1
2
คำนำ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease
2019 (COVID-19) สําหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง และมีโอกาสขยายวงกว้างข้ึน
เร่ือย ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงแนวโน้มที่จะเกิดการแพร่ระบาดในสถานศึกษา ดังน้ันการสร้างความตระหนักรู้เท่าทัน
และเตรียมความพร้อมในการรับมือกับการระบาดของโรคอย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีความจําเป็นอย่างยิ่งเพ่ือลดความ
เส่ียงและป้องกันไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพนักเรียน ครูผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษา อันเป็นทรัพยากร
ที่สําคัญสําหรับโรงเรียนสารสาสน์วิเทศท่ามะกา ในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 เพื่อเป็นแนวทางใน
ปฏิบตั ิในการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 อย่างต่อเนื่องโดยเน้นความสอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา
และ เอื้ออํานวยให้เกิดการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้นักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษาสามารถ
ดํารงชีวิตอยู่ได้อย่างปลอดภัย โดยมีสาระสําคัญประกอบด้วยองค์ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับโรคโควิด 19 แนวปฏิบัติ
สําหรับบุคลากรในสถานศึกษา ได้แก่ ผู้บริหาร ครู ผู้ดูแลนักเรียน นักเรียนผู้ปกครอง ผู้ปฏิบัติงานทําความสะอาด
การจัดการดานอนามัยส่ิงแวดลอมบริเวณต่าง ๆ ของสถานศึกษา มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
และสื่อความรอบรู้ด้าน สุขภาพนักเรียนตลอดจนขั้นตอนการดําเนินงานคัดกรอง และส่งต่อแบบประเมินตนเอง
สําหรับสถานศึกษา แบบประเมินตนเองสําหรับนักเรียน แบบบันทึกการตรวจคัดกรองสุขภาพสําหรับนักเรียน
เป็นต้น
คณะผู้จัดทํา มุ่งหวงั ให้ “คมู่ ือการปฏิบัติในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 ฉบบั นเ้ี ป็นประโยชน์
ตอ่ ทุกทา่ นเพอื่ ปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของของโรคโควิด 19
โรงเรียนสำรสำสน์วิเทศท่ำมะกำ
สำรบัญ 3
เรื่อง หนา้
นโยบำยกำรเรม่ิ เปิดโรงเรยี น (Reopening) 1
กำรเตรียมกอ่ นเปิดภำคเรียน (Preparations before re-opening) 1
แนวปฏบิ ัตริ ะหวำ่ งเปดิ ภำคเรยี น 5
(Public health and social guidelines in schools)
กำรเตรียมตวั กอ่ นเปิดภำคเรยี น 9
9
ดำ้ นกำรจัดเตรยี มบุคลำกร
ด้ำนสถำนที่และบุคลำกร 10
ด้ำนกำรจดั หอ้ งเรียน 11
ด้ำนกำรประชำสมั พนั ธค์ วำมรู้ 11
ดำ้ นกำรคัดกรอง 12
มำตรกำรวันเปดิ เรียน 12
ดำ้ นสขุ อนำมยั ส่ิงแวดลอ้ ม และสงั คม 13
ยำนพำหนะและรถรบั -สง่ นกั เรยี น 13
ด้ำนดแู ลรำ้ นอำหำร กำรจำหน่ำยอำหำร โรงอำหำร 14
กำรนอนของนักเรยี นปฐมวยั 14
กำรมำรับนกั เรียนกลบั บำ้ น 14
ด้ำนกำรเงิน 15
ดำ้ นอ่นื ๆ 16
ภำคผนวก
1
แนวปฏบิ ัตสิ ำหรับสถำนศึกษำ
ในกำรป้องกันกำรแพรร่ ะบำดของโรคโควิด 19 โรงเรยี นสำรสำสนว์ เิ ทศทำ่ มะกำ
1. นโยบำยกำรเรม่ิ เปิดโรงเรียน (Reopening)
ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายช่วง COVID-19 “โรงเรียนหยุดได้ แต่การเรียนรู้หยุดไม่ได้ ”
เปดิ ภาคเรียน 1 ปีการศกึ ษา 2564 แนวทางการจัดการเรียน แบ่งเป็น 4 ระยะ
ระยะท่ี 1 การเตรียมความพร้อม (19 เมษายน –7 พฤษภาคม 2564) สํารวจความพร้อมด้านอุปกรณ์
การเข้าถงึ อินเทอร์เนต็ ของนกั เรียน ผปู้ กครอง ครู และระบบการบรหิ ารจัดการการเรียนการสอน
ระยะท่ี 2 การทดลองจัดการเรียนการสอนออนไลน์ (10 พฤษภาคม – 31 พฤษภาคม 2564) ทดลอง
จัดการเรียนการสอนระบบออนไลน์ด้วยเครื่องมือการเรียนรู้ ตามความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา
คลปิ การสอน ใบงาน และแบบฝึกหดั
ระยะที่ 3 การจดั การเรยี นการสอน (1 มิถุนายน 2564 – 30 มีนาคม 2565)
สถานการณ์ที่ 1 กรณีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ยังไม่คลี่คลาย จัดการเรียนการสอน
ด้วยระบบออนไลน์
สถานการณ์ท่ี 2 กรณีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 คล่ีคลาย กําหนดเปิดภาคเรียน 1
มิถุนายน 2564 จัดการเรียนการสอนปกติในโรงเรยี น โดยให้เวน้ ระยะห่างทางสงั คม (Social Distancing) และมีแผน
เตรียมการเพอ่ื รองรบั สถานการณฉ์ ุกเฉนิ ต่าง ๆ
ระยะท่ี 4 การทดสอบและการศกึ ษาต่อ (1 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2565) เป็นรับสมคั รนกั เรียนใหม่
(ท่มี า: สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร)
2. กำรเตรยี มกอ่ นเปิดภำคเรยี น (Preparations before re-opening)
มิติท่ี 1 ควำมปลอดภยั จำกำรลดกำรแพร่เช้ือโรค
มำตรกำรควบคุมหลัก
1. มีมาตรการคดั กรองวดั ไข้อาการเสย่ี ง และประวตั เิ สยี่ ง
2. ใหน้ กั เรยี น บคุ ลากร และผเู้ ข้ามาในสถานศกึ ษาทกุ คนตอ้ งสวมหนา้ กากผา้
3. มีจุดบริการล้างมือด้วยสบแู่ ละนาํ้ หรือเจลแอลกอฮอล์ อย่างเพยี งพอ
4. จัดเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคล อยา่ งนอ้ ย 1 - 2 เมตร
5. เปิดประตู หนา้ ต่างใหอ้ ากาศถา่ ยเท ทําความสะอาดหอ้ งเรียน และบริเวณต่าง ๆ
