The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

project 01 (1) - M2-1_23ณัฏฐณิชชา คุณวุฒิ (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by st12087, 2022-08-06 05:19:06

PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF

project 01 (1) - M2-1_23ณัฏฐณิชชา คุณวุฒิ (1)

งานวิจยั
เรือ่ ง การประดิษฐ์ระบบเปิดปดิ ไฟ – พดั ลมด้วยเซนเซอรต์ รวจจับความเคล่ือนไหว

PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF

โดย

เด็กหญงิ ณฏั ฐณิชชา คณุ วุฒิ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2/1
เดก็ หญิงพรนภา พนั ธ์วริศ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2/1
เด็กหญิงอรญิ ชย์ญา สง่าแสง ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2/1

รายงานนเ้ี ป็นส่วนหน่ึงของงานวจิ ยั
หอ้ งเรยี นส่งเสริมความเป็นเลิศดา้ นวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์
โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั นครปฐม (พระตำหนกั สวนกหุ ลาบมัธยม)

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2/1 ปกี ารศึกษา 2565

งานวจิ ยั

เร่อื ง การประดิษฐร์ ะบบเปิดปิดไฟ - พัดลมด้วยเซนเซอร์ตรวจจับความเคล่อื นไหว
เรื่อง PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF
จดั ทำโดย

เดก็ หญิงณัฏฐณิชชา คุณวฒุ ิ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 2/1
เดก็ หญงิ พรนภา พันธ์วรศิ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2/1
เดก็ หญงิ อรญิ ชย์ญา สง่าแสง ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2/1

ครทู ี่ปรกึ ษา
นางสาวปรีดาภรณ์ ไชยแสง
นางสาวกัญภร แสงมณี

รายงานนี้เปน็ สว่ นหนึ่งของงานวิจยั
หอ้ งเรยี นสง่ เสรมิ ความเป็นเลศิ ด้านวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์
โรงเรียนกาญจนาภิเษกวทิ ยาลัย นครปฐม (พระตำหนกั สวนกหุ ลาบมธั ยม)

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2/1 ปีการศกึ ษา 2565

บนั ทึกการตรวจสอบของครูทีป่ รกึ ษางานวจิ ัย

ชื่องานวิจัย การประดิษฐร์ ะบบเปดิ ปดิ ไฟ – พัดลมด้วยเซนเซอรต์ รวจจับความเคล่ือนไหว
PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF
ชอื่ ครทู ่ปี รกึ ษา นางสาวปรีดาภรณ์ ไชยแสง

นางสาวกญั ภร แสงมณี

ความเหน็ ของครูท่ีปรึกษา
เอกสารถูกตอ้ ง ครบถว้ น สามารถนำเสนอได้
เอกสารต้องไดร้ บั การแกไ้ ขกอ่ นนำเสนอ

ส่ิงทต่ี อ้ งแก้ไข ได้แก่............................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................
............................................................................................................................................................

ลงช่ือ.............................................ครูที่ปรกึ ษา
(นางสาวปรีดาภรณ์ ไชยแสง)
26/07/2565

ลงช่ือ.............................................ครูทีป่ รกึ ษา
(นางสาวกัญภร แสงมณี)
26/07/2565



ช่อื งานวิจัย การประดิษฐร์ ะบบเปดิ ปิดไฟ – พดั ลมด้วยเซนเซอร์ตรวจจับความเคล่ือนไหว

(PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)

ประเภทงานวิจัย งานวิจัยวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์

ชอ่ื ผู้วิจัย เดก็ หญิงณฏั ฐณิชชา คุณวุฒิ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2/1

เดก็ หญิงพรนภา พนั ธ์วรศิ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2/1

เด็กหญิงอริญชยญ์ า สงา่ แสง ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2/1

คณุ ครทู ่ปี รกึ ษา นางสาวปรีดาภรณ์ ไชยแสง

นางสาวกญั ภร แสงมณี

สถานศกึ ษา โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั นครปฐม (พระตำหนกั สวนกหุ ลาบมัธยม)

ปีการศกึ ษา 2565

บทคดั ย่อ

งานวจิ ยั เร่อื ง การประดษิ ฐร์ ะบบเปดิ ปดิ ไฟ – พัดลมด้วยเซนเซอรต์ รวจจับความเคล่ือนไหว
(PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF) อย่างมปี ระสิทธิภาพเพ่ือการประหยดั พลังงานไฟฟ้า โดยใช้
เซนเซอร์ตรวจจบั ความเคลือ่ นไหวแบบบอรด์ โปรแกรม Kidbright I.D.E บอร์ด Kidbright และ สาย
ไฟจัมเปอร์ โดยเม่ือมีบคุ คลเข้ามาภายในหอ้ งเรยี น เซนเซอร์ที่เช่ือมกบั บอรด์ จะตรวจจับความ
เคล่อื นไหวและส่งสัญญาณไปยังบอร์ด Kidbright ตวั บอรด์ จะทำตามคำสั่งท่ีถูกเขยี นไว้โดยจะทำการ
ควบคมุ หลอดไฟและพัดลมให้ทำงาน แต่เม่ือไมม่ ีบุคคลภายในหอ้ งแล้ว ตัวบอร์ดจะสง่ั การให้ไฟและ
พัดลมหยดุ การทำงาน เพอ่ื ความสะดวกสบายและประหยัดพลังงานไฟฟ้า

ผลการวิจยั พบว่า ความเคล่อื นไหวส่งผลตอ่ การทำงานของเซนเซอร์ โดยระบบจะทำงาน
ต่อเม่ือเซนเซอรต์ รวจจับความเคลื่อนไหวภายในหอ้ งจำลองได้ สามารถแก้ปัญหาให้ไดผ้ ลดีทส่ี ุดควรนำ
ตวั ตรวจจบั สญั ญาณติดต้ังบริเวณใกล้บคุ คลหรือบริเวณที่มีบคุ คลผ่านไปมา เช่น ประตูห้องเรียน



กิตติกรรมประกาศ

งานวิจยั เรือ่ งระบบ การประดิษฐร์ ะบบเปดิ ปิดไฟ – พัดลมด้วยเซนเซอรต์ รวจจบั ความเคล่ือนไหว
(PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF) ฉบบั น้ีสำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบคุ คลหลายทา่ น
ซง่ึ ไม่อาจจะนำมากลา่ วถงึ ได้ทงั้ หมด ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์นวชั ปานสวุ รรณ อาจารย์บรรณรกั ษ์
บุญปก อาจารย์ปรีดาภรณ์ ไชยแสง และอาจารย์กญั ภร แสงมณี ตลอดจนคณะอาจารยก์ ลุม่ สาระการ
เรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรท์ ุก ๆ ท่านท่ีไดม้ อบความรู้ คำแนะนำ คอยตรวจทานและแกไ้ ขข้อผดิ พลาด ตลอดจน
ความช่วยเหลอื ต่าง ๆ ด้วยความเอาใจใสท่ กุ ข้ันตอนการทำงานวิจัยชิน้ น้ี

ขอขอบพระคุณคณะผูบ้ รหิ าร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณุ ครทู ี่ปรกึ ษาทุกทา่ น
รวมท้งั ผู้ปกครอง และคณะครโู รงเรียนกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัย นครปฐม (พระตำหนักสวนกหุ ลาบมัธยม)
ท่ไี ดเ้ สยี สละเวลาในการชว่ ยส่งเสรมิ และสนบั สนุนงบประมาณใหก้ บั โครงงานช้นิ นี้

คณะผูจ้ ดั ทำ

สารบัญ ค

เร่อื ง หนา้

บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบญั ค
สารบญั ภาพ ง
บทท่ี 1 บทนำ 1
1
1.1 ทีม่ าและความสำคัญ 2
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 3
1.3 สมมติฐาน 3
1.4 ตัวแปรทศ่ี ึกษา 3
1.5 นยิ ามเชิงปฏิบัติการ 4
1.6 ขอบเขตของการศึกษา 4
1.7 ระยะเวลาในการศกึ ษา 4
1.8 สถานทปี่ ฏบิ ัตกิ าร 5
บทท่ี 2 เอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง 5
2.1 เซนเซอรต์ รวจจับความเคลอ่ื นไหวแบบบอร์ด 7
2.2 kidbright board 8
2.3 โปรแกรม Kidbright IDE 10
2.4 สายไฟจมั เปอร์



สารบญั

เรอื่ ง หน้า

2.5 งานวจิ ัยทีเ่ กยี่ วข้อง 11

บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนินงาน 15

3.1 วสั ดอุ ุปกรณ์ 16

3.2 ข้นั ตอนการประดิษฐ์ ห้องจำลอง 17

3.3 ขนั้ ตอนเตรยี มอปุ กรณ์และประดิษฐ์ PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF 19

3.4 จดุ ประสงค์ 21

3.5 วสั ดอุ ปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการทดสอบประสทิ ธิภาพ 21

3.6 วิธีการทดลอง 21

3.7 การประเมนิ ความพงึ พอใจของผใู้ ช้งานระบบ 22

บทท่ี 4 ผลการทดลอง 23

4.1 ผลการทดลองตอนท่ี 1 PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF 23

