The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จัดทำโดย นางสาวทอฝัน อุ่นศิริ ม.4/6 เลขที่ 10

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mhogtorphan30, 2021-09-12 07:00:24

สุโขทัย

จัดทำโดย นางสาวทอฝัน อุ่นศิริ ม.4/6 เลขที่ 10

อาณาจักร

สุโขทยั

By นางสาวทอฝัน อนุ่ ศิริ ม.4/6 เลขท่ี 10

อาณาจกั รสุโขทัย (ประวัติความเป็นมา)

การกอ่ ต้งั กรุงสุโขทยั อาณาจกั รสุโขทยั กอ่ ต้งั ข้ นึ ประมาณ พ.ศ. 1780
พอ่ ขนุ ศรีอินทรา-ทิตย์ ทรงพระนามเดิมวา่ พอ่ ขนุ บางกลางหาว ทรงสถาปนาสุโขทยั
ข้ นึ มา สรา้ งความเป็ นปึ กแผ่นใหก้ บั ชนชาติไทย โดยขยายเขตการปกครองออกไปอย่าง
กวา้ งขวาง สุโขทยั เป็ นราชอาณาจกั รของชาติไทย อยปู่ ระมาณ 200 ปี จึงถกู รวมเขา้ เป็ น
สว่ นหน่ึงของอาณาจกั รอยุธยา เมื่อ พ.ศ. 1981

อาณาจกั รสุโขทยั ต้งั อยบู่ นเสน้ ทางการคา้ ผ่านคาบสมุทรระหวา่ งอ่าวเมาะตะ
มะ และท่ีราบลุ่มแม่น้าโขงตอนกลาง

เดิมที สุโขทยั เป็ นสถานีการคา้ ของแควน้ ละโว้ (ลวรฐั ) ของอาณาจกั รขอม บน
เสน้ ทางการคา้ ผ่านคาบสมุทรระหวา่ งอา่ วเมาะตะมะ กบั เขตท่ีราบลุ่มแม่น้าโขง
ตอนกลาง (ประเทศลาว) คาดวา่ เร่ิมต้งั เป็ นสถานีการคา้ ในราวพทุ ธศกั ราช 1700 ใน
รชั สมยั ของพระยาธรรมิกราช กษัตริยล์ ะโว้ โดยมีพอ่ ขุนศรีนาวนาถม เป็ นผูป้ กครองและ
ดแู ลกิจการภายในเมืองสุโขทยั และศรีสชั นาลยั ต่อมาเม่ือพอ่ ขนุ ศรีนาวนาถมสวรรคต
ขอมสบาดโขลญลาพง ซ่ึงเป็ นคลา้ ยๆกบั ผตู้ รวจราชการจากลวรฐั เขา้ ทาการยดึ อานาจ
การปกครองสุโขทยั จึงส่งผลให้ พอ่ ขนุ ผาเมือง (พระราชโอรสของพอ่ ขุนศรีนาวนาถม)
เจา้ เมืองราด และ พอ่ ขนุ บางกลางหาว เจา้ เมืองบางยาง ตดั สินพระทยั จะยดึ ดินแดนคืน
การชิงเอาอานาจจากผูค้ รองเดิมคือ อาณาจกั รขอม เมื่อปี พ.ศ. 1781 และสถาปนาเอก
ราช ใหก้ รุงสุโขทยั ข้ นึ เป็ นรฐั อิสระ โดยไม่ข้ นึ ตรงกบั รฐั ใด

และพอ่ ขุนผาเมือง ก็กลบั ยกเมืองสุโขทยั ใหพ้ อ่ ขุนบางกลางหาวครอง พรอ้ มท้งั
พระแสงขรรคช์ ยั ศรี และพระนาม กามรเตงอญั ศรีอินทรบดินทราทิตย์ ซึ่งพระเจา้ ชยั วร
มนั ท่ี 7 ทรงพระราชทานใหพ้ อ่ ขุนผาเมืองกอ่ นหนา้ น้ ี โดยคาดวา่ เหตุผลคือพอ่ ขนุ ผา
เมืองมีพระนางสิขรเทวพี ระมเหสี (ราชธิดาของพระเจา้ ชยั วรมนั ท่ี 7) ซึ่งพระองคเ์ กรงวา่
ชาวสุโขทยั จะไม่ยอมรบั แตก่ ็กลวั วา่ ทางขอมจะไม่ไวใ้ จจงึ มอบพระนามพระราชทาน และ
พระแสงขรรคช์ ยั ศรี ข้ นึ บรมราชาภิเษก พอ่ ขุนผาเมืองใหเ้ ป็ นกษัตริย์ เพ่ือเป็ นการตบตา
ราชสานักขอม

หลงั จากมีการสถาปนาอาณาจกั รสุโขทยั ข้ นึ เป็ นราชธานี และมีพอ่ ขุนศรีอินทรา
ทิตย์ เป็ นปฐมกษัตริยแ์ ลว้ พระองคท์ รงดแู ลพระราชอาณาจกั ร และราษฏรเป็ นอยา่ งดี

1.

ปัจจัยที่เอื้อตอ่ การสถาปนา
อาณาจกั รสโุ ขทัย

ปัจจยั ท่ีเอ้ ือต่อการสถาปนาอาณาจกั รสุโขทยั มี 2 ดา้ น คือ
1. ปัจจยั ภายใน ไดแ้ ก่

๏ มีผูน้ าท่ีเขม้ แขง็ ในสมยั น้ันผนู้ าคนไทยท่ีกลา้ หาญมีสติปัญญาเฉียบแหลมและ
รอบคอบ 2 คน ซึ่งเป็ นสหายกนั ไดแ้ ก่ พอ่ ขุนผาเมืองเจา้ เมืองราด และพอ่ ขนุ
บางกลางหาวเจา้ เมืองบางยาง ไดร้ ว่ มกนั รวบรวมคนไทยและกาลงั เขา้ ต่อสกู้ บั ขอมจน
สามารถขบั ไล่ขอมไปได้
๏ มีขวญั และกาลงั ใจดี การที่คนไทยมีผูน้ าท่ีเขม้ แข็งมีความสามารถ ทาใหม้ ีขวญั และ
กาลงั ใจดี มีความเชื่อมนั่ วา่ จะตอ่ สเู้ อาชนะขอมได้ ต่างก็มีความปรารถนาท่ี
จะขบั ไล่ขอมออกไป เพอ่ื จะไดม้ ีความเป็ นอิสระและมีเอกราชสมบรู ณ์ จึงไดผ้ นึก
กาลงั กนั ตอ่ สแู้ ละเอาชนะขอมไดส้ าเร็จ
๏ รบั ความเป็ นอิสระ คนไทยมีนิสยั รกั อิสระไมช่ อบใหผ้ ูใ้ ดกดาขขี่ ม่ เหงบงั คบั ดงั น้ัน
เม่ือพอ่ ขนุ บางกลางหาว และพอ่ ขนุ ผาเมืองไดร้ ว่ มมือกนั ขบั ไล่ขอมเพ่ือให้
คนไทยไดร้ บั อิสรภาพ จึงไดร้ บั ความร่วมมือร่วมใจจากชาวไทยทุกคนดว้ ยดี จนสา
มารถาขบั ไลข่ อมและปลดปล่อยกรุงสุโขทยั เป็ นอิสระไดใ้ นท่ีสุด
๏ บา้ นเมืองมีความอุดมสมบรู ณ์ เมืองสุโขทยั เป็ นเมืองที่อุดมสมบรู ณ์เหมาะแก่
การเกษตรมีการเพาะปลุก การเล้ ียงสตั ว์ และการจบั สตั วน์ ้า ทาใหผ้ ูค้ นเขา้ มาอาศยั
ต้งั บา้ นเรือนกนั เป็ นชุมชนท่ีค่อนขา้ งหนาแน่น เมืองสุโขทยั จงึ พรอ้ มดว้ ยเสบียง
อาหาร และกาลงั คน

2.

