ทันตกาลพฤกษ์
ฉ บั บ ที่ 2 | ป ร ะ จำ เ ดื อ น พ ฤ ศ จิ ก า ย น 2 5 6 4
ข อ บ คุ ณ ภ า พ จ า ก : H T T P S : / / W W W . T N N T H A I L A N D . C O M / N E W S / S O C I A L / 6 0 3 5 6 /
สารบัญ
pg.01 pg.08
ประเพณีไทยลอยกระทง คนเด่น...คนดัง ของคณะ
เป็นเทศกาลของกลุ่มชาติพันธุ์ไทตะวันออก คณะทันตแพทยศาสตร์ ร่วมแสดงความยินดี
เฉียงใต้รวมทั้งประเทศไทย ... และภาคภูมิใจกับอาจารย์ นักศึกษา ที่สร้างชื่อ
เสียงให้กับคณะทันตแพทยศาสตร์
pg.03
pg.11
ข่าวสารคณะทันตแพทยศาสตร์
ข่าวประชาสัมพันธ์คณะ/เกร็ดความรู้
ข่าวเด่น..ข่าวดัง ประจำคณะทันต
แพทยศาสตร์ ตลอดทั้งเดือนตุลาคม นี้ ภาควิชาทันตกรรมจัดฟัน เปิดให้บริการคำ
ปรึกษา..../ พบกับเกร็ดน่ารู้เรื่อง "การนอน
กัดฟัน"
สืบสาน... ประเพณีไทยโบราณลอยกระทง ทั น ต ก า ล พ ฤ ก ษ์ | P A G E 1
"บุญสมมา บูชาน้ำ"
"วันลอยกระทง" เป็นเทศกาลของกลุ่มชาติพันธุ์ไทตะวันออกเฉียงใต้รวมทั้งประเทศไทย
ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ประเพณีนี้กำหนดขึ้นเพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์และขอขมาต่อ
พระแม่คงคาซึ่งเป็นเทวดาในคติฮินดู แต่เทศกาลนี้มีร่องรอยหลักฐานย้อนไปถึงจีนและอินเดีย
โบราณ[1] ในประเทศพม่า ใช้ชื่อว่า "เทศกาลตาซองได" (Tazaungdaing) ในประเทศจีน ใช้
ว่า "เทศกาลโคมลอย" โดยในปีนี้ตรงกับวันศุกร์ที่ 19 พฤศจิกายน 2564
ประเพณีลอยกระทงเป็นประเพณีโบราณของอินเดียที่ประเทศไทยรับเข้ามาปฏิบัติ แต่ไม่ปรากฏหลัก
ฐานชัดเจนว่าทำกันมาตั้งแต่เมื่อไหร่ เท่าที่ปรากฏกล่าวได้ว่ามีมาตั้งสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี พระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสันนิษฐานว่า เดิมทีเดียวเห็นจะเป็นพิธีของพราหมณ์กระทำ
เพื่อบูชาพระผู้เป็นเจ้าทั้งสาม คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ต่อมาได้ถือตามแนวทาง
พระพุทธศาสนามีการชักโคมเพื่อบูชาพระบรมสารีริกธาตุพระจุฬามณีในชั้นดาวดึงส์ และลอยโคมเพื่อ
บูชารอยพระพุทธบาท ซึ่งประดิษฐาน ณ หาดทรายแม่น้ำนัมมทา (แม่น้ำนัมมทา เป็นแม่น้ำที่คู่ขนานกับ
ทิวเขาวินธัย ไหลลงภาคตะวันตกของอินเดียแบ่งเขตอินเดียออกเป็นภาคเหนือและภาคใต้)
ตำนานที่หาหลักฐานยืนยันมิได้ กล่าวไว้ว่าในรัชสมัย พ่อขุนรามคำแหง มี นางนพมาศ หรือท้าว
ศรีจุฬาลักษณ์ เป็นผู้ประดิษฐ์กระทงขึ้นครั้งแรก โดยแต่เดิมเรียกว่าพิธีจองเปรียง ที่ลอยเทียน
ประทีป และนางนพมาศได้นำ ดอกโคทม ซึ่งเป็นดอกบัวที่บานเฉพาะวันเพ็ญเดือนสิบสองมาใช้
ใส่เทียนประทีป [ต้องการอ้างอิง] ดังปรากฏในตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์กล่าวถึงพระดำรัสของ
พระร่วงว่า "แต่นี้สืบไปเบื้องหน้า โดยลำดับกษัตริย์ในสยามประเทศ ถึงกาลกำหนดนักขัตฤกษ์
วันเพ็ญเดือน 12 ให้ทำโคมลอยเป็นรูปดอกบัว อุทิศสักการบูชาพระพุทธบาทนัมมทานทีตราบเท่า
กัลปาวสาน แต่ปัจจุบันมีหลักฐานว่าไม่น่าจะเก่ากว่าสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยอ้างอิงหลัก