4.2 การศกึ ษาประสทิ ธิภาพการทำงานของ PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF 23

บทที่ 5 สรปุ และอภิปรายผลการทดลอง 25

ตอนที่ 1 การศกึ ษาการประดิษฐ์ PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF 25

ตอนที่ 2 การศึกษาประสทิ ธภิ าพของเซนเซอรต์ รวจจับการเคลื่อนไหวแบบบอรด์ 25

ประโยชน์ที่ไดร้ ับ 26

ข้อเสนอแนะ 26

บรรณานุกรม 27
ภาคผนวก 28

สารบัญภาพ ง

ภาพที่ หน้า
ภาพท่ี 2.1 เซนเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหวแบบบอรด์ 6
ภาพที่ 2.2 Kidbright board 7
ภาพท่ี 2.3 โปรแกรม Kidbright IDE 8
ภาพที่ 2.6 สายไฟจมั เปอร์ 10
ภาพที่ 3 ภาพการออกแบบการประดิษฐ์ PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF 15
ภาพที่ 3.2.1 ภาพข้นั ตอนการประดษิ ฐท์ ี่ 1 17
ภาพที่ 3.2.2 ภาพขัน้ ตอนการประดิษฐ์ที่ 2 17
ภาพที่ 3.2.3 ภาพขั้นตอนการประดิษฐ์ท่ี 3 18
ภาพท่ี 3.2.4 ภาพข้นั ตอนการประดษิ ฐท์ ่ี 4 18
ภาพที่ 3.2.5 ภาพนขนั้ ตอนการประดษิ ฐท์ ่ี 5 19
ภาพการทดลองตอนท่ี 2 20
ภาพผลการทดลอง ตอนท่ี 1 23
ภาพผลการทดลอง ตอนท่ี 2 24

1

บทท่ี 1

บทนำ

1.1 ทมี่ าและความสำคญั
ปัจจุบนั ประเทศไทยมคี วามต้องการไฟฟา้ เพิม่ ขึน้ ประมาณปลี ะ 1,200 เมกะวตั ต์ ดังนั้น

จึงจำเป็นท่ีจะต้องมีการพัฒนาโรงไฟฟ้าใหมเ่ พ่มิ ข้นึ อย่างต่อเนือ่ ง อีกทงั้ ปจั จบุ ันการผลติ ไฟฟ้าของประเทศ
มกี ารใชเ้ ชอื้ เพลงกา๊ ซธรรมชาตสิ ูงถึงรอ้ ยละ 70 รองลงมาได้แก่ ลิกไนต์ และถา่ นหนิ รวมประมาณร้อยละ
20 ทีเ่ หลอื เป็นพลังงานหมุนเวยี น และการซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพ่ือนบา้ น ดังนัน้ เพ่อื ลดความเสย่ี งจาก
การพึ่งพาเช้ือเพลิงกา๊ ซธรรมชาตใิ นการผลติ ไฟฟ้าทีม่ ากเกินความจำเปน็ จากแผน Thailand Power
Development Plan ในฉบับปจั จุบันของกระทรวงพลงั งาน ได้กำหนดให้มกี ารพัฒนาโรงไฟฟา้ เช้อื เพลงิ
หลักจากถา่ นหิน นำเขา้ พลังงานนวิ เคลียร์ จากการศึกษาข้อมลู เพ่ิมเตมิ พบวา่ ประเทศตา่ ง ๆ ในโลก ไดม้ ี
การใชป้ ริมาณพลงั งานไฟฟา้ ท่แี ตกตา่ งกนั นอกจากนย้ี งั มีการจัดเกบ็ ข้อมลู เกี่ยวกบั การใชพ้ ลังงานไฟฟ้าใน
ปจั จุบันท่วั ทงั้ โลก ซ่งึ พบว่ามีการใช้พลงั งานไฟฟา้ เฉลีย่ สงู ถึงปีละ 1,992.13 กิโลกรมั ซึ่งมีปริมาณเทียบเทา่
กบั ปริมาณการใชน้ ้ำมัน

พลังงานหมุนเวยี นทีน่ ำมาใช้ผลิตไฟฟ้าในบ้านเราส่วนใหญ่ได้แก่พลงั งานจากชวี มวล พลังงานนำ้
สำหรับโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก พลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานลม เป็นต้น โดยประเด็นที่สำคัญสำหรับ
พลังงานหมุนเวียนที่ควรคำนึงถึง ได้แก่ ความไม่แน่นอนของแหล่งพลังงาน เช่น น้ำ แสงอาทิตย์ หรือลม
จะสามารถให้กำลังในการผลิตกระแสไฟฟ้าได้ต่อเน่ือง และเพียงพอต่อการใช้งานของมนุษย์หรือไม่
นอกจากนใ้ี นปัจจบุ นั พลังงานหมุนเวียนยงั มีตน้ ทุนการผลิตที่ค่อนขา้ งสูง เชน่ ไฟฟ้าจากพลังงานลมมีราคา
หนว่ ยละประมาณ 6 บาท ไฟฟา้ จากจากพลังงานแสงอาทิตย์มีราคาประมาณหนว่ ยละ 8-10 บาท ในขณะ
ที่ปัจจุบันเราจ่ายค่าไฟฟ้าหน่วยละประมาณ 3.50 บาท ดังนั้นหากมีการใช้พลังงานเหล่านี้ผลิตไฟฟ้าใน
พื้นที่ต่าง ๆ ก็อาจจะทำให้ชาวบ้านไม่สามารถจ่ายค่าไฟฟ้าในอัตราที่เพิ่มสูงขึ้นได้ มีผลกระทบ ทำให้
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าในภาพรวมสูงขึ้นซึ่งจะส่งผลกระทบต่อต้นทุนของภาคอุตสาหกรรมและส ภาวะ
เศรษฐกจิ

2

โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลยั นครปฐม (พระตำหนกั สวนกหุ ลาบมัธยม) เป็นสถานศกึ ษาขนาด
ใหญท่ ี่มีปริมาณการใช้ไฟฟ้าค่อนข้างมาก โดยในสภาวะปกตทิ ่ีโรงเรียนเปิดทำการแตล่ ะเดือนมีค่าใชจ้ า่ ย
สำหรบั ค่าไฟฟา้ มากกวา่ 100,000 บาท รวมแลว้ แต่ละปีจะมคี า่ ใช้จ่ายไฟฟา้ มากกวา่ 1,200,000 บาท ซ่ึง
ทางโรงเรียนกไ็ ด้มมี าตรการลดการใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ ในหลากหลายรูปแบบ เชน่ การดำเนินโครงการ
โรงเรียนสเี ขียว สง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี นและบคุ ลากรช่วยกันประหยดั ไฟฟ้า เปิดและปิดไฟเมื่อไม่มีการใช้งาน
แต่ก็ยงั ไมส่ ามารถลดการใช้พลงั งานไฟฟา้ ไดเ้ ท่าท่ีควร เนื่องจากโรงเรยี นใชร้ ะบบใหน้ ักเรียนระดับมธั ยม
ตอนปลายท่ีไมม่ หี ้องเรยี นประจำ เดินเรียนตามห้อง ซึ่งทำให้บางครั้งหลังจากนกั เรยี นเรียนเสรจ็ แลว้ มัก
ลืมปิดไฟและพัดลม ซึ่งหากเป็นช่วงติดต่อกบั วนั หยดุ จะทำให้เครือ่ งใช้ไฟฟ้าในห้องเรยี นถูกเปดิ ใช้งาน
ตลอดเวลา จึงทำให้ไมส่ ามารถลดการใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ ได้

จากสาเหตุดังกลา่ วคณะผจู้ ดั ทำเล็งเห็นวา่ การประหยดั พลังงานไฟฟา้ จึงเป็นส่ิงสำคญั มาก ซงึ่ มี
ความจำเป็นในสถานการณ์ยุคปัจจุบนั ท่ีมีการใช้เครอื่ งมอื เครื่องใชต้ ่าง ๆ ท่ีอาศัยพลังงานไฟฟ้าเปน็ หลกั
การชว่ ยกนั ตักเตือนและชว่ ยกนั ประหยัดพลังงานไฟฟ้าตง้ั แตเ่ ด็กจนถึงคนชราเปน็ ส่ิงพน้ื ฐานท่ีพงึ ปฏิบตั ิ
ร่วมกนั ด้วยเหตนุ ้ีทางคณะผู้จัดทำจงึ มีแนวคิดทจ่ี ะชว่ ยประหยดั พลังงานไฟฟ้า โดยการสรา้ งระบบ
ประหยดั พลังงานไฟฟ้าดว้ ยระบบเปดิ ปิดไฟ – พดั ลมดว้ ยเซนเซอรต์ รวจจับความเคล่ือนไหว (PIR
SENSOR AUTOMATIC ON/OFF) ลดปญั หาเกยี่ วกับการลืมปิดไฟ – พัดลมภายในห้อง และชว่ ยให้การ
เปิดปิดไฟ - พดั ลมในห้องสะดวกสบายย่งิ ข้ึน