ปัจจยั ทเี่ อ้ือต่อการสถาปนา
อาณาจักรสุโขทยั (ต่อ)

2. ปัจจยั ภายนอก

๏ ขอมมกั จะรุกรานและแผ่อานาจเขา้ ไปในอาณาจกั รอ่ืนๆ ตอ้ งทาสงครามรบพงุ่
เป็ นระยะเวลายาวนาน โดยเฉพาะกบั อาณาจกั รจามปา กษัตริยข์ อมตอ้ งทา
สงครามยดึ เย้ อื หลายรชั กาล ตอ้ งเสียกาลงั คน เสบียงอาหาร ทรพั ยากรและขาด
การทานุบารุงบา้ นเมือง ทาใหต้ อ้ งเผชญิ กบั ปัญหาเศรษฐกิจประชาชนทอ้ แทเ้ บื่อ
หน่าย
๏ การท่ีขอมขยายอาณาเขตออกไปไกล ทาใหไ้ มส่ ามารถออกไปไกล ทาใหไ้ ม่
สามารถรกั ษาอานาจไวไ้ ดอ้ ยา่ งถาวร แมจ้ ะแกป้ ัญหา โดยต้งั เมืองใหญ่ใหเ้ ป็ น
ศนู ยอ์ านาจ เชน่ ลพบุรี สุโขทยั แตก่ ารปกครองก็มิไดม้ ีประสิทธภิ าพในที่สุดก็
ไมส่ ามารถรกั ษาอานาจของคนในดินแดนชาติอ่ืนที่ตนยดึ ครองไวไ้ ด้
๏ การสรา้ งปราสาทหรือเทวสถานไวป้ ระดิษฐานศิวลึงค์ เพ่อื การบชู าและการ
สรา้ งสาธารณูปโภคของกษัตริยแ์ ต่ละพระองค์ ก็เป็ นอีกเหตุหน่ึงท่ีทาใหข้ อมเสื่อม
อานาจ เพราะตอ้ งใชแ้ รงงาน ใชท้ รพั ยากรและเสบียงอาหารจานวนมากมาย ความ
อ่อนแอทางเศรษฐกิจทาใหต้ อ้ งเก็บภาษีจากประชาชนมากข้ ึน ประชาชนจึงไม่
รว่ มมือกบั ทางราชการ ดว้ ยเหตุดงั กล่าวน้ ี อาณาจกั รขอมจงึ เส่ือมลง เปิ ดโอกาสให้
คนไทยไดร้ ่วมกนั กาจดั อานาจอิทธิพลของขอมไดส้ าเร็จ

3.

รายนามกษตั รยิ ์สมยั สุโขทยั

กษัตริยร์ าชวงศพ์ ระร่วงซ่ึงข้ นึ ครองกรุงสุโขทยั ต่อจากราชวงศศ์ รีนาวนาถุม
ตามท่ีนักประวตั ิศาสตรใ์ นปัจจุบนั ยอมรบั มีอยทู่ ้งั หมด ๙ พระองค์ แต่ปี ที่เสด็จ
ข้ นึ ครองราชยแ์ ละปี ที่สวรรคตของกษัตริยบ์ างพระองคย์ งั เป็ นปัญหาถกเถียงกนั
อยู่ และยงั หาขอ้ ยุติท่ีแน่นอนไมไ่ ด้ รายนามของกษัตริยแ์ หง่ ราชวงศพ์ ระร่วงท้งั ๙
พระองคม์ ีดงั น้ ี

รายนามพระมหากษัตริย์ ปีที่เริ่มครองราชย์โดยประมาณ ปีท่ีสวรรคตโดยประมาณ
๑. พ่อขนุ ศรีอินทราทิตย์
๒. พ่อขนุ บางเมอื ง ระหว่าง พ.ศ. 1762-1781 ไม่ปรากฏ
๓. พ่อขนุ รามคาแหง
๔. พระยาเลอไท ไมป่ รากฏ ไมป่ รากฏ
๕. พระยางงั่ นาถม
๖. พระมหาธรรมราชาที่1(ลิไท) ระหวา่ ง พ.ศ. 1822-1841 ไมป่ รากฏ
๗. พระมหาธรรมราชาท่ี2
๘. พระมหาธรรมราชาที่3 (ไสลอื ไท) พ.ศ. 1814 ไม่ปรากฏ
๙. พระมหาธรรมราชาที่4 (บรมปาล)
ไม่ปรากฏ ไม่ปรากฏ

พ.ศ. 1890 ระหวา่ ง พ.ศ. 1911-1917

ไมป่ รากฏ พ.ศ. 1942

ไม่ปรากฏ พ.ศ. 1926

ไม่ปรากฏ พ.ศ. 1981

พอ่ ขุนศรีอินทราทิตย์ พอ่ ขนุ บานเมือง พอ่ ขุนรามคาแหง

4.

พระมหากษตั ริย์

รชั กาลที่ 1 พอ่ ขุนศรอี ินทราทิตย์
ตานานพระพทุ ธสิหงิ ค์ กล่าววา่ เป็ นชาวเมืองนครชุม (กาแพงเพชร) ก่อนท่ี

จะข้ นึ ครองราชยน์ ้ัน ศิลาจารึกระบุวา่ มาจากเมืองบางยาง และเป็ นพระสหายกบั พอ่
ขนุ ผาเมือง พระราชกรณียกิจที่สาคญั ไดแ้ ก่

การขยายอาณาเขต ในระยะเร่ิมตน้ อาณาจกั รในสมยั พอ่ ขนุ ศรีอินทราทิตย์
น้ัน มีอาณาเขตไม่กวา้ งขวางนัก มีเมืองสุโขทยั กบั เมืองศรีสชั นาลยั (เมืองสวรรคโลก
เกา่ ) เป็ นราชธานีท้งั สองเมือง นอกจากน้ ีก็มีหวั เมืองข้ นึ ทางริมลาน้าปิ ง ยม น่าน
เพียงไม่กี่เมือง เมื่ออาณาจกั รสุโขทยั ไดร้ บั การสถาปนาข้ นึ มาเป็ นอิสระจากขอมได้
น้ัน เจา้ เมืองต่างๆ ในดินแดนใกลเ้ คียงกบั สุโขทยั ยอมรบั ในความสามารถของผนู้ า
สุโขทยั จงึ ออ่ นนอ้ มโดยสนั ติรวมอยกู่ บั อาณาจกั รสุโขทยั แต่เจา้ เมืองบางเมืองคิดวา่
ตนมีอานาจเขม้ แข็งพอ จ่ึงมิไดอ้ ่อนนอ้ มตอ่ กรุงสุโขทยั และกอ่ สงครามข้ นึ เพอ่ื แขง่ ขนั
การมีอานาจ ในบรรดาเจา้ เมืองประเภทหลงั น้ ี ปรากฏวา่ ขนุ สามชน เจา้ เมือง
ฉอด (เมืองฉอดปัจจุบนั เป็ นเมืองรา้ ง อยทู่ ี่ด่านแม่สอดทางทิศตะวนั ตกของจงั หวดั
ตาก) ไดย้ กทพั มาตีเมืองตากอนั เป็ นเมืองในอาณาเขตของสุโขทยั พอ่ ขุนศรีอินทรา
ทิตยจ์ ึงยกทพั ไปปราบ เกิดสงครามคร้งั สาคญั ข้ นึ ในการรบคร้งั น้ ีพระราชโอรสองค์
เล็ก ซ่ึงมีชนั ษา 19 ปี ไดเ้ ขา้ ชนชา้ งกบั ขนุ สามชนจนไดร้ บั ชยั ชนะ ทาใหก้ องทพั
เมืองฉอดแตกพา่ ยไป พอ่ ขนุ ศรีอินทราทิตยจ์ งึ ประทานนามพระราชโอรสวา่ พระ
รามคาแหง เพื่อเป็ นการบาเหน็จ ศึกคร้งั น้ ีทาใหเ้ กียรติยศชอื่ เสียงของพระโอรสแผ่ไป
ทวั่

การปกครอง พอ่ ขนุ ศรีอินทราทิตยจ์ ดั ระเบียบการปกครองยึดนโยบายการ
ป้ องกนั ประเทศเป็ นสาคญั แตค่ านึงถึงสิทธิหนา้ ท่ีของประชาชนพลเมือง โดยปกครอง
ประชาชนในฐานะบิดากบั บุตร ท้งั บิดาและบุตรมีหนา้ ที่เป็ นทหารป้ องกนั ประเทศใน
ยามสงคราม แต่ยามสงบพระมหากษัตริยเ์ ป็ นผนู้ าในการบริหารราชการแผ่นดิน ดว้ ย
การบาบดั ทุกขบ์ ารุงสุขแก่ราษฎร ราษฎรมีหนา้ ที่รบั ใชช้ าติบา้ นเมืองของตน โดยการ
ประกอบอาชีพใหม้ ีรายไดแ้ ละเสียภาษีอากรใหแ้ ก่รฐั

5.