6. พจิ ารณาควบคมุ จํานวนนกั เรยี น ลดแออดั เหลอื่ มเวลาหรอื ลดเวลาทาํ กจิ กรรมให้สั้นลงเทา่ ท่ีจาํ เป็น
2
มำตรกำรเสริม
1. ทาํ ความสะอาดพ้ืนท่ที ่นี กั เรียนใชร้ ว่ มกัน กอ่ นและหลังใชง้ านทกุ คร้งั
2. จัดใหม้ พี ้ืนที่การทาํ กจิ กรรม เว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร
3. ให้นกั เรียนใชข้ องใช้สว่ นตวั
4. จดั ให้มีห้องพยาบาลสําหรบั แยกผู้มีอาการปว่ ยระบบทางเดนิ หายใจ
5. จัดให้มีการสื่อสารความรู้การป้องกันโรคโควิด-19 การล้างมือ การสวมหน้ากากการทําความ
สะอาดแก่ทุกคนในสถานศกึ ษา
6. มมี าตรการสาํ หรับกรณมี รี ถรับ – สง่ นักเรียน
มิติที่ 2 กำรเรยี นรู้
มำตรกำรควบคุมหลัก
1. จดั หาสื่อความรูป้ ้องกนั ควบคุมโรคโควิด-19 สาํ หรบั ใชใ้ นการเรยี นการสอน
2. เตรียมความพร้อมด้านการเรียนรู้ของเด็กตามวัยและสอดคล้องกับพัฒนาการด้านสังคมอารมณ์
และสตปิ ัญญา
3. สรา้ งความเข้มแขง็ ของระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น
มำตรกำรเสรมิ
1. กรณีเด็กเลก็ ไม่ใหใ้ ช้สอื่ การเรยี นการสอนแบบออนไลน์ โดยขาดปฏสิ ัมพันธก์ บั ผสู้ อน ครู ผปู้ กครอง
2. ไมป่ ลอ่ ยให้เด็กและวัยรุ่นอยู่กับส่ือออนไลน์ (ท่ไี มใ่ ชส่ อ่ื การเรยี นการสอน) นานเกินไป ตามระยะเวลาที่
กําหนด
3. ส่งเสริมให้ครแู ละนักเรยี นประเมนิ ตนเองในการเตรยี มความพรอ้ มก่อนเปิดภาคเรียน
4. สนับสนุนให้นักเรยี นใชส้ ่ือรอบรดู้ ้านสุขภาพในรูปแบบและผ่านชอ่ งทางหลากหลายที่สามารถเข้าถึงได้
มิติท่ี 3 กำรครอบคลมุ ถึงเด็กดอ้ ยโอกำสได้แก่ 1) เดก็ พเิ ศษ 2) เดก็ พน้ื ท่ีเฉพำะหำ่ งไกลมำก
มำตรกำรควบคุมหลัก
1. จัดหาอุปกรณ์การป้องกันตนเองและและอุปกรณ์ล้างมือ เช่น สบู่ เจลแอลกอฮอล์ หน้ากากผ้า
หรอื หน้ากากอนามยั ใหเ้ พียงพอ
2. มีการปรบั รูปแบบการเรยี นการสอนให้สอดคล้องกบั บริบทการเข้าถึงการเรียนรู้ของนักเรียน
3. มีมาตรการสง่ เสรมิ ให้นกั เรียนได้รับบริการสุขภาพขั้นพนื้ ฐานอยา่ งทว่ั ถึง
4. มีมาตรการการทําความสะอาดและจดั สภาพแวดล้อมของที่พักและเรือนนอนให้ถูกสขุ ลักษณะ
5. มีมาตรการการทําความสะอาดและจัดสภาพแวดล้อมให้สอดคล้องกับข้อบัญญัติการปฏิบัติด้าน
ศาสนกจิ
6. มีมาตรการดูแลนักเรียนท่ีมีความบกพร่องด้านพัฒนาการ การเรียนรู้ หรือด้านพฤติกรรมอารมณ์
มำตรกำรเสรมิ
1. ประสานและแสวงหาการสนบั สนุนวสั ดอุ ปุ กรณก์ ารปอ้ งโรคโควิด-19
2. ประสานการดําเนินงานตามแนวทางพัฒนากิจกรรมผู้เรียนของกระทรวงศึกษาธิการ กรณีมีข้อจํากัด
ดา้ นเทคโนโลยที างการศกึ ษา
3
3. ใช้สื่อสร้างความเข้าใจเรอื่ งโรคโควดิ -19 และแนวทางการดูแลตัวเอง โดยคํานึงถึงข้อจํากัดทางภาษา
และสังคมกลมุ่ นกั เรยี นพิการเรียนรว่ ม
มติ ิที่ 4 สวสั ดภิ ำพ และกำรคมุ้ ครอง
มำตรกำรควบคมุ หลกั
1. จัดเตรียมแผนรองรับด้านการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนป่วย กักตัวหรือกรณีปิดสถานศึกษา
ชั่วคราว
2. จัดเตรยี มแนวปฏบิ ตั เิ พอ่ื ลดการรงั เกยี จและการตีตราทางสังคม (Social stigma)
3. จัดเตรียมแนวปฏบิ ตั ิด้านการจัดการความเครยี ดของครแู ละบคุ ลากร
4. ตรวจสอบประวัติเส่ยี งของบุคลากรและนกั เรยี น และการกักตวั
5. กําหนดแนวทางปฏิบัติตามระเบียบสําหรับบุคลากรและนักเรียนท่ีสงสัยติดเช้ือหรือป่วยด้วยโรค
โควดิ -19 โดยไมถ่ อื เปน็ วนั ลาหรือวันหยุดเรยี น
มำตรกำรเสรมิ
1. สื่อสารทําความเข้าใจกับบุคคลทุกฝ่ายในเรื่องมาตรการป้องกัน การตีตราทางสังคม
(social stigma)
2. กรณีนักเรียนหรือบุคลากรป่วยจริง ต้องให้หยุดรักษาจนกว่าจะหายเป็นปกติพร้อมใบรับรอง
แพทยโ์ ดยไมถ่ ือว่าขาดเรียนหรือขาดงาน
3. กักตวั ผใู้ กลช้ ดิ กับผ้ปู ว่ ยตามเกณฑ์ควบคุมโรค
มิตทิ ่ี 5 นโยบำย
มำตรกำรควบคุมหลกั
1. สื่อสารประชาสัมพันธ์แก่ครูและบุคลากรในสถานศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเก่ียวกับ
โรคโควิด-19 การลา้ งมอื การสวมหน้ากาก การรกั ษาระยะห่างระหวา่ งบุคคลการทาํ ความสะอาด
2. ประชุมชแ้ี จงคณะกรรมการสถานศกึ ษา
3. มีแผนงานโครงการ และกิจกรรมรองรับนโยบายและแนวทางการป้องกันโรคโควิด -19
ของ สถานศึกษา
4. แต่งตัง้ คณะทาํ งานรับผดิ ชอบเกย่ี วกับโรคโควิด-19 ในสถานศกึ ษา
5. กําหนดบทบาทหน้าท่ี และมอบหมายผู้รับผิดชอบดําเนนิ การตามมาตรการ
6. สื่อสารทําความเข้าใจผู้ปกครองและนักเรียน เก่ียวกับแนวทางการป้องกันโรคโควิด-19 และมี
ช่องทางการติดตอ่ สื่อสาร
7. มีการประเมินตนเองเพอื่ เตรยี มความพร้อมกอ่ นเปิดเรียน
8. มีมาตรการการจดั การดา้ นความสะอาด รถรับ - ส่งนักเรยี น และช้ีแจงผูป้ ระกอบการ
9. เสรมิ สรา้ งวัคซนี ในสถานศึกษา โดยมาตรการ “4 สร้าง 2 ใช้”
– สรา้ งสถานศกึ ษาทร่ี ู้สกึ ...“ปลอดภยั ” (safety)
- สรา้ งสถานศกึ ษาท.่ี .. “สงบ” (calm)
- สร้างสถานศึกษาทีม่ .ี .. “ความหวงั ” (Hope)
- สรา้ งสถานศึกษาท่ี... “เขา้ ใจ เหน็ ใจและใหโ้ อกาส” (De-stigmatization)
4
- ใชร้ ะบบการอภบิ าลดูแลชว่ ยเหลอื (Pastoral care system)
- ใช้ระสมั พันธ์ในสถานศกึ ษา (Rappurt system)
10. มกี ารกํากบั ตดิ ตามให้มกี ารดาํ เนนิ งานอย่างเครง่ ครัด
มำตรกำรเสรมิ
1. จัดระบบใหน้ กั เรียนสามารถเข้าถงึ การศกึ ษาที่มคี ุณภาพอยา่ งต่อเน่ือง
