราสามารถผสานโลกกายภาพกบั ระบบ
คอมพวิ เตอรไ์ ดแ้ นบแน่นมากขน้ึ



หน่วยท่ี 3

นวตั กรรมสำหรบั

ธรุ กิจดิจิทลั

1. ควำมหมำยของนวตั กรรม

นวตั กรรม (Innovation) คอื ระบบในธรรมชาติท่ี
นาไปส่กู ารเปลย่ี นแปลงแบบกา้ วกระโดดโดยใชท้ ักษะ
ประสบการณ์ และความคดิ สรา้ งสรรค์ของมนุษย์เพ่ือ
พฒั นากระบวนการการบรกิ ารหรอื ผลติ ภณั ฑใ์ หมข่ ้นึ มา
ใหเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ มวลมนุษยชาติ

2. องคป์ ระกอบของนวตั กรรม

จากประเด็นท่เี ป็นแก่นหลกั ตอ้ งเป็นสงิ่ ใหม่ (Newness)
สาคัญของความหมายของ ตอ้ งเป็นประโยชน์ในเชงิ เศรษฐกจิ (Economic Benefits)
นวัตกรรมสามารถจาแนก ตอ้ งเป็นวธิ กี ารใชค้ วามรแู้ ละความคดิ เชงิ สรา้ งสรรค์ (Knowledge and Creativity Idea)
องค์ประกอบมติ ทิ ส่ี าคญั ของ
นวตั กรรม ออกได้ 3 ประการ

3. นวตั กรรมกบั ธรุ กิจดิจิทลั

เป็ นการสร้างผลิตภัณฑ์ การให้บริการ หรือ
กระบวนการรปู แบบใหม่ อาศยั ขอ้ มลู ขา่ วสารและ
การดาเนินการทางดา้ นเทคโนโลยโี ดยมเี คร่อื งมอื
(Tools) หรอื แอปพลเิ คชนั โปรแกรม (Application
Program) เขา้ มาชว่ ยในการบรหิ ารจดั การ จดั เกบ็
รวบรวม วเิ คราะห์ พยากรณ์ขอ้ มูล เพ่อื ช่วยให้
การดาเนินธุรกจิ หรอื การคา้ ของตนเองได้เปรยี บ
เชิงการแข่งขนั สร้างผลกาไรและสนองตอบต่อ
ความตอ้ งการใหก้ บั ลกู คา้ เป็นหลกั

ความจาเป็นตอ่ การเปลย่ี นแปลงองคก์ รสดู่ จิ ทิ ลั ในปัจจบุ นั มอี ยดู่ ว้ ยกนั หลายประเภท ดงั น้ี
เครอ่ื งจกั รอจั ฉรยิ ะ (Machine Intelligence)
เทคโนโลยแี บบสวมใสไ่ ด้ (Wearable Technologies)
สกุลเงนิ ดจิ ทิ ลั (Digital Currencies)

การนาเสนอแผนภาพขอ้ มลู (Data Visualization)
ระบบรกั ษาความปลอดภยั ในโลกดจิ ทิ ลั (Digital Security)
การประยกุ ตใ์ ชร้ ะบบขอ้ มลู ประสาท (Neurophysiological)

การเปลย่ี นผา่ นสยู่ คุ ดจิ ทิ ลั และการเตรยี มความพรอ้ มดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Digital Transformation and IT
Ambidexterity)
กลยุทธธ์ รุ กจิ ดจิ ทิ ลั และแนวคดิ การเชอ่ื มโยงกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ (Digital Business Strategy and IT Alignment)

4. ประเภทของนวตั กรรมธรุ กิจดิจิทลั

01 02 03

นวัตกรรมธุรกิจ นวตั กรรมธุรกจิ น ว ัต ก ร ร ม ธุ ร กิ จ
ดิจิทัลท่ีเกิดจาก ดจิ ทิ ลั ทเ่ี กดิ จาก ดิจิทัลท่ีเกิดจาก
ความตอ้ งการ ผลติ ภณั ฑ์ กระบวนการ