รชั กาลที่ 2 พ่อขนุ บานเมือง
พระราชโอรสองคใ์ หญ่สของพอ่ ขุนศรีอินทราทิตย์ ข้ นึ ครองราชยป์ ี ใด

ไม่ปรากฏ ระหวา่ งครองราชยไ์ ดร้ วบรวมหวั เมืองต่างๆ ไวใ้ นอานาจ โดยมีพระอนุชา
คือ พระรามคาแหง เป็ นกาลงั สาคญั

รชั กาลที่ 3 พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช

พระราชโอรสของพอ่ ขนุ ศรีอินทราทิตย์ พระอนุชาของพอ่ ขุนบาน

เมือง ข้ นึ ครองราชยป์ ระมาณ พ.ศ. 1822 ในรชั กาลพอ่ ขุนรามคาแหง กรุงสุโขทยั มี

การเปลี่ยนแปลงและเจริญรุ่งเรืองกา้ วหนา้ ไปจากเดิมมาก เป็ นตน้ วา่ มีการปกครอง

เขม้ แข็ง ใกลช้ ดิ ราษฎรไพรฟ่ ้ าประชาชนมีความอยดู่ ีกินดี มีการนาชลประทานมาใช้

ทางการเกษตร ทาใหไ้ ดผ้ ลดีข้ นึ การอุตสาหกรรมมีความกา้ วหนา้ มีการติดต่อคา้ ขาย

กบั ต่างปรเทศ การเศรษฐกิจ และการเมืองมงั่ คง ทาใหม้ ีอานาจทางการเมืองแผ่ไป

กวา้ งใหญไ่ พศาล จนไดร้ บั การเทิดพระเกียรติดว้ ยพระนามวา่ พอ่ ขนุ รามคาแหง

มหาราช ในภายหลงั พระราชกรณียกิจของพระองคท์ ี่ควรนามากล่าวมีดงั น้ ี

1.ทรงเป็ นนกั รบ พระองคท์ รงชนชา้ งชนะขุนสามชนเจา้ เมืองฉอดต้งั แต่ยงั

ทรงพระเยาว์ ทรงเขม้ แขง็ ในการศึกสงคราม ทรงเป็ นแม่ทพั ไปปราบเมืองตา่ งๆ ใน

รชั กาลพอ่ ขุนศรีอินทราทิตยแ์ ละพอ่ ขุนบานเมือง จนเป็ นท่ีเกรงขามของอาณาจกั ร

อื่นๆ เม่ือพระองคข์ ้ นึ ครองราชยม์ ีหลายเมืองที่ยอมออ่ นนอ้ มโดยพอ่ ขุนรามคาแหงมิได้

สง่ กองทพั ไปรบ ไดแ้ ก่ เมืองหงสาวดี เมืองสุพรรณภมู ิ (สุพรรณบุรี) เมืองราชบุรีเมือง

เพชรบุรี เมืองหลวงพระบาง เมืองเวยี งจนั ทร์ และเมืองนครศรีธรรมราช เป็ นตน้ ทาใหม้ ี

อาณาเขตแผ่ออกไปกวา้ งขวางมาก คือ

ทศิ เหนือ มีอาณาเขตครอบคลุมเมืองแพร่ น่าน ปัว ถึงเมืองหลวงพระบาง

ทศิ ใต้ มีอาณาเขตครอบคลุมเมืองคณฑี (กาแพงเพชร) พระบาง

(นครสวรรค)์ แพรก (ชยั นาท) สุพรรณภมู ิ ราชบุรี เพชรบุรี จดฝัง่ ทะเลสุดเขตแหลม

มลายู

ทิศตะวนั ออก มีอาณาเขตครอบคลุมเมืองสระหลวง สองแคว (พิษณุโลก)

ลุมบาจาย (หลม่ เกา่ ) สคา และขา้ มฝัง่ แม่น้าโขงไปถึงเมืองเวยี งจนั ทรแ์ ละเวียงคา

ทิศตะวนั ตก มีอาณาเขตถึงเมืองฉอด ทวาย ตะนาวศรี หงสาวดี และ

ชายฝัง่ ทะเล

2.ทรงอุปการะเก้ ือกูลเมืองท่ขี อพ่ึงบารมี

3.ทรงประดิษฐอ์ กั ษรไทยข้ นึ เม่ือ พ.ศ. 1826

4.ทรงเป็ นองคพ์ ุทธศาสนูปถมั ภก 6.

รชั กาลท่ี 4 พระยาเลอไทย
พระราชโอรสของพอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช ครองราชย์

ประมาณ 40 ปี พระยาเลยไทยทรงศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนา ทรงศึกษาพระไตรปิ ฎก
จนแตกฉาน มุ่งปฎิบตั ิจนแตกฉาน มุง่ ปฏิบตั ิธรรม บาเพ็ญประโยชน์เก้ ือกลู
พระพุทธศาสนาใหเ้ จริญรุง่ เรือง การศึกษาพระธรรมและภาษาบาลีไดเ้ ริ่มข้ นึ และ
เจริญกา้ วหนา้ ในรชั กาลน้ ี

รชั กาลท่ี 5 พระยางวั ่ นาถม
พระอนุชาของพระยาเลอไทย เมื่อราชาภิเษกแลว้ ไดท้ รงแตง่ พระยาลิ

ไทย (พระราชโอรสของพระยาเลอไทย) ไปปกครองเมืองศรสี ชั นาลยั อนั เป็ นเมืองที่ถือ
วา่ รชั ทายาทแหง่ ราชบลั ลงั กืจะพึงครองก่อนเป็ นพระมหากษัตริย์ ในรชั กาลน้ ีไดม้ ีการ
ปราบปรามเมืองตา่ ง ๆ ท่ีแขง็ เมืองมาต้งั แต่รชั กาลพระยาเลอไทยแตไ่ ม่สาเร็จ ท้งั ยงั ไม่
สามารถแกไ้ ขความเส่ือมโทรม และความแตกแยกภายในได้ ตอนปลายรชั กาลจึงเกิด
จลาจลข้ นึ พระยาลิไทยองคร์ ชั ทายาทจงึ ยกกาลงั จากเมืองศรีสชั นาลยั เขา้ เมืองสุโขทยั
เพ่ือปราบจลาจล

รชั กาลที่ 6 พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลไิ ทย)
พระราชโอรสของพระยาเลอไทย (รชั กาลท่ี 4) หลงั จากปราบการ

จลาจลในกรุงสุโขทยั ไดส้ าเร็จ และข้ นึ ครองราชยแื ลว้ ทรงพิจารณาเห็นวา่ เกิดความ
แตกแยกและขาดความไวว้ างใจกนั ในอาณาจกั ร จงึ ทรงริเร่ิมรวบรวมกาลงั อานาจ สรา้ ง
ความสามคั คีเพ่อื พฒั นาบา้ นเมืองใหม่ ทาใหส้ ุโขทยั เขม้ แขง็ ข้ นึ พระราชกรณียกิจที่
สาคญั ไดแ้ ก่

1.การปกครอง พระมหาธรรมราชาท่ี 1 (ลิไทย) ทรงเป็ นพระมหากษัตริยท์ ่ี
ปกครองประชาชนในฐานะธรรมราชาหรือพระราชาผูท้ รงธรรม ทรงยดึ มนั่ ใน
หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาในการปกครองบา้ นเมืองคือ ทรงปกครองดว้ ยหบกั
ทศพิธราชธรรม ซึ่งมิไดม้ ุง่ เนน้ ท่ีพระมหากษัตริยเ์ ท่าน้ัน แต่หมายรวมถึงขา้ รราช
บริพาร ท่ีทาหนา้ ที่แทนพระองคใ์ นกิจการท้งั หลายอนั เก่ียวกบั การปกครอง มีการชกั ชวน
สงเสริมใหป้ ระชาชนเล่ือมใสศทั ธาในหลกั ธรรมและนาไปปฏิบตั ิเพ่อื ใหอ้ ยรู่ ่วมกนั อยา่ ง
สนั ติ

7.