1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1. เพอ่ื ศึกษาการออกแบบและสร้างระบบเปดิ ปิดไฟ – พดั ลมดว้ ยเซนเซอร์ตรวจจับความ
เคล่อื นไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)
1.2.2. เพือ่ ศึกษาประสิทธภิ าพการทำงานของระบบเปิดปิดไฟ – พัดลมด้วยเซนเซอรต์ รวจจับ
ความเคล่อื นไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)

3

1.3 สมมติฐาน
1.3.1. ระบบเปดิ ปดิ ไฟ – พดั ลมด้วยเซนเซอร์ตรวจจับความเคล่อื นไหว (PIR SENSOR
AUTOMATIC ON/OFF) สามารถทำงานได้ดเี มือ่ มคี วามเคลื่อนไหวเกดิ ข้นึ ภายในห้อง
1.3.2. ระบบเปดิ ปิดไฟ – พัดลมด้วยเซนเซอรต์ รวจจับความเคลื่อนไหว (PIR SENSOR
AUTOMATIC ON/OFF) สามารถทำงานได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
1.3.3. เซนเซอร์ตรวจจับความเคลอ่ื นไหวแบบบอร์ดสามารถทำงานรว่ มกบั ระบบเปิดปิดไฟ –
พัดลมดว้ ยเซนเซอร์ตรวจจบั ความเคลอื่ นไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)
ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ

1.4 ตวั แปรทีศ่ ึกษา
ตวั แปรต้น – การเคล่ือนไหวของบคุ คลภายในหอ้ งเรยี น , ระบบเปดิ ปิดไฟ – พดั ลมด้วยเซนเซอร์
ตรวจจบั ความเคลอ่ื นไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)
ตัวแปรตาม – การทำงานของระบบเปิดปดิ ไฟ – พดั ลมดว้ ยเซนเซอรต์ รวจจับความเคล่อื นไหว
(PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)
ตัวแปรควบคมุ – ชนิดของเซนเซอร์ , สถานทท่ี ดลอง , ระยะเวลาของระบบที่จะตดั เซนเซอร์

1.5 นยิ ามเชงิ ปฏบิ ัติการ
• ระบบเปดิ ปดิ ไฟ – พดั ลมด้วยเซนเซอร์ตรวจจับความเคล่อื นไหว (PIR SENSOR
AUTOMATIC ON/OFF) หมายถึง สิง่ ประดษิ ฐท์ ่ีผ้จู ัดทำไดป้ ระดษิ ฐข์ ึ้นเพ่ือศึกษา
ประสทิ ธิภาพของระบบเปดิ ปิดไฟ – พัดลมด้วยเซนเซอร์ตรวจจบั ความเคลอ่ื นไหว (PIR
SENSOR AUTOMATIC ON/OFF) ระบบจะเร่ิมทำงานต่อเมอื่ เซนเซอร์ตรวจจับความ
เคลือ่ นไหวจากบคุ คลภายในห้องได้ และส่งสญั ญาณไปยัง Kidbright board จากน้นั
บอรด์ จึงจะจ่ายกระแสไฟไปยังวงจรของหลอดไฟและพัดลม และจะหยุดจ่ายไฟเม่ือไม่มี
บุคคลอย่ภู ายในห้อง

4

• ประสทิ ธิภาพของระบบเปิดปดิ ไฟ – พัดลมด้วยเซนเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหว
(PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF) หมายถงึ
ความสามารถในการทำงานของระบบเปิดปิดไฟ - พัดลมด้วยเซนเซอรต์ รวจจับความ
เคลื่อนไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF) ท่ีสามารถทำตามชุดคำสั่งทเ่ี ขยี น
ไดต้ ามที่กำหนด เพอื่ ให้บรรลุเป้าหมายงานของคณะผ้จู ดั ทำ และสร้างประโยชน์ใหแ้ ก่
ผู้ใช้งานระบบ

• ระยะเวลาของระบบที่จะตัดเซนเซอร์ หมายถึง
ระยะเวลาที่กำหนดในชดุ คำส่ังเป็นวนิ าที หากภายใน 5 วินาทไี ม่มกี ารเคลอื่ นไหว
Kidbright board จะหยุดจา่ ยไฟให้วงจรของหลอดไฟและพัดลมตามที่เขยี นในชดุ คำส่งั

1.6 ขอบเขตของการศกึ ษา
ประดิษฐ์ระบบเปิดปิดไฟ – พัดลมดว้ ยเซนเซอร์ตรวจจบั ความเคลอื่ นไหว (PIR SENSOR

AUTOMATIC ON/OFF) ซึ่งจะถูกควบคุมคำสงั่ จาก Kidbright board ซ่งึ จะเขียนชุดคำสงั่ ควบคมุ การ
เปิดปิดไฟ - พดั ลมผา่ นโปรแกรม Kidbright I.D.E โดยมีเซนเซอรต์ รวจจับความเคล่ือนไหวแบบบอร์ดเป็น
ตวั ส่งสัญญาณใหค้ ำส่ังเริ่มทำงาน

1.7 ระยะเวลาในการศกึ ษา
วันที่ 10 มกราคม 2565 – 27 กรกฎาคม 2565

1.8 สถานทีป่ ฎิบตั ิการ
โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัยนครปฐม (พระตำหนักสวนกุหลาบมัธยม) ตำบลศาลายา
อำเภอพุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม

5

บทท่ี 2

เอกสารที่เกีย่ วขอ้ ง

การศกึ ษาวิจยั เร่อื ง ประดิษฐ์ระบบเปดิ ปดิ ไฟ – พดั ลมดว้ ยเซนเซอร์ตรวจจบั ความเคล่ือนไหว (PIR
SENSOR AUTOMATIC ON/OFF) คณะผู้จัดทำได้ศึกษาเอกสารต่อไปนี้
2.1 เซนเซอร์ตรวจจับตรวจจบั ความเคลอื่ นไหวแบบบอร์ด
2.2 Kidbright board
2.3 โปรแกรม Kidbright IDE
2.4 สายไฟจัมเปอร์ตวั เมยี
2.5 งานวิจยั ที่เกีย่ วข้อง
2.1 เซนเซอรต์ รวจจับความเคลอ่ื นไหวแบบบอร์ด

2.1.1. PIR sensor (Passive Infared Sensor) เปน็ แผงวงจรตรวจจับความเคลอ่ื นไหวด้วย
การตรวจวดั ความร้อน สามารถวัดได้ไกลถงึ 6 เมตร มีขนาดเลก็ ถกู ออกแบบมาใหใ้ ชง้ านกบั
ไมโครคอนโทรลเลอร์ไดง้ า่ ยโดยใช้ขาเชื่อมต่อเพียง 1 ขาและสามารถเลือกโหมดสัญญาณ output ได้
โหมดสัญญาณเอาต์พุต ท่เี ลือกใชง้ านได้ คอื 1. สัญลกั ษณ์ H (HIGH) หมายถึง output เป็น logic 0 เมอื่
อยใู่ นสภาวะปกติ และ output เป็น logic 1 เม่อื ตรวจจับความเคล่อื นไหวได้ 2.สญั ลกั ษณ์ L (LOW)
หมายถึง เอาต์พตุ เป็นลอจกิ 0 เมื่ออยู่ในสภาวะปกติ และเอาตพ์ ุตเปน็ ลกู คลืน่ ลอจกิ 1 สลับกบั 0 อยา่ ง
ต่อเนื่อง (pulse) เม่ือตรวจจบั ความเคลอ่ื นไหวได้ ในโครงงานนไี้ ด้เลอื กใชส้ ัญญาณ output ในโหมด H

2.1.2 คุณสมบัติ
➢ ใช้ไฟเลย้ี ง +3 ถงึ +5 โวลต์ ตอ้ งการกระแสไฟฟ้ามากกวา่ 3 มิลลแิ อมป์
➢ สามารถตรวจจับความเคลื่อนไหวไดใ้ นชว่ ง 6 เมตร
➢ รศั มีในการตรวจจบั 70 องศา
➢ สัญญาณ output 1 บิต
➢ อุณหภมู ใิ นการทำงานอยู่ในช่วง 0 ถึง 50 องศาเซลเซียส (ใชใ้ นพ้นื ท่รี ม่ )

6

➢ ใช้เวลาในการเรียนรู้สภาพแวดล้อม 10 ถึง 60 วินาที ในชว่ งเวลานีค้ วรจะมีตามการเคล่ือนไหว
นอ้ ยท่ีสดุ ใน พื้นท่ีที่มีการตรวจจับ เพ่อื ใหส้ ามารถทำงานได้อย่างถูกต้อง

➢ ขนาด 32.2 มิลลเิ มตร × 24.3 มิลลิเมตร × 25.4 มลิ ลเิ มตร (กว้าง × ยาว × สงู )