ฐานจากภาพจิตรกรรมการสร้างกระทงแบบต่าง ๆ ในสมัยรัชกาลที่ 1 จากนั้นในสมัยรัชกาลที่ 2
ได้เปลี่ยนแปลงจากการทำจากดอกบัวเป็นต้นกล้วยเพราะดอกบัวดังกล่าวหายากและมีน้อย จึง
ใช้ต้นกล้วยทำแทนแล้วดูไม่สวยจึงใช้ใบตองมาพับแต่งจนสวยสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน
RESEARCH FANTASIA
SEASON XIII 2021
"ส่งงานวิจัยนักศึกษาไปสู่มาตรฐานระดับโลก"
ฝ่ายวิจัย บัณฑิตศึกษา และวิเทศสัมพันธ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จัด
กิจกรรมการแข่งขันการนำเสนอผลงานวิจัยแบบปากเปล่าโดยใช้ภาษาอังกฤษ Research
Fantasia Season XIII 2021 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้นักศึกษา
ทันตแพทย์ได้รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับผลงานวิจัยที่นำเสนอ และ
สามารถนำไปปรับปรุงผลงานให้ดียิ่งขึ้น อีกทั้งเป็นการส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศด้านการ
วิจัยของคณะทันตแพทยศาสตร์ นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการนำเสนอผล
งานวิจัยของคณะทันตแพทยศาสตร์ ปีนี้จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 13 ด้วยระบบ ONSITE และ
ONLINE โดยมีผู้สนใจทั้งคณาจารย์ ทันตแพทย์ นักศึกษาทันตแพทย์ ให้ความสนใจเข้า
ร่วมกิจกรรมกว่า 100 คน จัดขึ้น ณ ห้อง Smart Classroom ชั้น 5 อาคารเฉลิมพระเกียรติ
6 รอบ พระชนมพรรษา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่ 14 ทั น ต ก า ล พ ฤ ก ษ์ | P A G E 3
ตุลาคม 2564 ที่ผ่านมา
การแข่งขันแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ประเภท Basic Science
ประเภท Basic Science ประเภท
Clinical Application ประเภท Clinical อันดับ 1 ชื่อผลงาน Cytotoxicity of oral
or Community Prevention/Public moisturizer containing chitosan and
Health Researchและ รางวัล Popular poloxamer 407 on human gingival
Vote อีก 1 รางวัล ผลการแข่งขันมีดังต่อ fibroblasts
ไปนี้ นำเสนอผลงานโดย นางสาวสิยาภรณ์ เพชร
สุข นางสาวสุภัคศิริ วิมลศรีนราชัย นายดนุ
ประเภท Clinical Application เดช เรืองเศรษฐวิทย์
อาจารย์ที่ปรึกษา คือ ผศ.วิไลรัตน์ สฤษฎีชัย
อันดับ 1 The development of mandibular กุล ผศ.ปรมาภรณ์ กลั่นฤทธิ์ รศ.สุวิภา อึ้ง
advancement device for obstructive sleep ไพบูลย์
apnea patients: A finite element study อาจารย์ที่ปรึกษาด้านสถิติ คือ ผศ.รัชฎา
นำเสนอผลงานโดย นายกิตติพิชญ์ ศรีสระน้อย ฉายจิต
นางสาวชนิสรา ธนาไชยสกุล นางสาวปิญชาน์ อันดับ 2 ชื่อผลงาน Cell permeation and
สันติวิวัฒนพงศ์ subcellular localization of azulene
อาจารย์ที่ปรึกษา คือ ผศ.สุพรรณิการ์ เรืองศรี photosensitizer in inflammatory and
รศ.พูนศักดิ์ ภิเศก ดร.ยศกร ประทุมวัลย์ normal peripheral blood mononuclear
อันดับ 2 Comparison of effectiveness of cells