2.การป้ องกนั อาณาจกั ร ใน พ.ศ. 1893 เมืองสุพรรณภมู ิและเมืองละโว้
(ลพบุรี) ไดร้ วมกนั ต้งั อาณาจกั รอยุธยาข้ นึ มีพระเจา้ อทู่ องเป็ นกษัตริยป์ ระกาศเป็ น
อาณาจกั รอิสระไม่ข้ นึ ตอ่ สุโขทยั และเมืองลาว ก็ไดข้ ยายอาณาเขตเขา้ มาจดแดนของ
อาณาจกั รสุโขทยั ทรงตระหนักในภยั ท่ีอาจเกิดข้นั ได้ จงึ ไดร้ วบรวมหวั เมืองต่างๆ ผนึก
กาลงั รกั ษาบา้ นเมืองไวไ้ ดอ้ ยา่ งปลอดภยั นอกจากน้ ีพระองคพ์ ยายามฟ้ ื นฟอู าณาจกั ร
สุโขทยั ใหเ้ ป็ นที่ยอมรบั ของอาณาจกั รใกลเ้ คียง ดว้ ยการสรา้ งกาลงั กองทพั ทาศึก
สงครามมยกทพั ไปตีเมืองแพร่ และปราบหวั เมืองตา่ งๆ อาณาเขตของสุโขทยั ในสมยั
ของพระองคล์ ดลงจากสมยั พอ่ ขนุ รามคาแหงมากกวา่ ครงี่ มีอาณาเขตดงั น้ ี

ทศิ เหนือ ถึงเมืองแพร่
ทิศใต้ ถึงเมืองพระบาง โดยมีเมืองชากงั ลาว เมืองปากยม เมือง
นครพระชุทม เมืองสุพรรรณภาว และเมืองพานรว่ มาอยดู่ ว้ ย
ทศิ ตะวนั ออก ถึงแดนอาณาจกั รลา้ นชา้ งโดยมีเมืองสระหลวง เมืองสอง
แคว เมืองราด เมืองลุมบาจาย และเมืองสคารวมอยดู่ ว้ ย
ทศิ ตะวนั ตก ถึงเมืองฉอด

3.เศรษฐกิจ ดว้ ยเหตุท่ีอาณาจกั รอยุธยาและเมืองลาว มีกาลงั อานาจ
เขม้ แขง็ อาจขยายอานาจและอาณาเขตเขา้ มาในอาณาจกั รสุโขทยั จาเป็ นตอ้ งสะสม
เสบียงอาหาร จึงทานุบารุงการประกอบอาชีพโดยเฉพาะทางการเกษตรกรรม ไดม้ ี
การขยายพ้ นื ท่ีการทากินของราษฎรเพม่ิ ข้ ึน มีการตดั ถนนจากเมืองสองแควไปถึงเมือง
สุโขทยั เพื่อใชใ้ นการคมนาคม และใชพ้ ้ นื ท่ีสองฟากถนนทาสวนผกั ผลไม้ ทาไร่ ทา
นา เป็ นการเพม่ิ ผลผลิต เมื่อไมเ่ กิดสงครามจงึ เป็ นผลดีในทางเศรษฐกิจของอาณาจกั ร

4.ศาสนา ทรงศรทั ธาพระพทุ ธศาสนามาก พระองคท์ รงผนวชอยหู่ น่ึง
พรรษา โดยทรงอาราธนาพระมหาสามสั งั ฆราชชาวลงั กา ซ่ึงจาพรรษาอยทู่ ่ีเมืองนคร
พนั (ปัจจุบนั คือ เมทืองเมาะตะมะ หรือมะตะบนั ) มาเป็ นพระอุปัชฌายใ์ นการผนวช
ของพระองค์ พระองคท์ รงบารุงพระพทุ ธศาสนาใหเ้ จริญรุ่งเรือง มีการสรา้ งพระพทุ ธ
บาทโดยจาลองรอยพระพุทธบาทมาจากประเทศลงั กา สรา้ งสถูปเพ่อื ประดิษฐานพระ
บรมสารีริกธาตุท่ีเมืองนครชุม และสรา้ งศาสนสถานอื่นๆ เป็ นการชกั ชวนใหป้ ระชาชน
จากเมืองตา่ งๆ มานมสั การสถานศกั ด์ิสิทธ์ิที่พระองคส์ รา้ งข้ นึ ชว่ ยใหป้ ระชาชนเลื่อมใส
ศรทั ธา และงา่ ยแก่การเผยแผ่ปฏิบตั ิธรรมะ ส่งผลใหอ้ ยรู่ ่วมกนั อยา่ งสนั ติ

8.

รัชกาลท่ี 7 พระมหาธรรมราชาท่ี 2
พระราชโอรสของพระมหาธรรมราชาท่ี 1 (ลไิ ทย) หตกุ ารณ์สาคญั ในรัชกาลนี ้

คือ กรุงสโุ ขทยั ได้ตกเป็นเมืองประเทศราชของอาณาจกั รอยธุ ยา ใน พ.ศ. 1921 ขณะที่พระ
มหาธรรมราชาท่ี 2 ขนึ ้ ครองราชย์นนั้ พระบรมราชาธิราชท่ี 1 (ขนุ หลวงพะงวั่ ) แหง่
อาณาจกั รอยธุ ยา มีพระราชประสงค์จะรวมชนชาตไิ ทยให้เป็นปึกแผน่ เป็นปึกแผ่นเป็น
อาณาจกั รเดียวกนั จงึ ยกทพั รุกรานอาราจกั รสโุ ขทยั หลายครัง้ ครัง้ สาคญั คือ ในพ.ศ. 1921
ได้ยกไปตีเมืองชากงั ราวพระมหาธรรมราชาท่ี 2 ทรงเห็นวา่ จะส้รู บต่อไปไมไ่ ด้จงึ ยอมอ่อน
น้อมตอ่ อยธุ ยา พระบรมราชาธิราชที่ 1 จงึ โปรดให้ครองสโุ ขทยั ต่อไปในฐานะเมืองประเทศ
ราช จนกระทงั่ ถึง พ.ศ. 1931 สโุ ขทยั จงึ ประกาศตนเป็นอิสระจากอยธุ ยา

รัชกาลท่ี 8 พระมหาธรรมราชาท่ี 3 (ไสยลือไทย)
พระราชโอรสของพระมหาธรรมราชาที่ 2 ในรัชสมยั นีพ้ ระองค์ได้ทาสญั ญากบั เจ้า

เมืองนา่ น ท่ีจะช่วยเหลือซง่ึ กนั และกนั้ เม่ือถกู อาณาจกั รอ่ืนรุกราน สโุ ขทยั าจงึ มีความสงบ
ในระยะเวลาหนง่ึ

พระองค์ทรงมีพระราชโอรส 2 พระองค์ คือ พระยาบาลเมือง กบั พระยา
ราม แต่มิได้ทรงแต่งตงั้ ให้พระองค์ใดเป็นรัชทายาท ดงั นนั้ เมื่อเสด็จสวรรคต พระยาบาล
เมือง กบั พระยาราม จงึ ชงิ ราชสมบตั กิ นั เป็นโอกาสให้สมเดจ็ พระอนิ ทราชา แหง่ อาณาจกั ร
อยธุ ยา เสด็จมาระงบั การจลาจล และไกล่เกลี่ยการแยง่ ชิงราชสมบตั คิ รัง้ นี ้ ทรงอภเิ ษกให้
พระยาบาลเมืองสงบเรียบร้อย พระอินทรราชาทรางขอพระราชธิดาของพระมหาธรรมราชา
ที่ 3 อภิเษกสมรสกบั เจ้าสามพระยาพระราชโอรสของพระองค์ นบั เป็นครัง้ แรกท่ีราชวงศ์
พระร่วงแหง่ กรุงสโุ ขทยั กบั ราชวงศ์สพุ รรณภมู ิแหง่ กรุงศรีอยธุ ยามีความเก่ียงดองเป็นเครือ
ญาติกนั

รัชกาลท่ี 9 พระมหาธรรมราชาท่ี 4 (บรมปาล)
พระยาบาลเมืองได้รับการอภิเษกให้ครองกรุงสโุ ขทยั (ในฐานะปรแทศราชของ

อยธุ ยา) ทารงพระนามว่า พระเจ้าสรุ ิยวงศ์บรมปาลมหาธรรมราชา นบั ว่าพระองค์ได้ทรง
เป็นพระมหาธรรมราชาท่ี 4 ต่อจากพระราชบดิ า (พระมหาธรรมราชาที่ 3)

เม่ือพระองค์สวรรคตใน พ.ศ. 1981 สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระ
ยา) แหง่ กรุงศรีอยธุ ยา ได้ทรงสง่ พระราเมศวร (พระราชโอรสซงึ่ ประสตู จิ ากพระอคั รชายา
ที่เป็นพระธิดาของพระมหาธรรมราชาท่ี 3) ขนึ ้ ไปครองเมืองพษิ ณโุ ลก ซ่ีงเป็นเมืองหลวง
ของอาณาจกั รสโุ ขทยั ทาให้อาณาจกั รสโุ ขทยั รวมกบั อาณาจกั รอยธุ ยาเป็ นอาณาจกั ร
เดียวกนั ตงั้ แต่นนั้ เป็นต้นมา และนบั เป็นการสิน้ สดุ ของอาณาจกั รสโุ ขทยั

9.