2.1.3 จดุ เชื่อมต่อสำหรับใช้งานเซนเซอร์มีทง้ั หมด 3 จดุ ไดแ้ ก่
➢ ขาไฟเลี้ยง สำหรับต่อไฟเลยี้ งแรงดนั +3.3 ถึง +5 โวลต์
➢ ขา output (OUT) สำหรับต่อเขา้ กบั ขา input ของไมโครคอนโทรเลอร์
➢ ขากราวน์ สำหรบั ต่อกราวด์ 0 โวลต์

2.1.4 ในการทำสิง่ ประดษิ ฐ์น้ี จะใช้เซนเซอร์ตรวจจับความเคล่ือนไหวในการตรวจจับบุคคล
ภายในห้อง และเช่ือมต่อเซนเซอร์เขา้ กับ Kidbright board เพื่อนำไปเขียนโปรแกรมชดุ คำสง่ั
ควบคุมการเปิดปดิ ไฟและพัดลม

ภาพที่ 2.1 เซนเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหวแบบบอรด์
ทม่ี า: https://bit.ly/3cao6Hh

สืบคน้ เม่ือ 10 กรกฎาคม พ.ศ.2565

7

2.2 Kidbright board
2.2.1. บอรด์ Kidbright เป็น Arduino Platform ดงั นัน้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานใน

รูปแบบของโครงงานตา่ ง ๆ ได้เหมือนบอรด์ ไมโครคอนโทรเลอร์ที่เปน็ Arduino ทว่ั ไป ซ่ึง
สามารถสรา้ งส่งิ ประดิษฐ์ ใหร้ ะบบงานเดิมมีความรวดเรว็ และมีประสทิ ธภิ าพมากขึน้
Kidbright คอื บอรด์ สมองกลฝังตวั (Embedded Board) ขนาดเล็กที่ประกอบไปด้วย
ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 ทำหนา้ ท่ี ประมวลผล และควบคมุ ส่งั งานอปุ กรณ์ แผงวงจร Kidbright
มลี กั ษณะเปน็ แผงวงจรสี่เหล่ียม ขนาด 5x9 เซนตเิ มตร ใช้หน่วยประมวลผล ESP32
ทม่ี คี วามสามารถรองรับการเช่ือมตอ่ ดว้ ย wifi และ Bluetooth ได้ มีหนา้ จอแสดงผลชนิด Matrix LED
สีแดง ขนาด 16 x 8 จดุ มปี ุ่มกดให้เรยี กใช้งานไดส้ องปมุ่ มีลำโพงและตัวเซนเซอร์พ้ืนฐานสองตัวได้แก่
เซนเซอร์วัดอุณหภูมิ และเซนเซอรว์ ดั ความเขม้ ของแสง และมนี าฬกิ าฐานเวลาจรงิ
เปรียบเสมือนคอมพิวเตอร์พกพาสำหรับเดก็ และเปน็ บอร์ดทพี่ ัฒนาขน้ึ เพื่อกระตุ้นศักยภาพการคิดเชงิ
ระบบ และการคดิ เชิงสรา้ งสรรคใ์ นเด็กวัยเรยี นผ่านการเรียนรู้แบบ Learn and Play
บอรด์ ถูกออกแบบใหม้ ีการแสดงผลและเซนเซอร์แบบง่าย ซง่ึ จะทำงานสอดคลอ้ งกับชดุ คำส่งั ควบคุมการ
ทำงานโดยผู้เรยี นสามารถออกแบบ และสร้างชดุ คำส่งั แบบ Block-Structured Programming ผ่านแอป
พลเิ คชนั บนสมาร์ทโฟน นอกจากน้ี Kidbright ยงั สามารถเช่ือมตอ่ กับเซนเซอร์อืน่ ๆ ด้วยการต่อสัญญาณ
เขา้ ที่ขว้ั ต่อ IN1 - IN4 แลว้ ใชก้ ารเขียนโปรแกรมด้วย application kidbright

2.2.2. ในการทำสงิ่ ประดษิ ฐน์ ้ี จะนำ Kidbright board มาใช้เป็นจุดรบั คำสั่งท่ีมาจากโปรแกรม
ท่ใี ช้ในการเขียน โดยคำสงั่ ทเี่ ขียนจะเป็นการควบคุมการเปิดปิดไฟและพดั ลมตามเง่ือนไขการทำงาน

8

ภาพ 2.2 Kidbright board
ทม่ี า: https://bit.ly/36BXwUq

https://bit.ly/3LhyNnA
สืบค้นเมือ่ 17 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2565

2.3. โปรแกรม Kidbright IDE
2.3.1. การเขียนโปรแกรมเพ่ือให้บอรด์ KidBright ทำงาน สามารถทำได้ดว้ ยโปรแกรม

Kidbright IDE ซง่ึ เปน็ โปรแกรมที่ถกู พัฒนาขึ้นมา เพื่อให้ผูเ้ รยี นสามารถเขยี นโปรแกรมได้ง่ายมากขึน้
ด้วยวธิ กี ารชดุ คำสงั่ แบบ block-structured programming
ซ่ึงเป็นการเขยี นโปรแกรมโดยการลากรปู กล่องคำส่ังพน้ื ฐานมาวางตอ่ กัน (Drag and Drop)
เพ่ือทำการเชื่อมโยงคำสงั่ เหล่านนั้ ข้ึนมาเปน็ โปรแกรม จากนั้น Kidbright IDE จะทำการแปลง
(compile) โปรแกรม และส่งโปรแกรมดงั กล่าวไปยงั บอรด์ Kidbright
เพอื่ ให้ทำงานตามชุดคำสั่งท่ีเราได้ออกแบบไว้ การเรียนรู้ด้วยโปรแกรม Kidbright IDE
ท่ถี กู ออกแบบมาเพื่อใหง้ ่ายแก่การเข้าใจของเด็ก รวมไปถึงผูท้ ่ีไมม่ ีพืน้ ฐานการเขยี นโคด้ มาก่อน
รูปแบบของ Kidbright IDE จะมีคำสั่งใหเ้ ลอื กใช้ทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
คำสง่ั ตา่ งๆเป็นคำสัง่ พ้ืนฐานที่เดก็ สามารถเขา้ ใจง่ายๆ
ขน้ั ตอนการสรา้ งโปรแกรมหรือชุดคำส่งั ทำงานต่างๆ จะประกอบด้วยการออกแบบโปรแกรมหรอื ชดุ คำสัง่
ในรปู แบบ block-structured programming บน Kidbright IDE

9

ท่ีใชว้ ธิ กี ารลากชดุ คำส่ังที่ต้องการมาวางเชอ่ื มต่อ ๆ กนั จากน้ันจะเชื่อมต่อพอร์ต USB
เพื่อสง่ โปรแกรมไปใหบ้ อร์ด Kidbright ทำการประมวลผลและดำเนินการตามโปรแกรมที่เขยี น
2.3.2. คณุ สมบัตขิ องสมองกลฝงั ตวั Kidbright
-โปรแกรมสรา้ งชุดคำส่งั ดว้ ย Kidbright IDE รองรบั การใชง้ านบนคอมพวิ เตอร์ PC windows และ Mac
-รองรับการทำงานรปู แบบ event-driven Programming สามารถเขยี น โปรแกรมแบบ multitasking
programming ได้
-สามารถเชอ่ื มต่อโมดูลเซนเซอรภ์ ายนอกไดห้ ลากหลายชนิดผา่ นทางช่องส่ือสารI2C
-รองรับการเชือ่ มต่อระหวา่ งอุปกรณ์ (IoT)

2.3.3. ในการทำส่ิงประดิษฐ์น้ี จะนำโปรแกรม Kidbright IDE มาใช้ในการเขยี นคำส่ังวา่
“หากมีความเคล่ือนไหวภายในหอ้ ง Kidbright board จะจ่ายไฟให้พดั ลมและหลอดไฟทำงาน
แต่หากไมม่ ีความเคลื่อนไหวภายในหอ้ ง เปน็ เวลา 5 วินาที Kidbright board จะหยุดจ่ายไฟให้พัดลม
และหลอดไฟหยดุ การทำงาน” โดยโปรแกรมท่ีใช้เขียนคำส่ังนน้ั จะเช่ือมกับ Kidbright board ที่รบั คำสั่ง
โดยตรงทำใหม้ คี วามแมน่ ยำในการทำงาน และสะดวกต่อการเขียนโปรแกรมคำสงั่

ภาพที2่ .3. โปรแกรม Kidbright IDE
ทีม่ า: https://bit.ly/36BXwUq
สืบค้นเม่อื : 17 กุมภาพนั ธ์ 2565

10

2.4 สายไฟจัมเปอร์
2.4.1 สายจัมเปอร์ (Jumpers) คือสายที่ใชส้ ำหรับเชื่อมต่อระหวา่ ง Arduino กบั Sensor

หรือบอร์ดทดลอง โมดูลตา่ งๆ เพื่อเชอื่ มต่อกบั วงจรโดยจะแบ่งออกเปน็ 2 รปู แบบ เป็นแบบตวั เมีย
Female และ ตัวผู้ Male โดยปลายสายจะแบง่ ออกเปน็ 3 แบบ ตัวผแู้ ละอกี ดา้ นเป็นตัวผู้ ตัวเมียและอีก
ดา้ นเป็นตัวผู้ และตวั เมยี และอกี ด้านเป็นตัวเมีย