2. พิจารณาปดิ สถานศึกษาตามสถานการณแ์ ละความเหมาะสม
3. ส่ือสารให้มีความรู้เก่ียวกับการสังเกตอาการเส่ียง การมีแนวโน้มเส่ียงต่อการติดเช้ือโควิด-19 ได้
ง่าย โดยเฉพาะในเด็กท่มี อี าการสมาธิสัน้
มติ ิท่ี 6 กำรบริหำรกำรเงิน
มำตรกำรควบคมุ หลกั
1. พิจารณาการใช้งบประมาณของสถานศึกษาสําหรับการป้องกันการระบาดของโรคโควิด-19 ตาม
ความจาํ เปน็ และเหมาะสม
2. จัดซ้อื วัสดุอุปกรณ์ป้องกันโรคโควิด-19 สําหรับนกั เรียนและบคุ ลากรในสถานศกึ ษา
มำตรกำรเสรมิ
1. ประสานงานและแสวงหาแหล่งทนุ และการสนับสนนุ จากหน่วยงาน องค์กร หรอื ภาคเอกชน
2. พิจารณาสรรหาบคุ ลากรเพม่ิ เติมในการดูแลนกั เรียนและการจดั การสงิ่ แวดล้อมในสถานศึกษา
3. แนวปฏิบตั ิระหว่ำงเปิดภำคเรียน (Public health and social guidelines in schools)
3.1 หลักปฏิบตั ิในกำรปอ้ งกันกำรแพร่ระบำดของโรคโควดิ -19
1. คดั กรอง (Screening) ผทู้ ่ีเขา้ มาในสถานศึกษาทุกคน ตอ้ งไดร้ บั การคดั กรองวัดอุณหภมู ริ ่างกาย
2. สวมหน้ากาก (Mask) ทุกคนตอ้ งสวมหนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาทีอ่ ยูใ่ นสถานศึกษา
3. ล้างมือ (Hand Wash) ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ํานานอย่างน้อย 20วินาที หรือใช้เจลแอลกอฮอล์
หลกี เล่ียงการสัมผสั บรเิ วณจุดเสยี่ งโดยไม่จาํ เป็น
4. เว้นระยะห่าง (Social distancing) เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1- 2เมตร รวมถึงการจัด
เว้นระยะหา่ งของสถานท่ี
5. ทําความสะอาด (Cleaning) เปดิ ประตู หนา้ ต่าง ใหอ้ ากาศถ่ายเท หากจาํ เปน็ ต้องใช้เคร่ืองปรับอากาศ
กําหนดเวลาเปิด - ปิดเคร่ืองปรับอากาศ และเปิดประตู หน้าต่าง ระบายอากาศ ทุก 1ชั่วโมง และทําความสะอาด
ห้องเรียนและบริเวณต่าง ๆ โดยเช็ดทําความสะอาดพื้นผิวสัมผัสของโต๊ะ เก้าอี้ และวัสดุ อุปกรณ์ ก่อนเข้าเรียน
ช่วงพักเที่ยง และหลังเลิกเรียนทุกวัน รวมถึงจัดให้มีถังขยะมูลฝอยแบบมีฝาปิด และรวบรวมขยะออกจากห้องเรียน
เพื่อนาํ ไปกําจดั ทกุ วัน
6. ลดแออัด (Decrease) ลดระยะเวลาการท ากิจกรรมให้สั้นลงเท่าที่จําเป็นหรือเหล่ือมเวลาทํากิจกรรม
และหลีกเล่ียงการท ากจิ กรรมรวมตัวกันเป็นกลมุ่
3.2 ขั้นตอนกำรคดั กรองสขุ ภำพและแนวทำงกำรสง่ ตอ่ นกั เรียนและบคุ ลำกรในสถำนศึกษำ
1. จัดตงั้ จุด/บริเวณคดั กรองบริเวณทางเขา้ สถานศกึ ษา
2. วดั อณุ หภูมิ (> 37.5° C ถือว่ามไี ข)้
3. ใหผ้ ู้ถกู คดั กรองลา้ งมอื ด้วยสบู่และนา้ํ หรอื เจลแอลกอฮอล์
5
4. ตรวจสอบการสวมหน้ากากของบุคคลทุกคนทีเ่ ข้าสถานศกึ ษา
5. ซักประวัติเส่ียง อาการทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง (มีน้ํามูก เจ็บคอ หายใจลําบากเหนื่อยหอบ
ไม่ได้กลิน่ ไม่ร้รู ส) และบนั ทึกผลในแบบบันทกึ การตรวจคัดกรองสุขภาพ
กรณี วัดอุณหภูมิกาย < 37.5° C ไม่มีอาการทางเดินหายใจ ไม่มีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วย
ยนื ยันให้ตดิ สญั ลักษณ์หรอื สติ๊กเกอร์ เขา้ เรียน/ปฏิบัตงิ านได้ตามปกติ
กรณี วดั อุณหภูมกิ าย > 37.5° C ขึ้นไป ร่วมกับอาการทางเดินหายใจอย่างใดอยา่ งหน่ึง และหรือ
มีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยยืนยัน ให้แยกนักเรียนไว้ในห้องหรือบริเวณท่ีจัดเตรียมไว้ แจ้ง
ผู้ปกครอง แจง้ เจา้ หนา้ ท่สี าธารณสุขสอบสวนโรค และดําเนินการตามคําแนะนาํ
6. ผูร้ บั ผิดชอบรวบรวมขอ้ มูลรายงานผลใหผ้ ้บู รหิ ารสถานศึกษาทราบ
3.3 แนวปฏิบตั ิสำหรบั บคุ ลำกรในสถำนศึกษำ
ผ้บู รหิ ำร เจำ้ ของสถำนศึกษำ
1. ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติ พร้อมทั้งจัดต้ังคณะทํางานดําเนินการป้องกันการแพร่ระบาด
ของโรคโควิด -19
2. ทบทวน ปรบั ปรงุ ซ้อมปฏิบัติตามแผนฉุกเฉนิ ของสถานศึกษา
3. ให้มีการส่ือสารประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคโควิด-19 เก่ียวกับนโยบาย มาตรการการปฏิบัติตนการจัดการ
เรียนการสอนให้กบั ผู้เกีย่ วขอ้ ง และลดการตตี ราทางสังคม (Social stigma)
4. มมี าตรการคัดกรองสขุ ภาพทุกคนบรเิ วณจุดแรกเขา้ ไปในสถานศกึ ษา (Point of entry)
5. ควรพิจารณาการจัดให้นักเรียนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพเหมาะสมตามบริบท ได้อย่าง
ตอ่ เน่อื ง รวมถึงการตดิ ตามกรณีนกั เรียนขาดเรยี น ลาปว่ ย
6. กรณีพบนักเรียน ครู บุคลากร หรือผู้ปกครองอยู่ในกลุ่มเสี่ยงหรือผู้ป่วยยนื ยันเข้ามาในสถานศึกษา ให้รีบแจ้ง
เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพนื้ ท่ี
7. มีมาตรการให้นักเรียนได้รับอาหารกลางวันและอาหารเสริมนมตามสิทธิท่ีควรได้รับ กรณีพบอยู่ในกลุ่มเส่ียง
หรอื กกั ตัว
8. ควบคุม กาํ กับ ตดิ ตาม และตรวจสอบการดาํ เนินงานตามมาตรการอย่างเคร่งครัดและต่อเน่ือง
ครูผู้ดแู ลนักเรยี น
1. ติดตามขอ้ มูลข่าวสารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคจากแหล่งข้อมลู ที่เชื่อถือได้
2. สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหน่ึง ให้หยุดปฏิบัติงาน และรีบไปพบ
แพทย์ทนั ที
3. ปฏิบตั ิตามมาตรการการป้องกันโรคอย่างเคร่งครัด ไดแ้ ก่ ลา้ งมอื บอ่ ยๆ สวมหนา้ กากผ้าหรือ หน้ากากอนามัย