การเมอื งการปกครอง

การปกครองสมยั สุโขทยั เป็ นการปกครองระบอบราชาธิปไตย ท่ี
พระมหากษัตริยท์ รงมีอานาจเด็ดขาด ในตอนตน้ ของการต้งั อาณาจกั รสุโขทยั เป็ นการ
ปกครองแบบบิดาปกครองบุตร แตต่ อนปลายสมยั เป็ นการปกครองแบบธรรมราชา และ
มีการสรา้ งความสมั พนั ธก์ บั อาณาจกั รอื่น เพอ่ื พฒั นาอาณาจกั รใหเ้ ป็ นปึกแผ่น
เจริญรุง่ เรือง

อาณาจกั รสุโขทยั เมื่อแรกต้งั ยงั มีอาณาเขตไมก่ วา้ งขวาง จานวนพลเมืองยงั
ไม่มาก และอยใู่ นระหวา่ งก่อรา่ งสรา้ งตวั การปกครองในระยะเร่ิมแรกจงึ มีลกั ษณะเป็ น
ระบบครอบครวั ผูน้ าของอาณาจกั รมีฐานะเป็ นพอ่ ขุน มีความสมั พนั ธใ์ กลช้ ิดกบั
ประชาชน ผูป้ กครองเปรียบเสมือนบิดาของประชาชนท้งั ปวง ตอ่ มาภายหลงั รชั สมยั พอ่
ขุนรามคาแหงมหาราชสถานการณบ์ า้ นเมืองเปล่ียนแปลงไป จงึ เริ่มใชว้ ธิ ีการปกครองที่
เป็ นแบบแผนมากข้ นึ ความสมั พนั ธข์ องผูน้ าอาณาจกั รกบั ประชาชนแตกกต่างไปจาก
เดิม มีความพยายามเพ่ิมพนู พระราชอานาจพระมหากษัตริยใ์ หส้ งู ข้ นึ ทรงมีฐานะเป็ น
ธรรมราชา และทรงใหห้ ลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนาท่ีประชาชนเลื่อมใสศรทั ธา มา
เป็ นหลฃกั ในการปกครอง การปกครองมี 2 แบบ คือ

1. แบบพอ่ ปกครองลกู พระมหากษัตริยก์ บั ประชาชนมีความใกลช้ ิดแบบ
เครือญาติ ใชใ้ นชว่ งสุโขทยั ตอนตน้ พ.ศ. 1792 – 1841

2. แบบธรรมราชา พระมหากษัตริย์ เป็ นแบบอยา่ งของธรรมราชา เรียก
พระมหากษัตริยว์ า่ พระมหาธรรมราชา ใชใ้ นสมยั สุโขทยั ตอนปลาย พ.ศ. 1841 – 1981

10.

การปกครองราชธานแี ละหัวเมอื ง

เมืองตา่ งๆ ในอาณาจกั รสุโขทยั แบ่งออกเป็ น 4 ชน้ั แต่ละชน้ั
พระมหากษัตริยท์ รงใชอ้ านาจปกครองดงั น้ ี

1.เมืองหลวง หรอื ราชธานี อาณาจกั รสุโขทยั มีกรุงสุโขทยั เป็ นราช
ธานี เมืองหลวงหรือราชธานีเป็ นที่ประทบั ของพระมหากษัตริย์ พระราชวงั และวดั
จานวนมากต้งั อยใู่ นและนอกกาแพงเมือง ราชธานีเป็ นศนู ยก์ ลางทางการ
ปกครอง การศาสนา วฒั นธรรม ศิลปะและขนบประเพณีท้งั ปวง พระมหากษัตริย์
ทรงเป็ นผปู้ กครองเอง

2.เมืองลกู หลวง เมืองลกู หลวงเป็ นเมืองหนา้ ด่าน เรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ หวั
เมืองชน้ั ใน ต้งั อยรู่ อบราชธานีท้งั 4 ทิศ หา่ งจากเมืองหลวงมีระยะทางเดินเทา้
ประมาณ 2 วนั เมืองลกู หลวง มีดงั น้ ี

ทิศเหนือ ไดแ้ ก่ เมืองศรีสชั นาลยั (สวรรคโลก)
ทิศตะวนั ออก ไดแ้ ก่ เมืองสองแคว (พิษณุโลก)
ทิศใต้ ไดแ้ ก่ เมืองสระหลวง (พิจติ รเก่า)
ทิศตะวนั ตก ไดแ้ ก่ เมืองนครชุม (ปากคลองสวนหมาก
กาแพงเพชร)
เมืองลกู หลวงเป็นเมืองที่เจ้านายเชือ้ พระวงศ์ได้รับ้ การแตง่ ตงั้ จาก
พระมหากษัตริย์เป็นผ้ปู กครองส่วนเมืองศรีสชั นาลยั เป็นเมืองลกู หลวงที่มีฐานะเป็น
เมืองอปุ ราช ตลอดสมยั สโุ ขทยั

11.

การปกครองราชธานแี ละหัวเมอื ง

3. เมืองพระยามหานคร เมืองพระยามหานครเป็ นหวั เมืองช้นั นอก หา่ งจากราช
ธานีออกไป มากกวา่ เมืองลกู หลวง พระมหากษัตริยจ์ ะทรงแต่งต้งั ผเู้ หมาะสมและมี
ความสามารถไปปกครองดแู ล เมืองเหล่าน้ ีข้ นึ ตรงตอ่ พระมหากษัตริย์ มีวิธีการปกครอง
ลกั ษณะเดียวกบั เมืองชน้ั ใน เมืองพระยามหานครในสมยั พอ่ ขุนรามคาแหงมีหลาย
เมือง เชน่ เมืองพระบาง (นครสวรรค)์ เมืองเชียงทอง (ตาก) เมืองบางพาน
(กาแพงเพชร) เมืองบางฉลงั (กาแพงเพชร) เป็ นตน้

4.เมืองประเทศราช เมืองประเทศราช ไดแ้ ก่ เมืองทีอยนู่ อกอาณาจกั ร ชาวเมือง
เป็ นคนตา่ งชาติ พระมหากษัตริยส์ ุโขทยั ทรงดาเนินนโยบายปกครอง ใหช้ าวพ้ นื เมืองเป็ น
กษัตริยห์ รือเป็ นเจา้ เมืองปกครองกนั เอง โดยไม่เขา้ ไปยุง่ เกียวกบั การปกครองภายใน
ยกเวน้ กรณีที่จาเป็ นเท่าน้ัน ยามปกติเมืองประเทศราชตอ้ งสง่ เครื่องราชบรรณาการ
(สว่ ย) มาถวายตอ่ พระมหากษัตริยส์ ุโขทยั ทุกปี ยามสงครามจะตอ้ งสง่ กองทพั และเสบียง
อาหารไปชว่ ย สมยั พอ่ ขนุ รามคาแหง มีเมืองประทเศราชหลายเมือง คือ

ทิศเหนือ ไดแ้ ก่ เมืองแพร่ เมืองน่าน
ทิศตะวนั ออกเฉียงเหนือ ไดแ้ ก่ เมืองเชา่ (หลวงพระบาง) เมืองเวยี งจนั ทร์
ทิศตะวนั ตก ไดแ้ ก่ เมืองทวาย เมืองเมาะตะมะ เมืองหงสาวดี
ทิศใต้ ไดแ้ ก่ เมืองนครศรีธรรมราช เมืองมะละกา เมืองยะโฮร์
หากวเิ คราะหว์ ิธีแบ่งเขตการปกครองในสมยั พอ่ ขนุ รามคาแหง โดยจดั ใหม้ ีเมือง
ลกู หลวงวงลอ้ มกรุงสุโขทยั วอนั เป็ นเมืองราชธานี จะมีลกั ษณะเป็ นเสมือนกาแพงชน้ั
ที่ 1 สว่ นเมืองพระยามหานครเป็ นเสมือนกาแพงช้นั ที่ 2 และเมืองประเทศราชเป็ น
เสมือนกาแพงช้นั ที่ 3

12.