dust protecting between Portable dental นำเสนอผลงานโดย นางสาวอรุณรุ่ง กันธิยะ
dust collector box mark II and Automatic นางสาวนัจกร อยู่หุ่น นางสาวพัชราพร คล้าย
aspirator brand TISSI Dental Minibox พิทักษ์
EMC-MAN อาจารย์ที่ปรึกษา คือ รศ.ธีระศักดิ์ ดำรง
นำเสนอผลงานโดย นายจรณินท์ ศรีษะนา นาย รุ่งเรือง อาจารย์ที่ปรึกษาด้านสถิติ คือ
วฤณ สุวรรณราช นายนพรุจ พูลเพิ่มยศ รศ.วิลาวัลย์ วีระอาชากุล
อาจารย์ที่ปรึกษา คือ ผศ.สุวดี เอื้ออรัญโชติ
อ.ชัชวาล อัยยาธิติ ทั น ต ก า ล พ ฤ ก ษ์ | P A G E 4
ประเภท Clinical or Community
Prevention/Public Health Research
อันดับ 1 A retrospective clinical study on
the failure and associated factors of
posterior light-curing pit and fissure
sealant in a pediatric dental clinic setting
over 12years: a multilevel analysis
นำเสนอผลงานโดย
นายพีรวิชญ์ พึ่งกิจ นายศิริวัฒน์ เตียตระกูล
นายวนกร อารียโสภณ
อาจารย์ที่ปรึกษา คือ อ.ศุภวิชญ์ หมอกมืด
อาจารย์ที่ปรึกษาด้านสถิติ คือ อ.ประภัสรา ศิริ
กาญจน์
อันดับ 2 Longitudinal occlusal changes of
primary dentition to mixed dentition นำ
เสนอผลงานโดย นายธนานนท์ โสดาภักดิ์
นางสาวนงนภัส ลักษณาวงษ์ นางสาวสุรภา เดช
รุ่งโรจน์ปัญญา
อาจารย์ที่ปรึกษา คือ รศ.เข็มพร กิจสหวงศ์
ประเภท Popular Vote ทัทันนตตกกาาลลพพฤฤกกษ์ษ์| | PPAAGGEE 55
ชื่อผลงาน
Cell permeation and subcellular
localization of azulene photosensitizer
in inflammatory and normal peripheral
blood mononuclear cells
นำเสนอผลงาน โดย
นางสาวอรุณรุ่ง กันธิยะ นางสาวนัจกร อยู่
หุ่น นางสาวพัชราพร คล้ายพิทักษ์
อาจารย์ที่ปรึกษา คือ
รศ.ธีระศักดิ์ ดำรงรุ่งเรือง
อาจารย์ที่ปรึกษาด้านสถิติ คือ
รศ.วิลาวัลย์ วีระอาชากุล
ทั น ต แ พ ท ย์ รั บ ห น้ า 2 1
ม อ บ อุ ป ก ร ณ์ POPSTARMAG.CO.TH | 2564
ส นั บ ส นุ น ก า ร
เ รี ย น รู้ เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2564 ที่ผ่านมา สำนัก
หอสมุด มหาวิทยาลัยขอนแก่น นำโดย
ณ ห้องสมุดสมนึก พูนทรัพย์ รศ.นพ.สุพัชญ์ สีนะวัฒน์ ผู้อำนวยการ
คณะทันตแพทยศาสตร์ พร้อมด้วยคณะผู้บริหารสำนักหอสมุด ส่ง
มหาวิทยาลัยขอนแก่น มอบเครื่อง VR Headset อุปกรณ์สนับสนุน
การเรียนรู้ผ่าน metaverse experience
ให้กับห้องสมุดสมนึก พูนทรัพย์ โดยมี
รศ.ดร.ทพญ.วรานุช ปิติพัฒน์ คณบดีคณะ
ทันตแพทยศาสตร์ พร้อมด้วย นางสาวจิรภา
วรรณคำ หัวหน้างานการศึกษา และนาย
เดชศักดิ์ ศานติวิวัฒน์ หัวหน้าหน่วยห้อง
สมุด เป็นผู้รับมอบ ณ ห้องสมุดสมนึก พูน
ทรัพย์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น
ทันตะให้การต้อนรับผู้บริหารจาก
คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รศ.ดร.ทพญ.วรานุช ปิติพัฒน์ คณบดี รศ.น.สพ.เจษฎา จิวากานนท์ รอง
พร้อมผู้บริหารคณะ หัวหน้างาน หัวหน้า คณบดีฝ่ายวิชาการ รศ.น.สพ.พีระพล
หน่วย ให้การต้อนรับ คณะผู้บริหารจาก สุขอ้วน รองคณบดีฝ่ายวิจัย นายกฤษณ
คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ชัย แก้วสกุลธรรม ผู้อำนวยการกอง
ขอนแก่น ประกอบด้วย รศ.น.สพ.บัณฑิตย์ บริหารงานคณะ นางสุพรรณี ปูนอน
เต็งเจริญสกุล คณบดีคณะสัตว หัวหน้างานบริหารและธุรการ นาง
แพทยศาสตร์ รศ.น.สพ.ปรีณัน จิตะสมบัติ สมบัติ แสงพล หัวหน้างานวิจัยและ
รองคณบดีฝ่ายบริหารและประกันคุณภาพ บริการการศึกษา
ผู้บริหารคณะทั นตแพทยศาสตร์ ให้ การต้ อนรับผู้บริหารจาก
คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
นายชัยพร สร้อยคำ หัวหน้างานห้องปฏิบัติ การดำเนินงาน การปฏิบัติงานจริงของแต่ละ ทั น ต ก า ล พ ฤ ก ษ์ | P A G E 7
การและสัตว์ทดลอง นางอรัญญา ศิริไกร หน่วยงาน รวมไปถึงการกำหนดเป้าหมาย
วรรณ หัวหน้างานแผนและงบประมาณ ความสำเร็จพร้อมวิธีแก้ไขปัญหาในขณะ
นางสาวฐานิตย์ อริยะกอง หัวหน้างานบริหาร ปฏิบัติงานเพื่อเป็นการพัฒนาคนในองค์กรให้
และธุรการ (โรงพยาบาลสัตว์) ในโอกาสเข้า เกิดความรู้ความเชี่ยวชาญอย่างต่อเนื่องอีก
พบเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “การจัดทำข้อ ด้วย จัดขึ้นเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2564 ที่ผ่าน
ตกลงการปฏิบัติงานและการรายงานผลการ มา ณ ห้องอบรมการศึกษาต่อเนื่อง ชั้น 7
ปฏิบัติงาน” โดยทางคณะมีการนำเสนอหลัก อาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ
เกณฑ์และประกาศที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำข้อ พระชนมพรรษา คณะทันตแพทยศาสตร์
ตกลงการปฏิบัติงาน และรายงานผล มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ขอ
แสดง
ความ
ยินดี
ผศ.ดร.ทพ.ฑีฆายุ พลางกูร จอร์นส
ผู้ ไ ด้ รั บ ก า ร ป ร ะ ก า ศ เ กี ย ร ติ คุ ณ
สาขา ผู้ส่งเสริมพัฒนาการแพทย์ สาธารณสุขดีเด่น
จ า ก โ ค ร ง ก า ร รั ก แ ผ่ น ดิ น ไ ท ย . . .
ร า ง วั ล แ ห่ ง เ กี ย ร ติ ย ศ พ ล เ อ ก พิ จิ ต ร กุ ล ล ะ ว ณิ ช ย์ อ ง ค ม น ต รี ใ น รั ช ก า ล ที่ 9
ขอ
แสดง
ความ
ยินดี
ผศ.ดร.ทพ.ฑีฆายุ พลางกูร จอร์นส
ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง
รองศาสตราจารย์
สาขาทันตกรรมบดเคี้ยวและความเจ็บปวดช่องปากใบหน้า
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ขอ
แสดง
ความ
ยินดี
ทพญ.ทวิพร ลิมป์รัชตามร
ทันตแพทย์ผู้ได้รับ
ในงานประชุม 20th Scientific Meeting of Asian Academy of Orofacial Pain and
Temporomandibular Disorders (AAOT2021)) ที่ ประเทศเกาหลีใต้
ชื่อหัวข้อนำเสนอ Familial Trigeminal Neuralgia- A Case Report and Genetic Predisposing Study
อาจารย์ที่ปรึกษา ได้แก่
ผศ.ดร.ทพ.ฑีฆายุ พลางกูร จอร์นส ผศ.นพ.กุณฑล วิชาจารย์ ผศ.ดร.ทพญ.สุพรรณิการ์ เรืองศรี
อ.ดร.ทพ.ศุภวิชญ์ หมอกมืด อ.ดร.ทพญ.ปฏิมาพร พึ่งชาญชัยกุล
ทั น ต ก า ล พ ฤ ก ษ์ | P A G E 1 1
ค ลิ นิ ก ทั น ต ก ร ร ม จั ด ฟัน ทั น ต ก า ล พR ฤE กI Sษ์E| |P PA AGGE E1 24
ให้คำปรึกษา..