และเว้นระยะหา่ งระหว่างบคุ คล หลีกเล่ยี งการไปในสถานท่ีท่แี ออัดหรือแหลง่ ชุมชน
4. แจ้งผู้ปกครองและนกั เรียน ใหน้ ําของใชส้ ว่ นตวั และอุปกรณ์ปอ้ งกนั มาใช้เป็นของตนเอง
5. สื่อสารความรู้คะแนะนําหรือจัดหาสื่อประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและลดความเส่ียงจากการ แพร่กระจาย
โรคโควิด-19
6. ทาํ ความสะอาดสอื่ การเรยี นการสอนหรอื อุปกรณข์ องใชร้ ว่ มทเ่ี ป็นจุดสัมผัสเส่ียงทุกคร้งั หลังใชง้ าน
6
7. ควบคุมดูแลการจัดที่นั่งภายในสถานท่ีในโรงเรียน ตามหลักการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2
เมตร
8. ตรวจสอบ กํากบั ติดตามการมาเรียนของนกั เรียน
9. ตรวจคดั กรองสขุ ภาพทกุ คนทเี่ ข้ามาในสถานศึกษาตามขน้ั ตอน
10. สังเกตกลุ่มนักเรียนท่ีมีปัญหาพฤติกรรม หรือนักเรียนที่ไม่ร่วมมือปฏิบัติตามมาตรการที่ครูกําหนดเพื่อให้
ไดร้ บั การช่วยเหลอื
11. ส่ือสารความรู้เก่ียวกับความเครียด กระบวนการการจัดการความเครียดให้แก่นักเรียนและ บุคลากรใน
สถานศึกษา
นกั เรียน
1. ตดิ ตามขอ้ มูลขา่ วสารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคจากแหล่งข้อมูลที่เช่อื ถือได้
2. สงั เกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมีอาการทางเดนิ หายใจอยา่ งใดอย่างหนง่ึ รีบแจง้ ครูหรอื ผูป้ กครอง
3. มีและใชข้ องใช้ส่วนตัวไมใ่ ชร้ ว่ มกบั ผอู้ ่นื
4. ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการการป้องกันโรคอยา่ งเคร่งครัด ไดแ้ ก่ ลา้ งมือบอ่ ยๆ สวมหนา้ กากผ้าหรือ หน้ากากอนามัย
และเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบคุ คล หลกี เลีย่ งการไปในสถานทีท่ ี่แออดั หรือแหลง่ ชมุ ชน
5. ดแู ลสขุ ภาพใหแ้ ข็งแรง ด้วยการกินอาหารปรุงสกุ ร้อน สะอาดอาหารครบ 5 หมู่ และผกั ผลไม้ ออกกําลังกาย
และนอนหลับใหเ้ พยี งพอ
6. กรณนี ักเรยี นขาดเรยี นหรอื ถกู กกั ตัว ควรตดิ ตามความคบื หน้าการเรียนอย่างสมา่ํ เสมอ
7. หลีกเลี่ยงการล้อเลียนความผดิ ปกติหรอื อาการไม่สบายของเพื่อน
ผ้ปู กครอง
1. ตดิ ตามขอ้ มลู ขา่ วสารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคจากแหลง่ ข้อมลู ที่เชอ่ื ถือได้
2. สงั เกตอาการปว่ ยของบตุ รหลาน หากมีอาการทางเดินหายใจอยา่ งใดอย่างหนึ่ง ใหร้ บี พาไปพบแพทย์
3. จัดหาของใช้สว่ นตัวให้บุตรหลาน
4. จัดหาอุปกรณ์ป้องกันโรคและการล้างมือ กํากับให้บุตรหลานปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันโรคอย่าง
เคร่งครัด ได้แก่ ล้างมือบ่อยๆ สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย และเว้นระยะห่างระหว่างบุคคลหลีกเลี่ยงการไป
ในสถานท่ที ่ีแออัดหรอื แหล่งชุมชน
5. ดูแลสขุ ภาพบตุ รหลาน จดั เตรียมอาหารปรุงสกุ ใหม่
6. กรณีมีการจัดการเรียนการสอนทางออนไลน์ ผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือกับครูในการดูแลจัดการเรียนการ
สอนแกน่ กั เรียน
แม่ครัว ผ้จู ำหนำ่ ยอำหำร ผปู้ ฏิบัติงำนทำควำมสะอำด
1. ตดิ ตามข้อมูลขา่ วสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค จากแหลง่ ข้อมลู ทเี่ ชือ่ ถือได้
2. สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหน่ึง ให้หยุดปฏิบัติงาน และรีบไปพบ
แพทย์ทนั ที
3. ลา้ งมอื บ่อยๆ ก่อน – หลังปรงุ และประกอบอาหาร ขณะจาํ หนา่ ยอาหาร หลังสมั ผสั ส่งิ สกปรก
4. ขณะปฏิบัติงานของผู้สัมผัสอาหาร ต้องสวมหมวกคลุมผม ผ้ากันเปื้อน ถุงมือ สวมหน้ากากผ้า หรือหน้ากาก
อนามัย และปฏิบตั ติ นตามสุขอนามยั ส่วนบุคคลทีถ่ กู ต้อง
7
5. ปกปดิ อาหาร ใส่ถุงมือและใชท้ ่ีคบี หยบิ จบั อาหาร
6. จดั เตรยี มอาหารปรุงสกุ ใหม่ ให้นักเรียนกนิ ภายในเวลา 2 ช่วั โมง
7. ผู้ปฏิบัติงานทําความสะอาด ผู้ปฏิบัติงานเก็บขนขยะต้องใส่อุปกรณ์ป้องกันตนเองและปฏิบัติตามข้ันตอนการ
ทาํ ความสะอาดใหถ้ กู ตอ้ ง
ด้ำนอนำมยั ส่งิ แวดลอ้ ม
1. ห้องเรียน สถานที่สําหรับการจัดการเรียนสอน ห้องปฏิบัติการต่าง ๆ ภายในสถานศึกษา ห้องประชุม
หอ้ งพักครู โรงยิม โรงอาหาร ห้องสมุด ห้องส้วม เปน็ ต้น ให้ดาํ เนินการตามหลักปฏิบตั ิการป้องกนั การแพร่ระบาดของ
โรคโควิด-19 อย่างเครง่ ครดั ไดแ้ ก่
จดั โตะ๊ เก้าอี้ หรอื ท่นี ่งั ใหม้ ีการเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบคุ คล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร
มีการเหลื่อมเวลาเรียนการเรยี นกลุ่มย่อย
จดั ให้มีการระบายอากาศท่ดี ีให้อากาศถ่ายเท และทาํ ความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ี อุปกรณ์การเรียนทุกคร้ัง
และจุดสัมผัสเสย่ี ง ก่อน-หลงั ใช้งาน
จัดให้มีเจลแอลกอฮอลใ์ ช้ทาํ ความสะอาดมอื
จํากดั จาํ นวนผู้ใชง้ านหรอื ลดระยะเวลาทํากจิ กรรมหรอื เหลือ่ มเวลา
2. โรงอำหำร
จดั บริการอาหารเนน้ ป้องกนั การปนเป้ือนของเช้ือโรค เช่น อาหารปรุงสําเรจ็ สกุ ใหม่ทกุ ครงั้
พจิ ารณาทางเลือกให้ผปู้ กครองสามารถเตรียมอาหารกลางวัน (Lunch box) ใหน้ ักเรียน
3. สถำนทีแ่ ปรงฟัน
หลกี เล่ยี งการรวมกล่มุ และเวน้ ระยะหา่ งในการแปรงฟัน ให้นกั เรยี นแปรงฟันในห้องเรียน โดยนัง่ ทโ่ี ต๊ะเรยี น
เพอ่ื ปอ้ งกันการแพร่กระจายของนํ้าลายละอองน้าํ หรอื เชอ้ื โรคสผู่ ู้อื่นตามข้นั ตอนการแปรงฟนั