ความสัมพันธ์กับอาณาจกั รอน่ื ๆ

เมืองสุโขทยั อยทู่ ่ามกลางอาณาจกั รหรือหวั เมืองที่เป็ นของชนชาติไทยกลุ่มอ่ืน
หรือชนชาติอื่นซ่ึงต่างเป็ นอิสระมี่อานาจมากบา้ งน้อยบา้ ง คือ

ทางตะวนั ออก มีอาณาจกั รขอม และเมืองข้ นึ ของขอม
ทางใต้ มีพวกขอมเขา้ มาต้งั ราชธานีเป็ นเมืองมหาอุปราชท่ีเมือง
ละโว้ และมีแควน้ ของชนชาติไทยอีกหลายแควน้ เชน่ แควน้ สุพรรณภุมิ
(สุพรรณบุรี) และแควน้ นครศรีธรรมราช
ทางตะวนั ตก มีคนไทยต้งั ถิ่นฐานเป็ นอิสระอยหู่ ลายเมือง เชน่ เมือง
ฉอด ซ่ึงมีอานาจเขม้ แข็งอยกู่ อนสุโขทยั ถดั ออกไปเป็ นเมืองของชาติมอญ
ทางเหนือ มีเมืองในอาณาจกั รลา้ นนา
สภาพแวดลอ้ มตามที่กลา่ วขา้ งตน้ ทาใหเ้ หน็ วา่ อาณาจกั รสุโขทยั จาเป็ นตอ้ งมี
นโยบายสรา้ งความสมั พนั ธก์ บั อาณาจกั รหรือเมืองตา่ งๆ ใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์

1.ความสมั พนั ธก์ บั อาณาจกั รลา้ นนา อาณาจกั รสุโขทยั สรา้ งความสมั พนั ธ์
อนั ดีกบั อาณาจกั รลา้ นนามาตลอด ต้งั แต่เร่ิมก่อต้งั ในสมยั พอ่ ขนุ ศรีอินทราทิตยจ์ นถึง
สมยั พอ่ ขุนรามคาแหง ทรงดาเนินนโยบายผกู สมั พนั ธไมตรีกบั อาณาจกั รลา้ นนาให้
แน่นแฟ้ มยง่ิ ข้ นึ เพราะเป็ นชนชาติไทยดว้ ยกนั คือ ในสมยั พอ่ ขุนรามคาแหง
อาณาจกั รลา้ นนามีบุคคลสาคญั คือ พอ่ ขุนมงั ราย เจา้ เมืองเงินยาง และพอ่ ขุนงา
เมือง เจา้ เมืองพะเยา ท้งั สามองคเ์ ป็ นมิตรสนิทสนมกนั มาแตเ่ ยาวว์ ยั เม่ือมีอานาจ
ปกครองบา้ นเมือง จงึ มีความสมั พนั ธอ์ นั ดีตอ่ กนั ในพ.ศ. 1835 พอ่ ขุนมงั รายสรา้ ง
ราชธานีใหม่ มีชื่อวา่ นพบรุ ศี รนี ครพิงคเ์ ชยี งใหม่ พอ่ ขุนรามคาแหงและพอ่ ขุนงา
เมืองก็ไดใ้ หค้ วามร่วมมือ ตลอดระยะเวลาที่อาณาจกั รสุโขทยั เป็ นอิสระผูป้ กครอง
อาณาจกั รท้งั สองฝ่ายตา่ งเป็ นมิตรไมตรีกนั

ผลดีเกิดข้ นึ จากการมีสมั พนั ธไมตรีอนั ดีของอาณาจกั รไทยดว้ ยกนั
ระหวา่ งสุโขทยั และลา้ นนา คือ สรา้ งความมนั่ คงใหแ้ กช่ นชาติไทยต่างพวกกนั ใหเ้ ป็ น
อนั หนี่งอนั เดียวกนั ตา่ งชว่ ยเหลือซ่ีงกนั และกนั สรา้ งความเจริญกา้ วหนา้
ดว้ ยกนั โดยเฉพาะดา้ นพระพทุ ธศาสนาลทั ธิลงั กาวงศ์ และยงั มีการแลกเปลี่ยน
วฒั นธรรมใหก้ นั และกนั การเป็ นพนั ธมิตรท่ีดีตอ่ กนั เป็ นเกราะป้ องกนั ศตั รไู ดอ้ ยา่ ง
ดี คือ ทาใหอ้ าณาจกั รอ่ืนไมก่ ลา้ รุกราน

13.

ความสัมพนั ธก์ บั อาณาจกั รอ่ืนๆ

2 ความสมั พนั ธก์ บั เมอืงนครศรธี รรมราช อาณาจกั รสุโขทยั มีความสมั พนั ธอ์ นั ดี
กบั นครศรีธรรมราชต้งั แตส่ มยั พอ่ ขุนศรีอินทราทิตย์ ทาใหไ้ ดร้ บั ผลดีหลายประการ
คือ สุโขทยั รบั เอาพระพุทธศาสนาลทั ธิลงั กาวงศม์ าเผยแผ่ในสุโขทยั และไดร้ บั ความ
เล่ือมใสศรทั ธาจากประชาชนเป็ นอยา่ งดี ในสมยั พอ่ ขนุ รามคาแหง เมืองนครศรีธรรมราช
เขา้ รว่ มอยใู่ นอาณาจกั รสุโขทยั สรา้ งความมนั่ คงแก่สุโขทยั

3.ความสมั พนั ธก์ บั ลงั กา อาณาจกั รสุโขทยั สมยั พอ่ ขนุ ศรึอินทราทิตย์ เริ่มมี
ความสมั พนั ธก์ บั ลงั กาในทางพระพุทธศาสนาโดยผ่านเมืองนครศรีธรรมราช เจา้ กรุงลงั กา
ไดถ้ วายพระพุทธสิหิงคแ์ ก่สุโขทยั ในสมยั ตอ่ มาก็มีพระเถระจากสุโขทยั เดินทางไปศึกษา
พระไตรปิ ฎกท่ีลงั กา รชั กาลพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) ก็โปรดเกลา้ ฯ ใหไ้ ปพมิ พ์
รอยพระพุทธบาทของลงั กามาประดิษฐไวบ้ นยอดเขาสุมนกฎู ในเมืองสุโขทยั ดว้ ย
นอกจากน้ ียงั ไดเ้ ชิญพระมหาสามีสงั ฆราชจากเมืองนครพนั (เมาะตะมะหรือมะตะบนั )
ประเทศมอญ ซึ่งเป็ นชาวลงั กามาเป็ นอุปัชฌายเ์ ผยแผ่พระพุทธศาสนาลทั ธิลงั กาวงศ์

4. ความสมั พนั ธก์ บั อาณาจกั รมอญ อาณาจกั รสุโขทยั สมยั พอ่ ขุนศรีอินทราทิตย์
และพอ่ ขุนบานเมืองยงั ไมม่ ีสมั พนั ธไมตรีกบั อาราจกั รมอญท่ีปรกฎชดั ตอ่ มาในรชั กาล
พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช ทรงสนับสนุน มะกะโท ชาวมอญ โดยรบั ไวเ้ ป็ นราชบุตรเขยแล
ไดส้ ่งเสริมจนมีโอกาสไดเ้ ป็ นกษัตริยแ์ หง่ อาณาจกั รมอญและพระราชทานพระนามไว้
วา่ พระเจา้ ฟ้ ารวั่ อาณาจกั รมอญจงึ สวามิภกั ด์ิตอ่ อาณาจกั รสุโขทยั ตลอดรชั สมยั ของพอ่ ขุน
รามคาแหง จนเมื่อพระเจา้ ฟ้ ารวั่ ส้ ินพระชนมแ์ ลว้ หวั เมืองมอญาจงึ ต้งั ตนเป็ นอิสระ ไม่
ยอมข้ นึ ต่อสุโขทยั อีก

5. ความสมั พนั ธก์ บั อาณาจกั รลาว สมยั พอ่ ขนุ รามคาแหง อาณาจกั รสุโขทยั มี
อานาจเหนือหวั เมืองลาวบางเมืองในดินแดนลุ่มแม่น้าโขงทางฝัง่ ซา้ ย คือ ทางดา้ น
ตะวนั ออกถึงเมืองเวียงจนั ทน์ เวียงคา ทางเหนือถึงเมืองหลวงพระบาง หวั เมืองลาว
ดงั กล่าวจงึ เป็ นเมืองประเทศราชของสุโขทยั เมื่อส้ ินสมยั พอ่ ขนุ รามคาแหง หวั เมืองลาวได้
ต้งั ตนเป็ นอิสระปกคองตนเอง คร้นั ถึง พ.ศ. 1896 – 1916 เจา้ ฟ้ างุม้ กษัตริยล์ าวได้
รวบรวมหวั เมืองตา่ งๆ ต้งั อาราจกั รลาวสุโขทยั การที่ลาวเขม้ แขง็ และมีอานาจเป็ นผลดี
ต่อไทย เพราะลาวไดห้ นั ไปต่อสกู้ บั ขอม จนทาใหข้ อมออ่ นอานาจและไมม่ ีกาลงั พอที่จะ
มารุกรานไทย อาณาจกั รสุโขทยั และอาณาจกั รลาวในชว่ งน้ ี จึงมีความสมั พนั ธใ์ นทาง
สนั ติมิไดเ้ ป็ นศตั รตู ่อกนั

14.