-รักษาทางทันตกรรมจัดฟัน
- ร า ค า ค ลิ นิ ก ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น
- การจัดฟันด้วยเครื่องมือต่างๆ เช่น เครื่องมือจัดฟันชนิดติดแน่น
เครื่องมือจัดฟันใส
- การจัดฟันร่วมกับการผ่าตัดกระดูกขากรรไกร
- การจัดฟันเพื่อกระตุ้นการเจริญเติบโตของกระดูกขากรรไกร
- การจัดฟันเพื่อส่งเสริมการบูรณะฟันและฟื้ นฟูสภาพช่องปาก
ใ ห้ ก า ร รั ก ษ า โ ด ย นั ก ศึ ก ษ า ทั น ต แ พ ท ย์ ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า
ภายใต้การดูแลจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านทันตกรรมจัดฟัน
**โดยเข้ารับคำปรึกษา ติดต่อสอบถามนัดหมายในวันและเวลาราชการ**
คลินิกทันตกรรมจัดฟัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 08.00-16.00 น.
ID LINE : 088-029 7040 โทรศัพท์ 088 029 7040
การนอนกัดฟัน
อย่างไรถึงเรียกว่าการกัดฟัน สาเหตุของการนอนกัดฟัน ทั น ต ก า ล พR ฤE กI Sษ์E| |P PA AGGE E1 34
การนอดนกัดฟัน... ปัญหาทางด้านจิตใจ ได้แก่
หมายถึง การกัดเน้นหรือ ความเครียด อาจเป็นผลจาก
เคี้ยวระหว่างฟันกับฟัน ซึ่ง 1.ความหวาดกลัว
ไม่ใช่การบดเคี้ยวอาหารตาม 2.ความวิตกกังวล
ปกติ เกิดขึ้นได้ในขณะนอน 3.ความผิดหวัง
หลับ อาจเกิดขึ้นโดยมีเสียง ปัญหาจากฟัน เนื่องจากมีการสบฟันที่
ให้ได้ยิน หรือไม่มีเสียงก็ได้ ไม่สัมพันธ์กัน อาจเป็นผลมาจาก
1.ฟันซ้อนเก ผิดตำแหน่ง
ลักษณะอาการ 2.ฟันโยกหรือเป็นโรคปริทันต์
3.ฟันล้มเอียง หรือยื่นยาวลงมา
1.ฟันสึก เป็นรอยมันวาว เนื่องจากถอนฟันไปแล้วไม่ได้ใส่ฟัน
2.ฟันโยก เนื่องจากมีแรงกดที่ฟัน ปลอม
มากกว่าปกติ 4.ฟันปลอมซึ่งมีการสบฟันไม่สัมพันธ์
3.ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อบริเวณ กับฟันธรรมชาติ
ใบหน้า มักจะรู้สึกปวดเมื่อยหรือดึง
หลังจากตื่นนอนใหม่ๆ บริเวณแก้ม จะรักษาได้อย่างไร
หน้าหูและต้นคอ
4.กล้ามเนื้อบดเคี้ยว โดยเฉพาะ ควรรีบมาพบทันตแพทย์ เพื่อ
บริเวณแก้มมีขนาดใหญ่ขึ้น ขอคำปรึกษา คำแนะนำ และ
5.อาจมีเสียงคลิ๊ก ที่บริเวณข้อต่อขา รับการรักษาที่เหมาะสม เช่น
กรรไกรเวลาอ้าหรือหุบปาก ใส่เฝือกสบฟัน (มีลักษณะ
6.ฟันหัก ฟันแตก เป็นแผ่นพลาสติกผิวเรียบ
7.มีปุ่มกระดูกด้านในของขากรรไกร สวมกับฟันบนช่วยกระจาย
โดยเฉพาะขากรรไกรล่าง แรงเมื่อกัดกับฟันล่าง) การ
รักษาวิธีอื่นๆ เพื่อลดความ
เจ็บปวดและความไม่สบายที่
เกิดขึ้น
REISE | PAGE 4