4. สระวำ่ ยนำ้
หลีกเลี่ยงหรืองดการจัดการเรียนการสอนในสระว่ายน้ํา กรณีรัฐบาลมีการผ่อนปรนมาตรการควบคุมโรค
ใหม้ ีการคดั กรองเบือ้ งต้นหรือเฝา้ ระวัง กํากบั ดแู ลและปฏบิ ัตติ ามคาํ แนะนําของระบบฆ่าเช้ืออย่างเคร่งครัด ตรวจสอบ
คุณภาพนํ้าในสระทุกวนั และกําหนดมาตรการกอ่ นลงสระว่ายนํา้
5. หอ้ งพยำบำล
จดั หาครูหรือเจ้าหนา้ ที่ เพื่อดแู ลนักเรียนในกรณีท่ีมีนักเรียนปว่ ยมานอนพักรอผู้ปกครองมารบั และมี
การบันทึกรายช่ือและอาการของนักเรียนทีป่ ่วย
จัดให้มีพ้ืนท่ีหรือห้องแยกอย่างชัดเจน ระหว่างนักเรียนป่วยจากอาการไข้หวัดกับนักเรียน ป่วยจาก
สาเหตุอน่ื ๆ
6. ห้องนอนเดก็ เล็ก
8
ทําความสะอาดเคร่ืองนอน และผ้ากันเปื้อนทุกวันอุปกรณ์ของใช้ของเล่น ตู้เก็บของส่วนบุคคล และ
จุดสัมผสั เส่ยี งรว่ มเป็นประจาํ ทุกวัน
จัดให้มีพ้ืนที่สําหรับการเรียนรู้ของเด็กรายบุคคลยึดหลักเว้นระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างน้อย
1 - 2 เมตร
มีและใช้ของใชส้ ่วนตัว เนน้ ไมใ่ ช้ของใชร้ ว่ มกัน
จัดใหม้ เี จลแอลกอฮอลใ์ ชท้ ําความสะอาดมือสําหรบั ครูและนักเรยี น
มกี ารระบายอากาศที่ดอี ากาศถา่ ยเทสะดวก
จดั อปุ กรณก์ ารสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กใหเ้ พียงพอ
7. รถรบั -สง่ นกั เรยี น
ทาํ ความสะอาดรถรับนักเรียนและบรเิ วณจุดสัมผสั เสย่ี ง
นกั เรยี นท่ีใชบ้ ริการรถรับนักเรียน ต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามยั
การจัดทีน่ ง่ั บนรถรบั นักเรยี น ควรจดั ใหม้ ีการเวน้ ระยะห่างระหว่างบุคคล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร
กอ่ นและหลังใหบ้ รกิ ารรับนักเรียนแต่ละรอบควรเปิดหน้าต่าง ประตรู ะบายอากาศให้อากาศถ่ายเทได้
สะดวก
จัดให้มีเจลแอลกอฮอลส์ ําหรับใชท้ าํ ความสะอาดมอื
3.4 มำตรกำรป้องกันกำรแพร่ระบำดของโรคโควิด-19 กรณีเกิดกำรระบำด (เมื่อพบผู้ป่วยยืนยันอย่างน้อย
1 ราย ทีค่ ดิ วา่ อาจมกี ารแพรก่ ระจายเชอื้ ในสถานศึกษา)
1. ปิดสถานศกึ ษา/ช้นั ปี/ชน้ั เรียน เพือ่ ทาํ ความสะอาดเปน็ ระยะเวลา 3 วัน
2. ประสานเจ้าหนา้ ที่สาธารณสุข สาํ รวจคัดกรองนกั เรียนและบุคลากรทกุ คนบริเวณทางเขา้ สถานศกึ ษา และ
ดําเนนิ การขัน้ ตอนทกี่ าํ หนด หากพบผูเ้ ข้าเกณฑ์สอบสวน (PUI) ใหเ้ ก็บตัวอย่าง NP swab สง่ ตรวจหาเชือ้
3. ผู้สมั ผสั กลุ่ม High risk ให้ดาํ เนินการเกบ็ ตวั อยา่ ง NP swab สง่ ตรวจเช้ือ
4. ผู้สัมผัสกลุ่ม Low risk ไม่ต้องเก็บตัวอย่าง แต่ให้แยกตัวอยู่ท่ีบ้าน และรายงานอาการ (Self-report)
ทุกวัน หากพบว่ามอี าการเข้าเกณฑ์ PUI ใหด้ าํ เนินการแบบผปู้ ่วย PUI
5. เม่ือเปิดเรียนให้มีการคัดกรองไข้ทุกวัน หากพบมีอาการเข้าได้กับ PUI ให้เก็บตัวอย่าง และพิจารณาความ
เสีย่ งเพือ่ ตดั สนิ ใจวา่ จะให้ผปู้ ่วยดูอาการทีบ่ า้ น หรอื ต้องแยกตวั ในโรงพยาบาล
6. ทีมสอบสวนโรคทําการตดิ ตามผสู้ ัมผสั ทุกวันจนครบกาํ หนด
(ทมี่ า: กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข)
3.5 กำรกำกบั ติดตำม และรำยงำนผล
สถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา และหน่วยงานสาธารณสุขท่ีดูแลสถานศึกษา ควรมีการกํากับ
ติดตาม ทบทวนการดําเนินงานให้สอดคล้องตามแนวปฏิบัติ สถานการณ์ และบริบทพ้ืนท่ีอย่างต่อเนื่อง กรณีพบผู้มี
อาการเสย่ี งหรือป่วยต้องรีบแจง้ เจ้าหน้าทส่ี าธารณสขุ ทันที และรายงานต่อผูบ้ รหิ ารผเู้ กย่ี วขอ้ ง
9
โรงเรยี นสำรสำสนว์ เิ ทศทำ่ มะกำ
มำตรกำรป้องกนั และกำรเตรียมควำมพรอ้ มกำรจัดกำรเรยี นกำรสอน
(ในสถำนกำรณแ์ พร่ระบำดโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนำโควดิ 2019 COVID-19)
ปีกำรศกึ ษำ 2564
********************************************************
ดว้ ยสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดโรคตดิ เช้ือโควดิ 2019 (COVID-19) มคี วามรนุ แรงมากขนึ้ สง่ ผลให้มีผ้ตู ดิ เชือ้
เพิ่มจํานวนมากข้ึน โรงเรียนสารสาสน์วิเทศท่ามะกา ได้เตรียมความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือรองรับ
การเปิดภาคเรียนท่ี 1/2564 โดยคํานึงถึงความปลอดภัยของนักเรียน ผู้ปกครอง ครู และบุคลากรของ
โรงเรียนสารสาสน์วิเทศท่ามะกา โดยมีมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโควิด (COVID-19) รายละเอียด
ตอ่ ไปน้ี
กำรเตรยี มตวั ก่อนเปดิ ภำคเรยี น
ดำ้ นกำรจัดเตรียมบคุ ลำกร
1. จัดโครงสรา้ งครู บคุ ลากร เจ้าหนา้ ท่ใี หเ้ พียงพอต่อจาํ นวนนักเรยี น ทกุ ชัน้ เรียน
2. จัดเตรียมตารางเรียน เตรียมสื่อการสอน ใบงาน ในรูปแบบต่าง ๆ และการสอนแบบออนไลน์กรณีเปิด
เรียนตามปกตไิ ม่ได้ หรอื จาํ เป็นตอ้ งชดเชย เสริมใหน้ ักเรียน
3. ครบู ุคลากรและผปู้ กครองทําการประเมนิ ความเสีย่ ง“ไทยเซฟไทย”ที่เว็บไซด์โดยทางโรงเรยี นสง่ ลงิ ก์
http://savethai.anamai.moph.go.th เพื่อให้กรอกข้อมูลกอ่ นวันเปิดภาคเรียน
4. จัดอบรมพัฒนาให้ความรู้สนับสนนุ และส่งเสริมให้เจา้ หนา้ ท่ีและผปู้ ฏิบตั ิงานทกุ คนในโรงเรยี นให้สามารถ
จัดการเรยี นการสอนออนไลน์ใหก้ ับนักเรียนได้อย่างมปี ระสิทธิภาพสงู สดุ
5. รณรงค์ใหค้ รู และบุคลากร สวมแมสและหน้ากากอนาภยั เม่อื อยรู่ ว่ มกันทุกครั้ง