ความสัมพนั ธ์กับอาณาจกั รอนื่ ๆ

6.ความสมั พนั ธก์ บั จนี แมจ้ นี จะอยหู่ า่ งไกล แต่มีอานาจมาก จงึ แผ่อิทธิพลเขา้ มา

ในดินแดนประเทศต่างๆ ในแถบน้ ี ในสมยั พระเจา้ หงวนสีโจว๊ ฮ่องเต้ (กุบไลขา่ น)

ไดส้ ่งพระราชสาสน์มายงั สุโขทยั เตือนใสหน้ าเครื่องบรรณาการไปถวายพระองค์ คร้งั สาคญั

คือเมื่อ พ.ศ. 1837 พอ่ ขุนรามมคาแหงทารงเห็นวา่ หากนิ่งเฉยหรือขดั ขืน อาจเกิดสงคราม

กบั จนี ได้ จึงโปรดใหแ้ ตง่ ราทตู นาเครื่องบรรณาการไปถวายกษัตริยจ์ นี สุโขทยั และจีนจึงมี

ไมตรีตอ่ กนั มีผลดีท้งั ทางเศรษฐกิจการเมือง คือ มีการติดตอ่ คา้ ขายกบั จีน และไดร้ บั

ศิลปะการทาเครื่องเคลือบ ซึ่งตอ่ มาเรียกวา่ เครื่องสงั คโลก ผลิตเป็ นสินคา้ ออกเป็ นท่ีนิยม

มาก นอกจากน้ ียงั ไดร้ บั ความรใู้ นการเดินเรือทะเลจากจีนสามารถนาเรือบรรทุกสินคา้ ไป

คา้ ขายกบั นานาประเทศได้ ส่วนทางการเมืองก็ไดร้ บั ความเช่อื ถือจากประเทศ

อ่ืนๆ เน่ืองจากจนี ใหก้ ารรบั รองไมต่ อ้ งถกู ปราบปรามเหมือนบางประเทศ สง่ ผลใหส้ ุโขทยั

มีการแลกเปล่ียนซ้ ิอาขายกบั จีนและประเทศอื่นๆ ขยายตลาดกวา้ งขวางข้ นึ

7. ความสมั พนั ธก์ บั อาณาจกั รขอม พอ่ ขุนรามคาแหงเร่ิมขยายอานาจไปทางลุ่ม

แม่น้าโขงตอนลา่ ง เขา้ โจมตีอาณาจกั รขอม โดยไดร้ บั การสนับสนุนาจากจกั รพรรดิกุบไล

ขา่ น การทาสงครามนาความเสียหายใหแ้ ก่ขอม เป็ นการทาลายอานาจทางการเมืองของ

ขอมท่ีเคยมีอยุใ่ นแถบลุ่มแม่น้าโขงและลุม่ แม่น้าเจา้ พระยาใหส้ ้ ินสุดลง

8. ความสมั พนั ธก์ บั อาณาจกั รอยธุ ยา อาณาจกั รอยุธยาไดส้ ถาปนาข้ นึ

เม่ือ พ.ศ. 1893 โดยพระเจา้ อ่ทู อง (พระรามาธิบดีที่ 1) เป็ นพระมหากตั ริยพ์ ระองค์

แรก ไดร้ บั การสนับสนุนจากแควน้ ละโวแ้ ละสุพรรณภมู ิ จึงมีความเขม้ แขง็ มาก ได้

สถาปนาราชอาณาจกั รไม่ข้ นึ ต่อสุโขทยั ซี่งชว่ งเวลาน้ ีตรงกบั รชั สมยั ของพระมหาธรรม

ราชาท่ี 1 (ลิไทย) ในระยะแรกท่ีกรุงศรีอยุธยาสถาปนาเป็ นอาณาจกั รน้ ี สุโขทยั อละ

อยุธยาไดม้ ีการสรู้ บกนั เป็ นคร้งั คราว จนกระทงั่ พ.ศ. 1921 ในสมยั พระมหาธรรมราชา

ท่ี 2 สุโขทยั ก็ตกเป็ นประเทศราชาของอยุธยาซึ่งมีพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขนุ หลวงพะ

งวั่ ) เป็ นกษัตริย์ แมต้ อ่ มาพระมหาธรรมราชาท่ี 3 (ไสยลือไทย) จะประกาศอิสรภาพ

จากอยุธยาไดส้ าเร็จ แตเ่ มื่อพระองคเ์ สด็จสวรรคต ราชโอรสของพระองคก์ ็แยง่ ชิงราช

สมบตั ิกนั เป็ นเหตุใหส้ มเด็จพระอินทราชาแหง่ กรุงศรีอยุธยายกทพั ข้ ึนไปไกล่เกล่ีย ทาให้

สุโขทยั ถกู แบ่งออกเป็ น 2 สว่ น และเม่ือพระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรม

ปาล) สวรรคต เจา้ สามพระยาแหง่ อาณาจกั รอยุธยา ไดท้ รงส่งพระราเมศวร พระราช

โอรสท่ีเกิดจากพระราชธิดาของพระมหาธรรมราชาท่ี 3 ข้ นึ ไปครองเมืองพษิ ณุโลกซี่งเป็ น

เมืองหลวงของอาณาจกั รสุโขทยั สุโขทยั จึงถกู รวมเขา้ กบั อาณาจกั รอยุธยาเป็ นอนั ส้ ินสุด

อาณาจกั ราสุโขทยั 15.

เศรษฐกจิ สมัยสุโขทยั

ปัจจัยท่มี ีผลต่อลักษณะเศรษฐกจิ ของสุโขทยั
เศรษฐกิจของอาณาจกั รสโุ ขทยั มีความเจริญก้าวหน้า ประชาชนในสมยั

นนั้ มีความเป็นอยดู่ ี ปัจจยั สาคญั ท่ีส่งเสริมให้ลกั ษณะเศรษฐกิจของสโุ ขทยั มีความ
เจริญก้าวหน้า คือ ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และความสามารถของ
ผ้นู า

1. ลักษณะทางภมู ิศาสตร์ สโุ ขทยั อย่ใู นภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีพืน้ ที่
เป็นที่ราบสว่ นใหญ่ จงึ เหมาะแก่การทาเกษตรกรรม ทางทศิ เหนือมีภเู ขาติดต่อกนั
เป็นพดื ลงมา ทางตะวนั ตกมีเขาหลวงและเขาแล้งเป็นภเู ขาใหญ่ และทวิ เขาถา้ เจ้ารามมี
ขนาดรองลงมา ในบางท้องท่ีมีภเู ขาท่ีมีนา้ ตกหลายแหง่ ให้ความช่มุ ชืน้ แก่ดนิ มีป่ าที่อดุ ม
ด้วยไม้มีคา่ มีพนื ้ ที่ราบกว้างทางตะวนั ออกลงมา ทางใต้มีแมน่ า้ ลาคลอง หนอง บงึ อยู่
ทว่ั ไป เป็นแหลง่ วนา้ เพ่ือการเพาะปลกู และเป็นที่อาศยั ของสตั ว์นา้ เชน่ ก้งุ ปู ปลา

ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของสโุ ขทยั ประกอบด้วยที่ราบลมุ่ แมน่ า้ และที่ราบเชิง
เขา บริเวณล่มุ แม่นา้ ในบริเวณพนื ้ ที่ทงั้ สองฝ่ังของแมน่ า้ แต่ละสายจึงเป็นแหลง่ สาคญั ท่ี
ส่งเสริมการประกอบอาชีพเพาะปลกู เลีย้ งสตั ว์ และทาประมง ตลอดจนใช้เป็นแหลง่ ท่ีตงั้
บ้านเรือนได้ดี

2. ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ตงั้ ของอาณาจกั รสโุ ขทยั อย่บู ริเวณที่ราบล่มุ แมน่ า้ ซงี่ เป็น
สาขาของแมน่ า้ เจ้าพระยาสลบั กบั ท่ีดอน จงึ มีนา้ อดุ มสมบรู ณ์ในหน้าฝน นา้ น้อยใน
หน้าแล้ง รอบๆ เมืองมีป่ าไม้ขนึ ้ อย่ทู ว่ั ไป สโุ ขทยั จีงมีความอดุ มสมบรู ณ์ด้วยพชื พรรณ
ธรรมชาติ มีการทาสวนทาไร่ทวั่ ไป

3. ความสามารถของผู้นา นอกจากลกั ษณะทางภมู ศิ าสตร์และ
ทรัพยากรธรรมชาติแล้ว ปัจจยั สาคญั อีกประการหนี่ง คือ พระปรีชาสามารถของ
พระมหากษัตริย์ในสมยั สโุ ขทยั ที่ทรงทานบุ ารุงบ้านเมืองด้านต่างๆ โดยเฉพาะในด้าน
การเกษตรทรางทานบุ ารุงโดยสง่ เสริมด้วยวิธีการต่างๆ

16.

