The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ศิลปศึกษา ทช31003 ม.ปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lubohsawa, 2021-06-02 03:47:49

ศิลปศึกษา ทช31003 ม.ปลาย

ศิลปศึกษา ทช31003 ม.ปลาย

91
โอกาสความกา วหนาในอาชีพ

นกั ออกแบบเครื่องเฟอรนิเจอรควรศึกษากลยุทธทางการตลาดเพื่อทําธุรกิจสวนตัว อาจสรางเว็บไซต
แสดงสินคา ท่ีออกแบบใหผ ซู ือ้ จากทั่วโลกเขาชมและสั่งซื้อได ควรสงสินคาเครื่องเรือนไปแสดงในงานตาง ๆ
ทจี่ ัดขึน้
อาชีพทเี่ กี่ยวเน่อื ง

ผสู งออกเฟอรนิเจอร ผอู อกแบบสนิ คาของขวัญ หรือของเลนสําหรับเด็กหรือของขวัญงานเทศกาลใน
ตา งประเทศ สถาปนกิ
3. นักออกแบบเสอ้ื ผาแฟชน่ั (Fashion - Designer)

ลกั ษณะภาพแสดงการออกแบบเส้อื ผา แฟช่นั ของนกั ออกแบบอาชีพ

ลักษณะของงานทที่ ํา
ผูประกอบอาชีพนักออกแบบเส้ือผาแฟช่ัน จะมีหนาที่คลายกับนักออกแบบเครื่องประดับหรือ

นักออกแบบเครื่องเรือน โดยมีหนาท่ี วิเคราะห ศึกษาวัสดุที่นํามาออกแบบสิ่งทอ ลายผา และเน้ือวัสดุ เพ่ือตัด
เย็บ และวิธีการตัดเย็บ ควบคุมการตัดเย็บใหเปน ไปตามแบบท่ีออกไวและสามารถใหคําแนะนําในเรื่องการ
แกไขขอบกพรอ งของรูปรางแตละบคุ คลโดยมพี ้ืนฐานความเขาใจในศิลปะการแตง กายของไทยโบราณและการ
แตงกายแบบตะวันตกยุคตางๆ ในการออกแบบ ตลอดจนในขน้ั ตอนการผลิตสามารถนาํ เทคนคิ ทางเทคโนโลยี
ที่มตี อ การสรา งงานศลิ ปม าประยุกตใ ชโ ดยจะมีข้ันตอนการทํางานออกแบบใหผูวาจาง ดงั น้ี

92

1. ตองรวบรวมความคิดขอมลู ทเ่ี ปนสดั สว นจากลูกคาหรือผวู าจาง
2. ศึกษารปู แบบงานทมี่ อี ยูถา สามารถนํากลับมาใชใหมหรือดัดแปลงเพื่อลดระยะเวลาการทํางานและ
ตน ทุนการผลิต ในเวลาเดยี วกนั ตองทําการคน ควา วิจยั ดว ย
3. ทาํ การรางแบบครา วๆ โดยคุมใหอยใู นแนวความคดิ ดังกลา วใหไ ดตามความตองการ
4. นําภาพท่ีราง แลวใหผูวาจางพิจารณา เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการผลิตรวมท้ังการใช วัตถุดิบ
และประเมินราคา
5. นําภาพรางที่ผา นการพิจารณาและแกไขแลว มาสรา งแบบ (Pattern) วธิ ีท่ีจะตองตดั เยบ็ ใน รายละเอียด
ปก กนุ เดนิ ลาย หรอื อัดพลดี แลว นํามาลงสตี ามจริง เขียนภาพและอธิบายวิธีการทําใหละเอียดและชัดเจนท่ีสุด
เทาทสี่ ามารถจะทาํ ไดเพ่อื ใหชางทําตามแบบได
6. สงแบบหรือชุดท่ีตัดเนาไวใหฝายบริหารและลูกคา หรือผูวาจาง พิจารณาทดลองใสเพื่อแกไข
ขอบกพรองข้ันสุดทาย
7. นําแบบที่ผูวา จา งเห็นชอบทาํ งานประสานกบั ชา งตัดเยบ็ ชา งปก เพอ่ื ใหไ ดผลงานตามที่ลกู คา ตอ งการ
สภาพการจางงาน