ดำ้ นสถำนท่ีและบคุ ลำกร
1. จดั สถานทแ่ี ละทําสัญลกั ษณเ์ พื่อเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบุคคล เชน่ จดุ ตรวจวัดไขก้ อ่ นเขา้ โรงเรียน การจดั ที่
น่ังเรียน การจัดแถวรับอาหาร-รับประทานอาหารกลางวัน จุดล้างมือตามมาตรการเว้นระยะห่างทางกายภาพ
(Physical Distancing) อย่างน้อย 1 เมตร
10
2. ทาํ ความสะอาด อาคารเรียน ห้องเรยี น ตู้ โต๊ะ เก้าอ้ี อปุ กรณ์การเรยี นการสอน ห้องคอมพวิ เตอร์ ห้องสมุด
สนามเด็กเล่น อปุ กรณ์กีฬา เคร่ืองเด็กเล่น หอ้ งนาํ้ หอ้ งส้วม กอ๊ กน้ํา และ อุปกรณ์จานชาม โรงอาหาร สถานที่
รบั ประทานอาหาร ราวบนั ได ทจ่ี บั ประตู จดุ ชําระเงิน โตะ๊ ท่ีนัง่ และอื่น ๆ ที่ครู นกั เรียน อยรู่ ่วมกันและมีพน้ื ที่สมั ผสั
(ทาํ ความสะอาดหลายครง้ั ใน 1 วัน และทําความสะอาดดว้ ยนํา้ ยาฆ่าเช้ือทุกวัน
3. ตรวจสอบอา่ งล้างมือให้มเี พียงพอ อยู่ในสภาพดี พรอ้ มใช้งาน รวมถึงสบ่ลู ้างมือที่เพียงพอ มปี า้ ยรณรงคก์ าร
ลา้ งมอื ท่ีถูกวธิ ี
4. จดั ให้มีจดุ เฉพาะสาํ หรับรับ-ส่งนกั เรยี น ในบริเวณท่ีมีอากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก ผูป้ กครองมารบั -สง่ นกั เรยี น
เฉพาะพื้นทท่ี ่โี รงเรยี นจัดให้เท่าน้นั มกี ารกําหนดสญั ลกั ษณ์ หรอื สติ๊กเกอร์ เวน้ ระยะหา่ ง 1-2 เมตร
5. จดั ทําปา้ ยประชาสมั พนั ธ์ในหอ้ งเรยี น นอกหอ้ งเรยี นในการเวน้ ระยะห่าง กาสวมแมส
ด้ำนกำรจดั หอ้ งเรยี น
1. จัดมาเรียน 5 วัน/สัปดาห์ ครบทุกชั้นเรียน ห้องเรียนห้องเรียนไม่เกิน 15-20 คน (กรณีท่ีมีห้องเรียน
เพยี งพอสําหรบั นกั เรยี น)
2. จดั การเรียนการสอนแบบออนไลนท์ ุกระดบั ชั้นในกรณีที่ไม่สามารถเปิดภาคเรยี นได้ตามปกติ
3. จดั โต๊ะเรียน แผนผังทน่ี ั่ง ตามมาตรการเวน้ ระยะห่าง อย่างน้อย 1 เมตร
4. กําหนดทางเข้า – ออกห้องเรียนด้วยสต๊ิกเกอร์ท่ีชัดเจนจัดวางเจลล้างมือ และบันทึกการตรวจวัดไข้
นักเรยี น เป็นรายบุคคลทีม่ ีการเรยี นการสอนหน้าบริเวณประตูหอ้ งเรยี น
5. ในกรณีเด็กอนุบาลให้คุณครูนํานักเรียนไปยังห้องเรียน กรณีนักเรียนระดับประถมศึกษาให้นกั เรียนเดนิ ไป
ห้องเรียนดว้ ยตัวเองและขอความร่วมมือผูป้ กครองไม่ขึน้ บนอาคารทุกกรณี หากมีเหตุจาํ เปน็ ให้ติดต่อเจ้าหน้าท่ีธุรการ
หรือครูเวรเพื่อให้ความ - ชว่ ยเหลือ
6. การทําความสะอาดโต๊ะเรียน และห้องเรียนให้ทําความสะอาดในช่วงเช้า ช่วงกลางวันหลังจากนักเรียน
รบั ประทาน อาหาร และหลังเลกิ เรียน โดยใช้นา้ํ ยาฆา่ เช้อื ในสัดสว่ นทก่ี าํ หนดเชด็ ทําความสะอาด
7. การเขา้ แถวเคารพธงชาติ กรณมี ีพน้ื ที่แคบ เชน่ หนา้ ห้องตรงทางเดินให้นักเรยี นเข้าแถวท่ีโตะ๊ ในห้องเรยี น
มีการเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งกันอย่างน้อย 1 เมตร กรณีมพี ื้นท่ีกว้าง ก็สามารถเข้าแถวหน้าช้ันเรยี นได้ โดยเว้นระยะห่าง
ระหวา่ งกนั อย่างน้อย 1 เมตร
8. การจดั โต๊ะเรียน ห้องเรยี นไดจ้ ดั โต๊ะเรียน จํานวนไมเ่ กนิ 20 – 25 ตัว โดยแตล่ ะตัวให้มีการเว้นระยะหา่ ง 1
– 2 เมตร มีการทําความสะอาดหอ้ งเรยี น โตะ๊ เรยี น และเก้าอที้ ุกครั้งด้วยนํา้ ยาฆ่าเช้ือทง้ั ห้องก่อนเรยี นพักกลางวนั และ
หลงั เรยี น โดยมกี ารบนั ทึกขอ้ มูลอย่างเครง่ ครัด
9. ตั้งจดุ วางเจลแอลกอฮอล์หน้าหอ้ งเรียน
10. สําหรบั นกั เรียนระดับชั้นอนบุ าลที่นอนกลางวัน มีการจัดเตรียงนอนให้เว้นระยะห่างระหว่างกนั อย่างน้อย
1 เมตร โดยไมเ่ อาศีรษะชนกันและแยกอปุ กรณ์เคร่ืองใช้เป็นของส่วนตวั ไม่ใชร้ ว่ มกนั
11
ดำ้ นกำรประชำสัมพนั ธ์ควำมรู้
1. จัดบอรด์ ความรู้ และมีการประชาสมั พนั ธ์ออนไลน์ ทางเฟสบคุ๊ ไลน์ เวบ็ ไซตข์ องโรงเรียน ให้ความรเู้ ร่อื งโรค
แพร่ระบาดของไวรสั (COVID – 19) รวมทั้งแนวทางการป้องกนั ตนเอง แกน่ ักเรยี นและผูป้ กครอง
2. จัดทําคู่มือมาตรการป้องกันและการเตรียมความพร้อมการจัดการเรียนการสอนในช่วงเปิดภาคเรียนที่
1/2564 (ในสถานการณ์แพร่ระบาดโรคติดเชื้อโควิด 2019 COVID-19) เพื่อเป็นแนวปฏิบัติในการป้องกันดูแลตนเอง
ใหผ้ ปู้ กครอง นักเรียน และบคุ ลากรได้
3. จดั ทาํ คลิปให้ความรใู้ นการดูแลปอ้ งกันตนเองกบั นกั เรยี น เปน็ ระยะๆ
ด้ำนกำรคดั กรอง
1. บันทึกอุณหภมู นิ ักเรยี นเป็นรายบุคคล ลงแบบฟอร์มที่โรงเรียนกําหนด
2. ใช้เครื่องวัดอุณหภูมิร่างกายกรณีผ่านการคัดกรองทําสัญลักษณ์ให้แก่ผู้ที่ผ่านการคัดกรองถ้าพบ
นักเรียนมีการเจ็บป่วย เช่น มีไข้ ไอ จาม มีนํ้ามูกให้เรียนผปู้ กครองที่บุตรหลานมีอาการ โดยแยกนักเรียนไปไว้ในหอ้ ง
แยกซึ่งจัดเตรียมไว้บันทึกรายชื่อและอาการป่วยประเมินความเสี่ยงหากไม่มีประวัติเส่ียง ให้ผู้ปกครองพานักเรียนไป
พบแพทย์ และให้หยดุ พักจนกวา่ จะหายเปน็ ปกติ
3. จดั ทําแบบฟอร์มในกรณที ่ีมีการออกนอกพืน้ ที่ ของนกั เรียน ผู้บริหาร ครู บคุ ลากร และผูเ้ กี่ยวข้องหาก
พบวา่ มีการเจบ็ ปว่ ย หรือกลับจากพนื้ ทเี่ ส่ยี งและอยู่ในช่วงกกั ตัว ขอความรว่ มมือใหเ้ ขา้ รบั การรักษาตามมาตรการของ
กระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครดั
4. ก่อนเข้าห้องนํ้าต้องสวมรองเท้าท่ีโรงเรียนจัดให้และฉีดสเปรย์ฆ่าเชื้อล้างมือให้สะอาดทุกครั้ง