5. องคป์ ระกอบของนวตั กรรมธรุ กิจดิจิทลั

ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ใ น ก า ร ประสบการณ์ของลกู คา้ (Customer Experience)
ป ร ับ ป รุ ง ธุ ร กิ จ โ ด ย ใ ช้ โมเดลทางธุรกจิ (Business Model)
เทคโนโลยีดิจิทัล และ กระบวนการทางธุรกจิ (Business Operation)
สรา้ งสรรคเ์ พอ่ื พฒั นาให้
ไ ด้ ม า ซ่ึง น วัต ก ร ร ม
ข้ึน ม า ต้ อ ง อ า ศั ย ส่ิ ง ท่ี
เ ก่ี ย ว ข้ อ ง แ ล ะ
ส่ว น ป ร ะ ก อ บ ห ล า ย
อย่าง ซ่ึงองค์ประกอบ
ข อ ง น วั ต ก ร ร ม ธุ ร กิ จ
ดิจิทัลนัน้ สามารถแบ่ง
อ อ ก ไ ด้ เ ป็ น 3
องคป์ ระกอบ ดงั น้ี

6. โมเดลนวตั กรรมธรุ กิจดิจิทลั

เป็ นวิธีท่ีมีประสิทธิภาพและสาคัญมาก ท่ีสุด
สาหรบั หน่วยงาน บรษิ ทั หรอื องคท์ ต่ี อ้ งการความ
โดดเด่นจากการแข่งขนั และการดารงอยู่ได้ของ
หน่ วยงาน บริษัท หรือองค์กรของตนเอง
โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในเวลาทไ่ี ม่แน่นอน ซ่ึงจาเป็น
จะตอ้ งยดึ หลกั เพ่อื สรา้ งนวตั กรรมธุรกจิ ดิจทิ ลั จาก
สงิ่ ต่อไปน้ี

6.1 แนวคิด 4 มิติ (The 4-Dimensional Concept)

01Who 03 How
ใครคอื ลกู คา้ เป้าหมาย หน่วยงาน บรษิ ทั หรอื องคก์ ร สรา้ ง
หรอื สง่ มอบผลประโยชน์อยา่ งไร
02 What
สงิ่ ท่ีเป็นประโยชน์สาหรบั ลูกค้าและ 04 How
พนั ธมติ รทม่ี สี ว่ นรว่ มในการสรา้ งมลู คา่ หน่วยงาน บรษิ ทั หรอื องคก์ ร
จะทาเงนิ อยา่ งไร

เ ป็ น ก า ร ส ร้า ง พ้ืน ฐ า น ท่ี 01 6.2 รปู แบบธรุ กิจ
ครอบคลุมแนวคดิ 4 มติ ิ ซ่ึง
เป็ นสิ่งสาคัญท่ีสุดเ พ่ือให้ การกาหนดกลุ่มลกู คา้ 03
ห น่ ว ย ง า น บ ริษัท ห รือ (Customer segments)
องค์กร ควรปฏบิ ตั ติ ามอย่าง ชอ่ งทางการจดั จาหน่าย
เครง่ ครดั ซง่ึ ประกอบดว้ ย 02 (Channels)

การเสนอคณุ คา่ 04
(Value propositions)
การสรา้ งความสมั พนั ธก์ บั ลกู คา้
(Customer relations)

05 06 07

การกาหนดแหล่งทม่ี าของรายได้ ทรพั ยากรทส่ี าคญั กจิ กรรมหลกั
(Sources of income) (Key resources) (Key Activities)

08 09

พนั ธมติ รทส่ี าคญั โครงสรา้ งตน้ ทนุ
(Key partnerships) (Cost structure)

7. กระบวนกำรสร้ำงนวตั กรรมธรุ กิจดิจิทลั

กระบวนการสรา้ งนวตั กรรมธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั หน่วยงาน บรษิ ทั หรอื องคก์ รสามารถกาหนดทศิ ทางเพ่ือแสดงขนั้ ตอน
การทางานพฒั นานวตั กรรมขน้ึ ใหมไ่ ด้ 5 ขนั้ ตอน

7.1 การรบั รถู้ งึ โอกาส
7.2 การพฒั นาแนวคดิ
7.3 การแกไ้ ขปัญหา
7.4 การพฒั นาตน้ แบบ
7.5 การแกไ้ ขจดุ บกพรอ่ ง


Click to View FlipBook Version