2.4.2. ในการศึกษาออกแบบระบบเปดิ ปิดไฟ – พัดลมดว้ ยเซนเซอรต์ รวจจบั ความเคล่อื นไหว
(PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF) ผู้จัดทำเลือกใชส้ ายไฟจัมเปอรแ์ บบ
Female – Female ( ตวั เมยี – ตวั เมยี ) เพ่ือเชื่อมบอร์ดกับเซนเซอร์

ที่มา:https://bit.ly/3AskpXs
สบื คน้ เมือ่ วันที่ 22 มีนาคม 2565

11

2.5 งานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวข้อง

มหุ มั มัด มนั่ ศรทั ธา ,มฆู อฟฟัล มูดอ ,อับดลุ เลาะ สะนอยานยา ,ซุลกีฟลี กะเดง็ (2560).
ศึกษาวจิ ัยเรื่อง ระบบเปิดปิดไฟอัตโนมตั ิภายในหอ้ งนำ้ โดยใชโ้ ครงข่ายเซนเซอรไ์ ร้สาย ESP8266/Node
MCU ภายในมหาวิทยาลยั นราธิวาสราชนคริทร์ สาขาวศิ วกรรมไฟฟ้า คณะวศิ วกรรมศาสตร์
ศนู ย์ราชการใหม่ เขตโคกเขือ ตำบลโคกเคยี น จงั หวดั นราธวิ าส

สถานทท่ี ีม่ กี ารใช้พลังงานอย่างสนิ้ เปลอื งไมว่ ่าจะเป็นในบ้านหรอื ทท่ี ำงาน ซ่ึงหน่งึ ในน้ันคอื หอ้ งนำ้
และผูใ้ ช้จำเปน็ ตอ้ ง เปดิ ไฟทุกคร้งั เมื่อใชง้ านหอ้ งนำ้ เม่ือผใู้ ชไ้ ด้ออกจากห้องนำ้ ปัญหาหนึ่งทไี่ ด้พบคือ
ผ้ใู ชบ้ างคนลืมปิดไฟ จากปัญหาดังกล่าว พบว่ามีการใช้พลังงานอยา่ งส้ินเปลือง
งานวิจัยนไ้ี ด้พัฒนาระบบควบคมุ แสงสว่างภายในหอ้ งน้ำอัตโนมัติ โดยใชต้ วั ตรวจจับ แบบอนิ ฟราเรด (PIR
Sensor) ตรวจจับการเคล่อื นไหว เมอ่ื เซนเซอรต์ รวจจบั การเคล่ือนไหวได้ เซนเซอร์ (PIR Sensor)
จะสง่ คา่ ตรวจจบั ไปยัง Node ESP8266/NodeMCU เปน็ ตัวประมวลผลและควบคุมให้วงจรรเี ลย์
เพ่อื เปิดและปิดหลอดไฟ ข้อมูลท้ังหมดที่มาจากเซนเซอร์ Node
จะถกู ส่งไปยงั ระบบเฝา้ ตรวจเพ่ือแสดงผลสถานะของหลอดไฟ และสถานะของเซนเซอร์ Node
แบบเวลาจริง โดยข้อมูลดังกลา่ วทแี่ สดงผลบนระบบเฝ้าตรวจสามารถตรวจสอบการทำงานความผิดพลาด
ของเซนเซอร์ Node ได้
ผลจากการทดสอบระบบและเปรยี บเทียบการใช้พลังงานภายในหอ้ งน้ำก่อนและหลงั ติดตัง้ ระบบควบคุม
อตั โนมัติ พบวา่ สามารถลดการใช้พลงั งานภายในอาคาร 6 ชั้นของคณะวศิ วกรรมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั นราธิวาสราชนครินทร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

12

อภริ กั ษ์ พนั ธุ์พณาสกุล , ฟิตรี ยะปา , และอลั นิสฟาร์ เจะดือราแม (2561). ศกึ ษาวจิ ยั เร่ือง
การพัฒนาระบบเปดิ - ปิดไฟด้วยไมโครเซนเซอร์ควบคู่กับแอพพลเิ คชนั่ บนสมาร์ทโฟน Development
of Light On-Off system with Micro Sensor with Application via Smart Phone.

ในปจั จบุ นั เทคโนโลยี Internet of Things (IoT) ไดเ้ ขา้ มามีบทบาทในชีวติ ประจำวนั ของผู้คนมากขน้ึ
การเช่ือมโยงส่งิ ต่าง ๆ เขา้ สู่อินเทอรเ์ นต็ ทำให้การควบคุมอุปกรณ์ตา่ ง ๆ เปน็ ไปอย่างมีอิสระมากข้นึ เชน่
การควบคมุ เครอื่ งใช้ไฟฟ้าต่างๆ ภายในครวั เรอื นหรือทที่ ำงานผา่ นเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต Internet of
Things (IoT) มีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกจิ ดิจิทัลเปน็ อยา่ งมาก โดยเทคโนโลยี IoT กำลังเตบิ โตอยา่ ง
ก้าวกระโดดและส่งผลกระทบตอ่ แทบทุกภาคอตุ สาหกรรม คาดการณ์ว่าจำนวนอุปกรณ์ IoT ที่ใชท้ ั่วโลก
จะสูงถงึ 60,700 ลา้ นเคร่ืองภายในปี 2567 เพิ่มขน้ึ จากปี 2561 ทม่ี ี 19,900 ล้านเคร่ือง
มกี ารเติบโตเฉล่ีย 20.35% ตอ่ ปี แสดงถึงความต้องการใชเ้ ทคโนโลยี IoT ในระดบั สูงมากในโลก
เป็นทีน่ า่ สังเกตวา่ ลกั ษณะ การเข้ามาของเทคโนโลยี IoT สำหรับผู้บริโภคหรอื ผู้ประกอบการทว่ั ไปมักจะ
อย่ใู นรปู แบบของบา้ น อัจฉรยิ ะ (Smart Home) หรือ ฟาร์มอัจฉรยิ ะ (Smart Farming)
สามารถควบคุมจากภายในบ้านหรือผา่ นไมโครเซนเซอรห์ รือผา่ นแอปพลิเคชั่นและเมื่อเชื่อมเข้ากบั ระบบ
อนิ เทอร์เนต็ ทำให้สามารถควบคมุ จากสมาร์ทโฟน แทบ็ เล็ต หรือคอมพวิ เตอรไ์ ด้จากจดุ ใดก็ตาม
ชว่ ยให้การดำรงชวี ิตมีความสะดวกสบายยิ่งขึ้น การพฒั นาระบบเปดิ – ปดิ ไฟด้วยไมโครเซนเซอร์
ควบคู่กบั แอพพลิเคชนั่ บนสมารท์ โฟน เปน็ การพฒั นาระบบด้วยเทคโนโลยี Internet of Things (IoT)
โดยใช้ไมโครคอนโทรเลอร์ NodeMCU v.2 เป็นตัวคมุ ใชเ้ ซนเซอรเ์ สยี งให้ส่งั การเปดิ ปดิ ไฟฟ้าดว้ ย
เสียงปรบมอื ใชโ้ ปรแกรม Arduino IDE สำหรับเขียนคำส่ัง โปรแกรมควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์
และใช้แอปพลิเคชัน่ Blynk บนสมาร์ทโฟน ในการคุมอุปกรณ์ผ่านทางอินเทอร์เน็ต เพ่ือตอบสนองความ
ต้องการของมนุษย์ในการท่ีจะควบคมุ การเปิด - ปดิ ไฟฟ้าในกรณี ท่ตี ้องใชเ้ วลาในการเดินมาเปิด -
ปิดไฟฟ้าท่ีสวิทชใ์ ห้ไมเ่ สียเวลาการเปดิ -ปดิ ไฟฟ้าสามารถทำได้โดยทนั ทโี ดยใช้เสยี งผา่ นไมโครเซนเซอร์
และไดส้ ร้างแอปพลิเคช่ันขน้ึ มาเพ่ือตรวจสอบสถานะของไฟฟา้ ว่าอยู่ สถานะเปิด - ปิด
สามารถควบคุมไฟฟ้าให้ทำงานอย่างมีประสิทธภิ าพและเพ่ือทีจ่ ะใหเ้ ปน็ การประหยัดพลงั งานและ
สะดวกต่อการใช้งานอกี ดว้ ย

13

ฉวีวรรณ ดวงทาแสง อสิ ระ แสนโคก ศุภชยั ฤทธิเ์ จรญิ วตั ถุ และสุภกร หาญสงู เนนิ
ภาควชิ าฟสิ กิ ส์คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, (2558). ศกึ ษาวิจัยเร่ือง
ระบบควบคุมการเปดิ - ปดิ ไฟภายในห้องแบบอัตโนมตั ิ Automatic Room Lighting Control System