เว้นระยะหา่ งระหวา่ งกนั อยา่ งน้อย 1 เมตร
มำตรกำรวันเปิดเรยี น
1. คัดกรองนักเรียน ผ้ปู กครอง ครแู ละบคุ ลากรบรเิ วณขา้ งสระว่ายนํ้า โรงเรยี นกําหนดจุดข้ึนอาคารเรยี น
1 จดุ จะมีครเู วรทคี่ ัดกรอง นกั เรยี น ทุกคนจะต้องผา่ นจดุ คัดกรอง (จุดท่ี 1) จดุ คดั กรองวดั อุณหภูมดิ ้วยเครื่องตรวจวัด
อุณหภูมิ ลา้ งมอื ดว้ ยเจลแอลกอฮอล์ หากพบวา่ นักเรียน ผปู้ กครอง ครูและบุคลากร มอี ุณหภมู ิสงู กว่า 37.5 องศา
เซลเซยี ส หรือมไี ข้ จาม มนี า้ํ มูก หายใจเหนือ่ ยหอบใหห้ ยดุ เรยี น และแจ้งผปู้ กครองพาไปพบแพทย์โดยเรว็ เพื่อตรวจ
2. นักเรยี น ผู้ปกครอง ครแู ละบคุ ลากรทุกคนตอ้ งใสห่ น้ากากอนามัย หรอื หน้ากากผ้าตลอดเวลาท่อี ยู่ใน
โรงเรียน ล้างมือเปน็ ประจาํ ด้วยนาํ้ และสบู่ ใช้อปุ กรณเ์ ครื่องใชส้ ่วนตัวเฉพาะบุคคลและดูแลใหเ้ ดก็ นกั เรยี นรบั ประทาน
อาหารตามหลักโภชนาการท่ีปรุงสกุ ใหม่และสะอาด
3. ครูใหค้ วามรู้ คาํ แนะนําการแพร่ระบาดโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) แก่นักเรยี นและให้
ปฏบิ ตั ิตามคาํ แนะนําอย่างเครง่ ครัด ใหค้ ําแนะนําความรู้รปู แบบวดี โี อ เพลง บอร์ด ใบความรู้ตา่ ง ๆ ซา้ํ ๆ บอ่ ย ๆ จน
นกั เรยี นสามารถ ปฏบิ ตั ิไดถ้ ูกตอ้ งเป็นนสิ ยั
12
4. จัดกิจกรรมพิจารณาแบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่มย่อย เพ่ือหลีกเลี่ยงการรวมตัวกันหรือลดความแออัด
ของนักเรยี น และปฏิบตั ติ ามมาตรการเวน้ ระยะห่างระหว่างบุคคลในการทํากิจกรรมต่าง ๆ อย่างนอ้ ย 1 เมตร
5. แบง่ นกั เรียนรบั ประทานอาหารเหล่ียมเวลาลดความแออดั ดังนี้
ระดบั อ.1 – อ.2 = 11.00 น. จาํ นวน 60 คน
ระดับ ป.1 – ป.2 = 11.30 น. จํานวน 70 คน
ระดบั ป.3 – ป.5 = 12.00 น. จาํ นวน 50 คน
มำตรกำรวนั เปดิ เรียน
1. การจดั การเรยี นการสอนตามปกติ (ตามบรบิ ทของโรงเรยี น)
2. จดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์ทุกระดับชัน้ (ตามบรบิ ทของโรงเรยี น)
3. ครูไทย - ครูต่างชาติ มีการสร้างสือ่ การสอน สื่อการสอนออนไลน์/ใบงานแบบฝกึ หัด
4. ครไู ทย - ครูตา่ งชาติ เตรยี มแผนการสอนตามกําหนดหน่วย เตรยี มสอื่ การสอน ใบงาน
คลปิ วดี ีโอการสอน (ในกรณสี อนออนไลน์) ไว้ล่วงหน้า
5. ครูไทย - ครูตา่ งชาติ ฝ่ายวิชาการเตรียมแบบฝึกหัด และชดุ กิจกรรม เพื่อเตรยี มความพร้อมในการ
เรยี นการสอน เมือ่ มีการเปิดภาคเรียนสาํ หรบั นักเรยี นทุกระดับช้ัน
ดำ้ นสขุ อนำมัย สงิ่ แวดลอ้ ม และสังคม
1. ผู้บริหาร ครู นักเรียน และบุคลากรโรงเรียนสวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา และล้างมือบ่อยครั้ง
เว้นระยะหา่ งระหวา่ งกนั อยา่ งน้อย 1 เมตร
2. จัดให้มีอุปกรณ์ล้างมือ เช่น สบู่ เจลแอลกอฮอล์ ทําความสะอาดห้องและบริเวณท่ีมีการใช้บริ การ
ร่วมกันด้วยน้ํายาทําความสะอาด เช่น ห้องเรียน โรงอาหาร ห้องนอน หอประชุม ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ โต๊ะ
เก้าอี้ อุปกรณ์ดนตรี เปิดประตู หน้าต่าง เพื่อระบายอากาศห้องที่มีการใช้งานร่วมกัน จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทํา
ความสะอาดมอื สําหรบั ครแู ละนกั เรียนประจาํ ทุกห้องเรียน
3. ทําความสะอาดสิง่ ของเครื่องใช้ อาคารสถานที่ทนั ที กรณีนกั เรียน ครู หรือบคุ ลากรกลบั มาจากพื้น ท่ี
เสยี่ งในระยะเวลาไมเ่ กนิ 14 วนั และเขา้ มาในโรงเรียน อาจพจิ ารณาปิดโรงเรียนตามความเหมาะสม
4. ใหน้ ักเรียนจัดเตรยี มขวดน้ํา กระติกนํ้า แก้วนา้ํ เปน็ ของสว่ นตัว เขยี นชอ่ื กํากับเป็นรายบคุ คล
5. จัดให้มีการล้างทําความสะอาดตู้กดนํ้าดื่มท้ังภายในถังนํ้าเย็นก๊อกน้ําและภายนอก ตู้เย็นเคร่ืองกรอง
น้ําเปล่ียนไสก้ รองรวมถึงอปุ กรณ์ต่าง ๆ และแผ่นรองต้นู ้ําเย็น ใหส้ ะอาดอยา่ งสมาํ่ เสมอ
6. มีการตดิ ป้ายข้นั ตอนการล้างมอื ที่ถูกตอ้ งบริเวณอา่ งลา้ งมือทุกจุด
7. จัดให้มีแม่บ้านทําความสะอาดห้องนํ้าบ่อย ๆ มีการบันทึกในการทําความสะอาด โดยมีผู้บริหารที่
รับผิดชอบ ตรวจสอบ ตดิ ตาม ในแตล่ ะช้ันของอาคาร
13
8. ใหแ้ ม่บ้านทาํ ความสะอาดพน้ื ทีผ่ วิ สมั ผสั ทจ่ี บั ประตู ราวบนั ได ตพู้ ักนํา้ ก๊อกน้าํ ดว้ ยนํ้ายาฆ่าเชื้อ บ่อย
ๆ ในแต่ละวนั
ยำนพำหนะและรถรบั -ส่งนกั เรยี น
1. คนขับรถรับ-ส่งนกั เรียน และพีเ่ ลย้ี งต้องสวมหนา้ กากอนามยั ไมส่ วมกอดหรือสมั ผัสใกล้ชดิ นกั เรียน
เพื่อลดความเสี่ยงการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัส 2019 (COVID – 19)
2. ใหจ้ ัดเตรียมอปุ กรณ์วัดไข้ เจลลา้ งมอื ไว้บนรถรบั -สง่ นกั เรียน และดําเนนิ การคัดกรองนกั เรียนก่อน
ข้ึนรถทง้ั ขาไปและขากลบั
3. กําหนดการทาํ ความสะอาดรถ ท่ีจับประตู เบาะที่น่ัง พื้น ผนังรถ และอุปกรณต์ า่ ง ๆ ภายในรถเนน้
บรเิ วณจดุ ผวิ สมั ผสั รว่ ม กอ่ นนักเรียนขน้ึ -ลงรถในรอบเชา้ และก่อนขน้ึ -ลงกลับบา้ นในรอบเยน็ ด้วยนํา้ ยาฆา่ เชื้ออย่าง
สมาํ่ เสมอ
4. เปดิ หน้าต่างให้อากาศถ่ายเทอาจเปิดแอร์ไดถ้ ้าอากาศร้อนมากโดยให้พจิ ารณาตามความเหมาะสม
และสถานการณ์ท่ีกระทรวงสาธารณสขุ กาํ หนดอยา่ งเครง่ ครดั
5. กรณีท่ีมรี ถรบั -สง่ นักเรยี น ก่อนและหลงั ใหบ้ ริการแตล่ ะรอบ ใหเ้ ปิดหน้าต่างและประตู เพ่ือถ่ายเท