ลกั ษณะเศรษฐกจิ สโุ ขทัย

เกษตรกรรม อาชีพหลกั ของชาวสุโขทยั ทยั คือ เกษตรกรรม จากขอ้ มลู ที่
ปรากฏในหลกั ศิลาจารึกทาใหท้ ราบวา่ มีท้งั การทานา ทาไร่ ทาสวน พืชท่ีปลกู กนั มาก
ในสมยั สุโขทยั คือ ขา้ ว รองลงมาเป็ นไมผ้ ล เชน่ มะพรา้ ว มะม่วง และ
หมาก นอกจากน้ ียงั มีพืชไร่อื่นๆ อีก นอกจากจะมีการเพาะปลกู แลว้ ยงั มีการส่งเสริมการ
เล้ ียวงสตั วไ์ วใ้ ชง้ าน เป็ นอาหาร และนามาแลกเปลี่ยนคา้ ขายกนั โดยเสรีอีกดว้ ย

หตั ถกรรม ในสมยั สุโขทยั มีสิ่งประดิษฐท์ ่ีสนองความตอ้ งการพ้ นื ฐาน ไดแ้ ก่ การ
ทาเคร่ืองมือเครื่องใชเ้ พื่อการดารงชีวิต ไดแ้ ก่ เหล็ก เชน่ มีด ขวาน จอบ เสียม เคร่ืองมือ
ทาการเพาะปลกู งานป้ัน เชน่ โอง่ ไห หมอ้ และงานจกั สาน เชน่ กระบุง ตะกรา้ และของ
ใชเ้ บ็ดเตล็ด เป็ นตน้

การคา้ ขาย การคา้ ขายสมยั สุโขทยั เป็ ฯการคา้ แบบเสรี ไดร้ บั การสง่ เสิรมาจาก
ทางราชการมาก มีการยกเวน้ ภาษีผ่านด่าน ใครจะคา้ ขายสิ่งใดก็สามารถนามา
แลกเปล่ียนซ้ ือขายกนั ได้ ทาใหป้ ระชาชนมีความสุขสบายทวั่ หนา้ กนั

การคา้ ขายภายในประเทศ เนื่องดว้ ยชุมชนต่างๆ ของอาณาจกั รสุโขทยั
ต้งั อยตู่ ามลาน้า จงึ มีการติดต่อกนั โดยอาศยั เสน้ ทางคมนาคมท้งั ทางบกและทางน้า

ทางบก มีทางเดินหรือถนนขนาดเล็ก เช่ือมตอ่ ระหวา่ งเมือง มีท้งั ใน
กลุม่ เมืองใกลเ้ คียงเมืองสุโขทยั เกา่ และทางเหนือข้ ึนไป และในแถบริมฝัง่ ทะเลจากจงั หวดั
ชุมพรลงไป

ทางน้า ใกลเ้ มืองสุโขทยั มีทางน้าที่สาคญั คือ แมน่ ้ายม แมน่ ้า
น่าน แม่น้าปิ ง และสาขาของแม่น้าเหล่าน้ ี

การคา้ ขายกบั ตา่ งประเทศ สมยั สุโขทยั มีการคา้ ขายกบั ต่างประแทศ
หลายประเทศดว้ ยกนั เชน่ จนี ญ่ีป่ ุน มลายชู วา บอรเ์ นีย ฟิ ลิปปิ นส์ อินเดีย ลงั กา อิหร่าน
และอาหรบั ชาติอ่ืนๆ โดยใชเ้ สน้ ทางในการติดตอ่ คา้ ขาย ดงั น้ ี

ทางบก มีเสน้ ทางที่สาคญั 3 เสน้ ทาง ไดแ้ ก่ เสน้ ทางสุโขทยั – เมาะ
ตะมะ , เสน้ ทางสุโขทยั – ตะนาวศรี , เสน้ ทางสุโขทยั – เชียงใหม่

ทางน้า มีเสน้ ทางน้า คือ แมน่ ้าป่ าสกั แม่น้าเจา้ พระยา แม่น้าท่า
จีน และแม่น้าแม่กลอง

17.

ระบบเงินตราสมยั สุโขทยั
การนาระบบเงินตรามาใชม้ ีสว่ นชว่ ยระบบเสรษฐกิจใหด้ ีข้ นึ เป็ นการจงู ใจ

ใหป้ ระชาชนประกอบอาชพี เพ่อื จะไดม้ ีทรพั ยส์ ินเป็ นของตนเอง ดว้ ยเหตุท่ีสุโขทยั มีแรธ่ าตุ
หลายชนิด เชน่ เงิน ทอง ดีบุก เหล็ก จงึ มีการนาแรเ่ งินมาใชใ้ นการทาเงินตราท่ี
เรียกวา่ เงนิ พดดว้ ง เป็ นการพฒั นาระบบเศรษฐกิจเพื่ออานวยความสะดวกในการ
แลกเปล่ียนใหค้ ลอ่ งข้ นึ เงินพดดว้ ง แบ่งออกเป็ น สลึง บาท และตาลึง (เงินตราท่ีมีค่า
นอ้ ยที่สุด คือ เบ้ ีย ทาจากหอยเรียกวา่ เบ้ ียหอย)

การมีเงินตราใชเ้ ป็ นตวั กลางแลกเปล่ียนทาใหส้ ะดวกต่อการชาระหน้ ีในการ
ซ้ ือขาย และการชาระหน้ ีจงึ มีการกระจายสินคา้ อยา่ งกวา้ งขวาง ตลาดการคา้
ขยายตวั พอ่ คา้ ไดร้ บั ความสะดวก สามารถใชเ้ งินพดดว้ งซ้ ือสินคา้ ราคาแพงไดส้ ะดวกข้ นึ

เงินพดดว้ ง

กฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม
สงั คมสุโขทยั เป็ นสงั คมที่มีระเบียบแบบแผน ระเบียบแบบแผนเหล่าน้ ีสว่ น

ใหญไ่ ดร้ บั มาพรอ้ มกบั พระพทุ ธศาสนา ท้งั น้ ีเม่ือพระพทุ ธศาสนาแพร่เขา่ มาน้ัน ไดพ้ า
ลทั ธิความเชือ่ ตามแบบศาสนาพราหมณ์ ฮินดู เขา้ มาดว้ ย ซ่ึงนอกจากพธิ ีกรรม
ต่างๆ แลว้ ยงั มีศาสตรใ์ นสาขาตา่ งๆ เชน่ ธรรมศาสตรร์ วมอยดู่ ว้ ยปรากฏตามศิลาจารึก
วา่ มีกฎหมายและกระบวนการพิจารณาคดีท่ีจาเป็ นแก่กาลสมยั เชน่

1.กฎหมายอาญาว่าดว้ ยลกั ษณะโจร บญั ญตั ิเก่ียวกบั การลกั ทรพั ย์ การ
ลกั พา และการฆ่าสตั ว์

2.กฎหมายแพง่ ว่าดว้ ยครอบครวั มรดก บญั ญตั ิวา่ ทรพั ยส์ ินของผใู้ ด เมื่อถึงแก่
กรรมไปแลว้ ยอ่ มตกแก่ลกู หลาน

3. กฎหมายว่าดว้ ยวิธพี ิจารณาความ บญั ญตั ิใหม้ ีตุลาการ พิจารณาอรรถคดีโดย
ธรรม หา้ มมิใหร้ บั สินบนเขา้ ขา้ งใดขา้ งหนึ่ง

4. กฎหมายว่าดว้ ยการถวายฎกี า บญั ญตั ิวา่ ผูใ้ ดตอ้ งการถวายฎีกาแต่
พระมหากษัตริยก์ ็สามารถทาได้ โดยไปสนั่ กระดิ่งที่ประตพู ระราชวงั พระมหากษัตริยจ์ ะ
ทรงรบั ฎีกาและตดั สินคดีดว้ ยพระองคเ์ อง

18.

ความเสอื่ มอานาจของสุโขทยั
ความเสื่อมของอาณาจกั รสุโขทยั เกิดขน้ั เพราะความออ่ นแอของระบบ

การเมืองการปกครอง แควน้ ต่างๆ ท่ีเคยอยใู่ นอานาจต้งั ตนเป็ นอิสระ สง่ ผลให้
อาณาจกั รหมดอานาจลงไปในที่สุด

เม่ือส้ ินรชั สมยั พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช ประมาณ
พ.ศ. 1841 อาณาจกั รสุโขทยั ก็เริ่มออ่ นแอลง ความออ่ นแอหรือความเสื่อมของ
สุโขทยั น้ ี น่าจะเกิดจากสาเหตุ 4 ประการ คือ

1. ความเหินหา่ งระหวา่ งพระมหากษัตริยก์ บั ราษฎร
2. ความยอ่ หยอ่ นในดา้ นการทหาร
3. การถูกตดั เสน้ ทางเศรษฐกิจ
4. การแตกแยกภายใน

19.


Click to View FlipBook Version