งานวิจัยน้ีมวี ตั ถุประสงค์ในการนำเสนอระบบเปดิ - ปดิ ไฟภายในหอ้ ง
แบบอตั โนมัติโดยประกอบด้วย วงจรแหล่งจา่ ยไฟฟา้ กระแสตรง วงจรเซนเซอร์ตรวจจับการเคลือ่ นไหว
วงจรเซนเซอร์แสง วงจรไมโครคอนโทรลเลอร์และวงจรขับรีเลย์ ซง่ึ ระบบจะทำการตรวจวัดความเข้ม
แสงและการเคลอื่ นไหว เพ่ือนำมาประมวลผลและสรา้ งสัญญาณควบคุมการเปิด - ปิดไฟภายในหอ้ ง
เมื่อตรวจพบการเคล่ือนไหวที่ความเข้มแสงนอ้ ยกว่า 25 ลกั ซ์ จากการทดสอบติดตั้งระบบทร่ี ะดบั ความสงู
80 เซนตเิ มตรจากพื้น พบวา่ ระบบสามารถปฏบิ ตั ิการครอบคลุมพน้ื ทป่ี ระมาณ 15 ตารางเมตร ระหว่าง
มมุ กวาด 43 ถงึ 128 องศา ซึ่งในการทดสอบสามารถวัดได้อย่างถูกต้องและแมน่ ยำ ระบบดงั กล่าว
มีศักยภาพในการนำไปประยุกตใ์ ช้ในการควบคุมการเปิด – ปดิ ไฟได้จรงิ ท้งั ภายในและภายนอกอาคาร
ตลอดจนสามารถพฒั นาต่อยอดเพื่อประยุกต์ใชใ้ นการบรหิ ารจดั การด้านพลังงานไดเ้ ปน็ อย่างดี

14

ธดิ ารัตน์ ศรรี ะสันต,์ อภิรกั ษ์ พันธพุ์ ณาสกลุ ,ภวู นาท จนั ทร์ขาว และกนกรตั น์ จันทร์มโณ
(2561). ศึกษาวิจยั เร่อื ง การพฒั นาระบบควบคุม เปดิ - ปิด ไฟฟ้าและเครอ่ื งปรบั อากาศผ่านสมารท์ โฟน

การพัฒนาระบบควบคุมเปดิ -ปดิ ไฟฟ้าและเครื่องปรับอากาศผา่ นสมารท์ โฟน มวี ัตถุประสงค์เพ่ือ
สร้างและพัฒนาระบบควบคุมการเปิด-ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าและเคร่ืองปรับอากาศผ่านสมาร์ทโฟน โดยศกึ ษา
การทำงานชุดควบคุมการเปิด – ปิดเคร่อื งใช้ไฟฟ้า และศึกษาลกั ษณะการทำงานของบอร์ด
ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino เพอื่ ประยกุ ต์ใช้ในการควบคุมการทำงานของระบบเปดิ - ปิด
เครือ่ งใช้ไฟฟ้าและเครื่องปรบั อากาศผา่ นสมารท์ โฟน และควบคมุ ระบบการเปิด - ปดิ เคร่ืองใช้ไฟฟ้า
ผ่านสมารท์ โฟน โดยมขี ้ันตอนในการทำระบบควบคุมเปดิ - ปดิ ไฟฟา้ และเคร่ืองปรับอากาศผา่ นสมาร์ท
โฟน ใช้ความรู้ ทฤษฎีการสรา้ งและออกแบบแผงวงจรบอร์ดไมโครคอนโทรล Arduino
และได้มกี ารนำแอปพลิเคช่ัน Blynk มาใชใ้ นการเซ็ตค่าเพอ่ื ควบคมุ ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino
มกี ารนำเทคนคิ ต่าง ๆ มาใช้ควบคู่กันเพ่ือให้เกดิ ความแม่นยำในการควบคุมระบบผา่ นสมาร์ทโฟนและทำ
ให้ Admin สะดวกในการเรยี กดหู รอื เปดิ ใหใ้ ชง้ านไดง้ ่ายขน้ึ โดยสามารถตรวจสอบการเข้าใชง้ านและการ
เรยี กดรู ายงานในแต่ละวันและย้อนหลังได้ โดยการตรวจสอบผ่านแอปพลิเคช่ัน Blynk การประเมิน
คุณภาพของระบบควบคมุ เปิด - ปิดไฟฟ้าและเครอื่ งปรับอากาศผ่านสมาร์ทโฟน มีการประเมนิ 2 แบบ
คือการประเมนิ ประสทิ ธภิ าพของระบบโดยผเู้ ชี่ยวชาญ และประเมนิ ความพงึ พอใจของผูใ้ ชง้ าน.
ผลการประเมินโดยผ้ใู ชง้ านท่ีเกี่ยวข้องพบว่า ประสิทธิภาพของระบบที่ได้พัฒนาอยู่ในระดับท่ีดี

( =4.05) ส่วนผลการประเมินความพึงพอใจต่อการใชง้ านเคร่ืองมือ
โดยผู้ใช้งานพบว่าผู้ใช้งานมีความ พึงพอใจต่อเคร่ืองมือที่พัฒนาขึ้นโดยรวมอยูใ่ นระดบั ดี ( =4.15).

15

บทท่ี 3
วธิ ดี ำเนินการ
การศึกษาวิจยั เรอ่ื ง ประดิษฐร์ ะบบเปดิ ปิดไฟ – พัดลมด้วยเซนเซอร์ตรวจจับความเคล่ือนไหว (PIR
SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)
คณะผู้จัดทำได้แบง่ การทดลองออกเป็น 2 ตอนดังน้ี
ตอนที่ 1 ออกแบบการประดิษฐแ์ ละประดิษฐ์ระบบเปิดปิดไฟ – พดั ลมดว้ ยเซนเซอรต์ รวจจับ
ความเคล่ือนไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)
ตอนที่ 2 ศึกษาประสิทธิภาพของระบบเปิดปดิ ไฟ – พัดลมดว้ ยเซนเซอร์ตรวจจบั ความ
เคล่ือนไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)
การทดลองตอนท่ี 1 ออกแบบการประดิษฐ์ระบบเปิดปดิ ไฟ – พัดลมดว้ ยเซนเซอรต์ รวจจบั ความ
เคลอื่ นไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)

จดุ ประสงค์ เพ่ือศึกษาวิธีการออกแบบและประดิษฐ์ระบบเปิดปดิ ไฟ – พัดลมดว้ ยเซนเซอร์
ตรวจจับความเคลือ่ นไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)

16

3.1 วัสดุอุปกรณ์

3.1.1 วัสดอุ ปุ กรณ์และเคร่ืองมอื ประดิษฐ์ ระบบเปิดปดิ ไฟ – พัดลมดว้ ยเซนเซอร์ตรวจจับความ
เคล่ือนไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)

1.เซนเซอร์ตรวจจับความเคล่อื นไหวแบบบอรด์ 1 ช้ิน

2. Kidbright board 1 ชุด

3. สายไฟจมั เปอร์แบบ Female - Female 3 สาย

4. คอมพิวเตอร์ 1 เครอ่ื ง

5. USB Hub 1 เสน้

6. หลอดไฟ USB 1 หลอด

7. พัดลม USB 1 ตวั

3.1.2 วสั ดอุ ุปกรณแ์ ละเครื่องมอื ประดิษฐ์หอ้ งจำลอง จำนวน 6 แผน่
จำนวน 1 ขวด
1. อะคริลิกใส จำนวน 1 ปื้น
2. กาวประสานอะครลิ ิก จำนวน 2 แผ่น
3. เล่อื ยฉลุ จำนวน 3 แผน่
4. กระดาษชานออ้ ย จำนวน 1 หลอด
5. กระดาษทราย
6. กาวรอ้ น

17

3.2 ขั้นตอนการประดษิ ฐห์ ้องจำลอง
3.2.1 เตรียมอะครลิ ิกใสทม่ี ีความหนา 0.2 cm กว้าง 12 inch ยาว 12 inch จำนวน 6 แผน่

แบ่งออกมา 5 แผ่น เก็บไว้ 1 แผ่น

3.2.2 นำแผ่นอะครลิ ิกมาประกอบเป็นห้องสเี่ หลีย่ มโดยใชก้ าวประสานอะครลิ ิกเชื่อมเข้าดว้ ยกนั
จะได้ดังภาพ

18

3.2.3 ใชห้ วั แรง้ บัดกรีเจาะรูเปน็ ทรงสี่เหลยี่ มผืนผา้ เพ่ือเป็นทางเช่ือมสำหรบั ลอดสาย USB
ทเี่ ชอื่ มกับ Kidbright board เพอ่ื เชื่อมกับพาวเวอรแ์ บงค์ท่ีอยู่ภายนอกห้องจำลอง จะได้ดังภาพ