ระบายอากาศ ภายในรถ และทาํ ความสะอาดในจดุ ทม่ี ีการสมั ผสั บ่อย ได้แก่ ราวจบั ที่เปิดประตู เบาะนั่ง ทวี่ างแขน
ดว้ ยนํา้ ผสมผงซักฟอกหรือน้ํายาทําความสะอาดทีม่ ีส่วนผสมของโซเดยี มไฮโปคลอไรท์ (นา้ํ ยาฟอกขาว) และปฏบิ ัติ
ตามคําแนะนําบนฉลาก
6.ในกรณีท่ีมีการออกนอกพ้ืนท่ีของคนขับและพี่เล้ียงรถตู้ ให้กรอกแบบฟอร์มการออกนอกพ้ืนที่
หากพบว่ามกี ารเจ็บป่วย หรือกลับจากพน้ื ที่เส่ยี งและอยใู่ นช่วงกกั ตวั ขอความรว่ มมือใหเ้ ข้ารับการรกั ษาตามมาตรการ
ของกระทรวง สาธารณสขุ อย่างเคร่งครัด
ด้ำนดูแลรำ้ นอำหำร กำรจำหน่ำยอำหำร โรงอำหำร
1. ให้ร้านค้า ผู้สัมผัสอาหาร ต้องสวมหน้ากากอนามัย ใส่หมวกคลุมผมผ้ากันเปื้อน หน้ากากผ้า
สวมถุงมอื ทุกครัง้ ทป่ี ฏิบัติหนา้ ท่ี
2. หากผู้สัมผัสอาหารมีอาการเจ็บป่วย เช่นมีไข้ ไอ จาม มีน้ํามูกหายใจเหน่ือยหอบ ให้หยุดงานและ
พบแพทยท์ ันที
3. ล้างมืออย่างสมํ่าเสมอด้วยสบู่และน้ําทั้งก่อน-หลังการประกอบอาหาร หยิบหรือจับส่ิงสกปรก
หลงั การใชส้ ้วม และไม่ไอ จามใส่อาหาร
4. จัดตารางเวลาการรับประทานอาหารกลางวันให้เหลื่อมเวลาพักเพื่อลดการแออัดของนักเรียน
โดยมีระยะห่างของรอบเวลาละ 30 นาที
5. ปกปิดอาหารด้วยฝาชี หรือผ้าคลุม (ใช้ผ้าขาวบางท่ีสะอาด) สวมใส่ถุงมือและใช้ที่คีบหยิบจับ
อาหารหา้ มใช้มือหยิบจับอาหารทพ่ี ร้อมรบั ประทานโดยตรง และจัดใหแ้ ยกรับประทาน
14
6. ทําความสะอาดโรงอาหาร ร้านจําหน่ายอาหาร และจุดเส่ียงต่าง ๆ เช่น ห้องครัว อุปกรณ์ปรุง
ประกอบอาหาร โต๊ะ เก้าอี้ ด้วยน้ํายาทําความสะอาด รวมถึงล้างภาชนะอุปกรณ์หรือสิ่งของเคร่ืองใช้ให้สะอาดเป็น
ประจาํ ทกุ วนั
7. เตรียมอาหารท่ปี รุงสกุ ใหม่ใหน้ ักเรยี นรบั ประทานภายในเวลา 2 ช่ัวโมง หากเกินเวลาดังกลา่ วใหน้ าํ
อาหารไปอุ่นจนเดอื ดและนาํ มาเสิรฟ์ ใหม่
8. จัดโตะ๊ รบั ประทานอาหารโดยมีการเวน้ ระยะหา่ งอย่างน้อย 1 เมตร
9. สนับสนุนให้นักเรียนได้รับโภชนาการที่ดีและเหมาะสมในแต่ละช่วงวัยเพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันดูแล
บริหารจัดการให้นักเรียนรับประทานอาหารครบ 5 หมู่ สะอาด ปลอดภัย ถูกหลักโภชนาการ โดยได้รับประทานผัก
ผลไมป้ ลอดสารพิษตามฤดูกาล
10. การล้างจานชาม มีการตม้ ชอ้ นสอ้ ม แยกเกบ็ ใส่ในภาชนะท่ีปิดมดิ ชดิ
11. จัดตารางเวลาการรบั ประทานอาหารกลางวันใหเ้ หล่ือมเวลาพักเพื่อลดการแออัดของนักเรยี นโดย
มีระยะหา่ งของรอบเวลาละ 30 นาที
กำรนอนของนักเรียนปฐมวยั
1. จดั ห้องนอนให้มอี ากาศถา่ ยเท งดใชเ้ ครอ่ื งปรบั อากาศ
2. ครปู ระจําชน้ั ครูพีเ่ ล้ียง กํากับไม่ให้เล่นสมั ผสั กนั ขณะนอนหลบั
3. ใชอ้ ุปกรณ์เคร่ืองนอนส่วนตวั เฉพาะคน ผ้ปู กครองจดั เตรยี มให้นกั เรียนมาเอง และนํากลบั ไปซักในวนั หยุด
กำรมำรับนักเรียนกลับบ้ำน
1. ผู้ปกครองรบั นักเรียน ณ จุดรบั - สง่ ทโี่ รงเรยี นเตรยี มไวใ้ ห้ (จดุ ทส่ี ง่ นักเรยี นในตอนเช้า)
2. ผู้ปกครองผ่านจดุ คดั กรองของโรงเรียน โดยครูเวรประจําวนั ทาํ หน้าทค่ี ัดกรอง
3. โรงเรียนปลอ่ ยนักเรียนกลับบา้ นโดยมกี ารเหลอื่ มเวลา และเหลอ่ื มระดบั ชั้นเรยี น
- ชนั้ ปฐมวยั เวลา 15.10 น. ครูประจําชั้น/ครูพ่เี ล้ยี งนํานกั เรียนมาส่งให้กบั ผู้ปกครอง นกั เรียนอาจเปล่ยี น
จากการลงชื่อเปน็ การถ่ายรปู ผู้ปกครองกับนักเรียน เพื่อลดการสัมผัส
- ช้ันประถมศึกษา เวลา 15.30 น. ครปู ระจําช้นั นํานักเรียนเดนิ เปน็ แถวเว้นระยะจากห้องเรียนมาส่ง
ใหก้ ับผูป้ กครอง (กรณีผปู้ กครองมารบั เอง) ในกรณที นี่ กั เรียนน่งั รถตู้ รับ - สง่ มีพ่ีเลยี้ งรถตผู้ รู้ บั ผดิ ชอบนํา
นกั เรยี นมารบั เพ่ือข้ึนรถตรู้ บั – สง่ ดแู ลความเรยี บรอ้ ยและความปลอดภัยนักเรียนต้องเข้าแถว โดยเวน้
ระยะหา่ งทางสังคม
ดำ้ นกำรเงิน
1. ชาํ ระคา่ เทอม/คา่ เรยี นพเิ ศษตามเวลาที่กําหนด 08.00 – 15.30 น.
2. ให้ผปู้ กครองมาชาํ ระค่าเทอม/ค่าเรยี นพเิ ศษ โดยติดต่อสอบถามกับธรุ การการเงนิ
3. กรณีท่ีมสี ว่ นลด การเปลย่ี นแปลงรายงานทางการเงนิ จะมจี ดหมายแจ้งใหผ้ ู้ปกครองทราบ
15
- กรณีเปิดเรียนได้ตามปกติไม่มสี ่วนลด
- กรณีเปดิ ไม่ไดต้ ามปกติจะมีส่วนลดค่าแอร์ ค่าดนตรี คอมพิวเตอร์ วา่ ยนา้ํ ตามสัดสว่ นท่สี ่วนกลาง
กาํ หนด
ด้ำนอื่น ๆ
1. ประสานงานกบั เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาํ บล เพ่อื แนะนําใหค้ วามรู้และแนวปฏิบตั ิ
ใน เรื่องมาตรการแพรร่ ะบาดเชื้อโควิด2019(COVID-19) หรือการมาฉดี พ่นนํา้ ยาฆา่ เช้ือใหก้ บั โรงเรียน อย่างสมํ่าเสมอ
2. เน้นการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองและนักเรียนสวมแมสตลอดเวลาท่ีอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นใน
โรงเรียน
3. ติดตามครูเวรดูแลนักเรยี นตามจดุ ตา่ งๆใหง้ ดการเล่นท่มี ีการรวมตวั กันและให้ปฏิบตั ิตามมาตรการ
ของกระทรวงสาธารณสขุ อยา่ งเคร่งครัด
4. ขอความรว่ มมือกบั ผปู้ กครองงดการข้นึ อาคารเรยี นทกุ กรณี
5. ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองติดต่อสอบถามครูประจําชั้นทางกลุ่มไลน์ก่อนมาติดต่อกับทาง
โรงเรียนด้วยตนเอง หรอื มขี อ้ สงสัยตา่ งๆ
16
ภาคผนวก
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28