3.2.4 นำแผ่นอะครลิ ิกใสที่ถูกแบง่ เหลือไว้ 1 แผ่น ตัดแบง่ ครงึ่ เพ่อื ตดิ เป็นฐานรอง Kidbright
board ที่เชอ่ื มกับเซนเซอร์ตรวจจับความเคลอื่ นไหวแบบบอร์ดและสาย USB hub ทเี่ ชื่อมกับหลอดไฟ
USB และ พดั ลม USB

19

3.2.5 นำกระดาษสีแปะรอบหอ้ งจำลองใหท้ ึบ เพื่อป้องกันการตรวจจับความเคลื่อนไหวด้านนอก
ของเซนเซอร์

3.3 ข้ันตอนเตรียมอุปกรณ์และประดิษฐ์ระบบเปิดปดิ ไฟ – พัดลมด้วยเซนเซอร์ตรวจจับความ
เคลื่อนไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)

3.3.1 การเตรียมเครื่องมือและวัสดุอปุ กรณ์
1) เตรยี มเซนเซอร์ตรวจจับความเคลอื่ นไหวแบบบอร์ด 1 ชนิ้
2) เตรยี ม Kidbright board และสาย USB เพื่อเชื่อม Kidbright board
เขา้ กับคอมพิวเตอร์ทจี่ ะใชเ้ ขียนคำส่งั ควบคุมการจ่ายกระแสไฟฟา้ ดว้ ยโปรแกรม
Kidbright IDE
3) เตรียมสายไฟจัมเปอร์แบบ Female - Female 3 เส้น สำหรบั เช่ือมเซนเซอร์ตรวจจับ
ความเคลือ่ นไหวแบบบอรด์ กับ Kidbright board
4) เตรียมคอมพิวเตอร์สำหรบั ใช้เขียนโปรแกรม Kidbright IDE และสาย USB เพ่ือเชอื่ ม
Kidbright Board กบั คอมพิวเตอร์
5) เตรียมพัดลม USB 1 ตวั
6) เตรียมหลอดไฟ USB 1 หลอด
7) เตรยี มสาย USB hub 1 เสน้ สำหรบั ตอ่ พัดลม USB และ หลอดไฟ USB เข้ากับ
Kidbright board

20

3.3.2 การเขียนคำส่งั ระบบเปดิ ปดิ ไฟ – พดั ลมดว้ ยเซนเซอร์ตรวจจบั ความเคล่ือนไหว (PIR
SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)

1) ดาวนโ์ หลดโปรแกรม Kidbright IDE ลงในเคร่ืองคอมพวิ เตอร์
2) เชื่อมต่อเซนเซอร์ตรวจจบั การเคล่ือนไหวเข้ากบั Kidbright board ด้วยสายไฟจัมเปอร์

3 เส้นในชอ่ งกราวด์ (GND) ช่อง input 3 (IN3) และช่องเสียบสาย VCC 5V
3) ใชส้ าย USB ในการเชื่อม Kidbright board เขา้ กับคอมพวิ เตอรเ์ พ่ือเขียนคำสงั่
4) เชอ่ื มสาย USB hub ทช่ี ่องเสียบสาย USB ของ Kidbright board
5) เชอ่ื มตอ่ พัดลม USB กบั หลอดไฟ USB ทช่ี อ่ งเสยี บสาย USB hub
6) เขียนคำสง่ั ลง Kidbright board ดว้ ยโปรแกรม Kidbright IDE
7) คลิกป่มุ Program build เพือ่ อัปโหลดคำส่ังลง Kidbright board

การทดลองตอนท่ี 2 การศกึ ษาประสทิ ธภิ าพการทำงานของ ระบบเปิดปดิ ไฟ – พัดลมด้วย
เซนเซอร์ตรวจจบั ความเคล่ือนไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)

21

3.4 จดุ ประสงค์

เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพการทำงานของ ระบบเปิดปดิ ไฟ – พัดลมด้วยเซนเซอร์ตรวจจับความ
เคล่ือนไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF) และประเมินความสะดวกสบายของผู้ใช้

3.5 วัสดุอปุ กรณ์ที่ใช้ในการทดสอบประสิทธภิ าพ
3.5. ระบบเปิดปิดไฟ – พัดลมดว้ ยเซนเซอรต์ รวจจบั ความเคล่ือนไหว (PIR SENSOR
AUTOMATIC ON/OFF)
3.5.2 พาวเวอร์แบงค์ (แหลง่ จ่ายไฟ)
3.5.3 พดั ลม USB
3.5.4 หลอดไฟ USB
3.5.5 สาย USB hub

3.6 วิธกี ารทดลอง
3.6.1 นำระบบเปดิ ปิดไฟ – พัดลมด้วยเซนเซอร์ตรวจจับความเคล่ือนไหว (PIR
SENSOR AUTOMATIC ON/OFF) เขา้ มาติดตัง้ ในหอ้ งจำลอง
1) นำ Kidbright board ที่เช่ือมต่อกับเซนเซอร์ตรวจจับความเคล่อื นไหวแบบบอรด์
และเชอื่ มกบั สาย USB hub ท่ีเชือ่ มพัดลม USB กับ หลอดไฟ USB
เรยี บรอ้ ยแล้ววางบนแผน่ อะครลิ ิกใสที่เปน็ ฐานรองภายในห้องจำลอง
2) จัดสาย USB hub ใหน้ อนลงไปกับฐานวางและปรบั กา้ น USB
ของพดั ลมและหลอดไฟให้เหมาะสม
3) นำเซนเซอร์มาติดที่ผนังฝ่งั ตรงขา้ มกบั ประตูเพ่ือใหง้ ่ายต่อการตรวจจับความ
เคล่อื นไหว
3.6.2 ทดสอบประสิทธภิ าพระบบเปดิ ปดิ ไฟ – พัดลมด้วยเซนเซอร์ตรวจจบั ความ
เคลือ่ นไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)
1) ย่ืนมือเข้าไปภายในห้องจำลองผ่านชอ่ งประตู เพื่อใหม้ ีวัตถุอย่ภู ายในห้อง

22

2) เซนเซอร์ตรวจจับความเคล่อื นไหวแบบบอรด์ จะตรวจจับความเคลื่อนไหวซึ่งคือ
มอื ที่ยนื่ เข้ามาในหอ้ งจำลอง และส่งสญั ญาณไปยัง Kidbright board
3) ไฟ USB และพดั ลม USB จะทำงานตามคำสงั่
4) นำมือออกจากหอ้ งจำลอง เพอ่ื ใหไ้ ม่มีความเคลอื่ นไหวภายในหอ้ งจำลอง
5) เซนเซอร์ตรวจจับความเคลอื่ นไหวแบบบอร์ดจะไม่พบความเคล่อื นไหว
ภายในห้องจำลอง และส่งสญั ญาณไปยัง Kidbright board อีกครั้ง
6) เมอ่ื ไม่มีวตั ถุภายในหอ้ งจำลอง 5 วินาที Kidbright board จะส่ังการใหพ้ ดั ลม USB
และหลอดไฟ USB หยุดทำงานตามคำสัง่

3.7 การประเมนิ ความพึงพอใจของผ้ใู ชง้ านระบบ
แบบประเมินความพึงพอใจและประเมนิ ปัญหาของผ้ใู ช้งานระบบเปิดปิดไฟ – พดั ลมด้วย

เซนเซอร์ตรวจจบั ความเคลอื่ นไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)

ตวั อย่างแบบฟอรม์ การประเมิน : https://forms.gle/UiGCuC1czQeEq26d8

23

บทที่ 4

ผลการทดลอง
การศึกษาวิจยั เรอื่ ง ระบบเปิดปิดไฟ – พัดลมดว้ ยเซนเซอร์ตรวจจบั ความเคลื่อนไหว (PIR
SENSOR AUTOMATIC ON/OFF) คณะผูว้ ิจัยไดน้ ำเสนอผลการทดลองออกเป็น 2 ตอนดังนี้

4.1 การศกึ ษาการประดิษฐ์ระบบเปิดปดิ ไฟ – พดั ลมด้วยเซนเซอร์ตรวจจบั ความเคล่อื นไหว
(PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)
4.2 การศกึ ษาประสิทธิภาพการทำงานของระบบเปิดปิดไฟ – พัดลมด้วยเซนเซอร์ตรวจจับ
ความเคลือ่ นไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)

ผลการทดลองตอนท่ี 1 การศกึ ษาการประดิษฐ์ระบบเปิดปดิ ไฟ – พดั ลมด้วยเซนเซอร์ตรวจจบั ความ
เคล่ือนไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)

สง่ิ ประดิษฐ์ออกมามีลกั ษณะเปน็ ห้องจำลองกล่องส่เี หล่ยี มทที่ ำมาจากแผ่นอะคริลิก
มาประกอบกัน ภายในห้องมี Kidbright board ท่ีเชือ่ มตอ่ กบั เซนเซอรต์ รวจจับความเคล่ือนไหวแบบ
บอรด์ และสาย USB hub ทเี่ ชอ่ื มกับพัดลม USB และหลอดไฟ USB วางอยูบ่ นฐานวางที่ตดิ อยู่
กับผนงั หอ้ งจำลอง โดยจัดวางสาย USB hub ใหน้ อนลงไปกับฐานวางภายในห้องจำลอง และนำเซนเซอร์
ตรวจจับความเคล่ือนไหวตดิ อยู่กับผนงั หอ้ งจำลองตรงขา้ มกับประตู

24

ผลการทดลองตอนท่ี 2 การศกึ ษาประสทิ ธิภาพการทำงานของ ระบบเปดิ ปิดไฟ – พดั ลมดว้ ยเซนเซอร์
ตรวจจบั ความเคลื่อนไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)

ตารางท่ี 1 แสดงการทดลองประสทิ ธิภาพการทำงานของ ระบบเปิดปิดไฟ – พัดลมด้วยเซนเซอรต์ รวจจบั
ความเคลอื่ นไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)

การทดสอบระบบเปดิ ปิดไฟ – พัดลมดว้ ยเซนเซอร์ตรวจจับ ผลการทดลอง

PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF (ระบบทำงานได/้ ระบบไมส่ ามารถทำงานได้)

ไมม่ ีความเคลื่อนไหว ไม่ทำงาน

มคี วามเคลื่อนไหว ทำงาน

25

บทท่ี 5
สรปุ และอภปิ รายผลการทดลอง

การศึกษาวิจยั เรื่อง ระบบเปิดปดิ ไฟ – พดั ลมด้วยเซนเซอรต์ รวจจบั ความเคลอ่ื นไหว (PIR SENSOR
AUTOMATIC ON/OFF)
คณะผ้จู ดั ทำได้สรุปผลการทดลองออกเป็น 2 ตอนดงั นี้

ตอนที่ 1 ศึกษาการออกแบบและสร้างระบบเปดิ ปดิ ไฟ – พัดลมด้วยเซนเซอร์ตรวจจบั ความเคลอ่ื นไหว
(PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF)
พบวา่ สิ่งประดษิ ฐ์มลี ักษณะเปน็ หอ้ งจำลองทำจากแผน่ อะครลิ ิกใส ภายในมีระบบเปดิ ปิดไฟ – พัดลมดว้ ย
เซนเซอร์ตรวจจับความเคล่อื นไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF) ตดิ ต้งั อยู่บนแทน่ วาง และมี
หลอดไฟ USB พดั ลม USB ซ่ึงเชอื่ มกับระบบเปดิ ปิดไฟ – พัดลมด้วยเซนเซอรต์ รวจจับความเคล่อื นไหว
(PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF) ผา่ นสาย USB hub

ตอนที่ 2 การศึกษาประสิทธภิ าพการทำงานของระบบเปดิ ปิดไฟ – พัดลมด้วยเซนเซอร์ตรวจจับความ
เคลือ่ นไหว PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF

ปรากฏว่า เมอื่ ไม่มีความเคลื่อนไหวภายในหอ้ งจำลอง ระบบเปดิ ปดิ ไฟ – พดั ลมดว้ ยเซนเซอร์
ตรวจจบั ความเคลือ่ นไหว (PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF) จะไมท่ ำงานสง่ ผลใหไ้ ฟและพัดลมไม่
ตดิ แตเ่ มอ่ื เกดิ ความเคลื่อนไหวภายในห้อง ระบบจะส่งผลใหไ้ ฟและพัดลมทำงาน

อภปิ รายผลการทดลอง การศึกษาการประดิษฐ์ PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF
1. พบว่า สงิ่ ประดิษฐ์มลี ักษณะเปน็ ห้องทำจากแผน่ อะครลิ ิกใสและถกู แปะทับด้วยกระดาษสี
ภายนอก ภายในห้องมรี ะบบ PIR SENSOR AUTOMATEC ON/OFF ซึ่งประกอบดว้ ย
Kidbright board ทเ่ี ชือ่ มต่อกบั เซนเซอร์ตรวจจบั ความเคล่อื นไหวแบบบอรด์ และ Kidbright
board ยังเช่อื มกับ USB hub ผ่านชอ่ ง USB ของบอร์ด เพ่ือเสียบพดั ลม USB และไฟ USB
ประโยชนจ์ ากสงิ่ ประดิษฐน์ ีค้ ือ ชว่ ยประหยัดพลงั งานไฟฟ้า
2. การศกึ ษาประสิทธิภาพของเซนเซอร์ตรวจจับความเคลือ่ นไหวแบบบอร์ด
จากการทำงานของเซนเซอร์ พบว่า ปัจจัยทท่ี ำให้ระบบทำงานคอื ความเคล่ือนไหวภายในหอ้ ง
จำลอง กลา่ วคือเม่ือมคี วามเคล่อื นไหวภายในหอ้ งจำลองจะส่งผลใหไ้ ฟและพัดลมทำงาน

26

ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั

1. ได้ศึกษาวธิ กี ารเขยี นคำสัง่ ดว้ ยโปรแกรม Kidbright IDE
2. ได้รู้จกั การใช้งาน Kidbright board
3. ได้ศึกษาวธิ กี ารประดษิ ฐ์ระบบเปดิ ปดิ ไฟ – พดั ลมด้วยเซนเซอร์ตรวจจบั ความเคล่อื นไหว

PIR SENSOR AUTOMATIC ON/OFF
4. สามารถนำไปประยุกตใ์ ชส้ ำหรับสถานทต่ี า่ ง ๆ เพ่อื สะดวกสบายตอ่ การเปิดปิดไฟในห้อง
5. ได้แนวทางในการประหยัดพลังงานไฟฟ้า

ข้อเสนอแนะ
1. การเพิ่มเซนเซอร์ทม่ี ีคณุ สมบัติหลากหลายข้ึนเพ่ือเพิ่มประสทิ ธิภาพการทำงานของระบบ
2. ประยุกต์ระบบเปิดปิดไฟเขา้ กับสมารต์ โฟนด้วยแอพพลิเคชั่น blynk

27

บรรณานกุ รม

https://bit.ly/36BXwUq เขา้ ถึงข้อมลู นี้ เม่อื 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565
https://bit.ly/3LhyNnA เข้าถึงข้อมลู นี้ เมื่อ 17 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2565
https://bit.ly/36BXwUq เขา้ ถงึ ข้อมลู น้ี เมอ่ื 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565
https://bit.ly/3vEs5Uf เขา้ ถงึ ขอ้ มูลน้ี เมือ่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565
https://bit.ly/3DkEBKa เข้าถงึ ขอ้ มูลน้ี เมื่อ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565
https://bit.ly/3wOt9Ft เขา้ ถึงขอ้ มลู นี้ เมอื่ 19 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2565
https://bit.ly/3AskpXs เขา้ ถงึ ขอ้ มูลน้ี เมื่อ 22 มีนาคม พ.ศ.2565
https://bit.ly/3wvJD59 เขา้ ถึงข้อมลู นี้ เมอ่ื 22 มีนาคม พ.ศ.2565
https://bit.ly/3KnAAYa เขา้ ถึงข้อมลู นี้ เมื่อ 22 มีนาคม พ.ศ.2565
https://bit.ly/3Cav7kh เข้าถึงข้อมูลน้ี เมื่อ 22 มีนาคม พ.ศ.2565
https://bit.ly/35uCnvh เขา้ ถึงข้อมูลนี้ เมอ่ื 22 มีนาคม พ.ศ.2565
https://bit.ly/35SXvve เขา้ ถงึ ข้อมูลนี้ เมื่อ 22 มีนาคม พ.ศ.2565
https://bit.ly/3cao6Hh เข้าถงึ ข้อมลู นี้ เมื่อ 10 กรกฎาคม พ.ศ.2565

28

ภาคผนวก
ภาพกิจกรรมการดำเนินการวิจยั

29

30

31

ประวตั ิผู้วิจัย 32

ช่ือ เด็กหญิงณฏั ฐณิชชา คณุ วฒุ ิ
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2/1
โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลยั นครปฐม
(พระตาหนกั สวนกหุ ลาบมธั ยม)
ท่อี ยู่ 103/307 หมู่ 6 ถนนกาญจนาภเิ ษก ตาบลบางรกั
พฒั นา อาเภอบางบวั ทอง นนทบรุ ี 11110
เบอรโ์ ทรศพั ท์ 092-752-9595

ชอ่ื เด็กหญิงพรนภา พันธ์วรศิ
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2/1
โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม
(พระตำหนกั สวนกุหลาบมัธยม)
ทอี่ ยู่ 284/33 ถนนสุคนธวิท ตำบลตลาดกระทมุ่ แบน
อำเภอกระทุ่มแบน จังหวดั สมุทรสาคร 74100
เบอรโ์ ทรศัพท์ 064-006-5875

ชอ่ื เด็กหญงิ อรญิ ชยญ์ า สงา่ แสง
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 2/1
โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั นครปฐม
(พระตำหนกั สวนกุหลาบมธั ยม)
ทีอ่ ยู่ 386 สวัสดกิ าร 1แยก 4 แขวงหนองแขมเขตหนองแขม
กรุงเทพมหานคร 10160
เบอร์โทรศัพท์ 094-396-2001


Click to View FlipBook Version