สาํ หรับนักออกแบบเสอ้ื ผาแฟช่ันท่มี คี วามสามารถและผลงานเมอื่ เริ่มทํางานกับบรษิ ัทผลิตและ
ออกแบบเส้ือผาอาจไดอตั ราคาจา งเปน เงนิ เดอื นสําหรบั วฒุ กิ ารศึกษาระดบั ประโยควิชาชีพและประโยควิชาชีพ
ชนั้ สูงหรือเทยี บเทา อาจไดร ับอตั ราคาจางขน้ั ตน เปน เงนิ เดอื นประมาณ 8,000 -10,000 บาท สว นผูส ําเรจ็
การศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี จะไดรบั เงินประมาณ 9,000 - 10,000 บาท หรืออาจมากกวา ขึ้นอยูกบั ฝมอื การ
ออกแบบและประสบการณข องนกั ออกแบบแตล ะคน มสี วสั ดกิ าร โบนสั และสิทธิพิเศษอ่นื ๆ ขึน้ อยูก บั ผล
ประกอบการของเจา ของกจิ การ

สวนมากนักออกแบบเสื้อผาหรือแฟช่ันจะมีรานหรือใชบานเปนรานรับออกแบบตัดเส้ือผาเปนของ
ตนเองเปน สวนใหญเ น่ืองจากเปน อาชีพอิสระทีม่ รี ายไดดี

สําหรับนักออกแบบประจําหองเส้ือหรือรานเสื้อใหญๆ หรือโรงเรียนสอนตัดเสื้อที่มีผลงานแสดง
เปน ประจํานน้ั เปน ผทู มี่ ปี ระสบการณส ูงและตองมผี ูสนับสนนุ คา ใชจา ยในการแสดงผลงานและคอลเล็คช่ันของ
ตนเอง
สภาพการทาํ งาน

ผปู ระกอบการนักออกแบบเสื้อผาแฟช่ันในสถานท่ีประกอบการผลิตเสื้อผาสําเร็จรูปจะปฏิบัติหนาที่
เหมอื นในสาํ นกั สรา งสรรคท ั่วไปท่คี อ นขา งเปน สัดสว น มอี ปุ กรณ เครื่องใชในการออกแบบ เชน โตะเขยี นแบบ
หุนลองเสือ้ ขนาดตางๆ ตามทต่ี ัดเย็บ ผา กระดาษสรางแพทเทิรน และสสี าํ หรับลงสี เพื่อใหภาพออกแบบเหมือน
จรงิ อาจมีเครอื่ งคอมพวิ เตอรชว ยในการออกแบบและใหส ีไดเ ชน กนั หรอื สแกนภาพที่วาดแลวลงในคอมพวิ เตอร
เพอื่ ชวยใหการนําเสนอตอ ลกู คาสมบูรณย่ิงข้นึ ในกรณีผลิตเส้ือผาสําเร็จรูปอาจมีผูชวยทํางานในการสรางแบบ
(Pattern)

93

คณุ สมบตั ขิ องผูป ระกอบอาชีพ
ผสู นใจในอาชีพนักออกแบบเสอ้ื ผา แฟช่ันควรมีคณุ สมบัตทิ ั่วๆ ไปดังน้ี
1. มีความคิดสรา งสรรค มีความชอบและรกั งานดา นออกแบบ มมี ุมมองเรื่องของศิลปะรักความสวยงาม

อาจมพี ้นื ฐานทางดา นศลิ ปะบา ง
2. มีความกระตอื รือรน ชางสงั เกตวา มีความเปล่ยี นแปลงอะไรบาง กลาคดิ กลา ทํา กลาที่จะถายทอด
3. มคี วามสามารถในการถายทอดความคิด หรอื แนวคดิ ใหผ อู นื่ ฟงได

ผูทจ่ี ะประกอบอาชพี นกั ออกแบบเสื้อผาแฟช่นั ควรมีการเตรียมความพรอมในดานตอ ไปน้ี คือ
ผทู ม่ี ีคณุ สมบัติข้ันตน ดงั กลา ว สามารถเขารับการอบรมหลกั สูตรระยะสั้นในการออกแบบตัดเยบ็ เสอื้ ผา

ไดท ีโ่ รงเรียนหรือสถาบันการออกแบบตดั เย็บเส้ือผาที่มีช่ือเสียงทั่วไป ซ่ึงเปดรับผูสนใจเขาเรียนโดยไมจํากัด
วุฒิการศึกษาเพราะการออกแบบเส้ือผาขึ้นอยูกับความริเริ่มสรางสรรคประสบการณและการฝกหัดสําหรับ
ผูสําเรจ็ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ที่ตองการศึกษาตอในหลักสูตรปริญญาตรี นอกจากโรงเรียนหรือวิทยาลัย
สาย วิช าชี พแ ลว ยังสาม าร ถสอบ คัด เลือกเขา ศึก ษา ตอร ะดั บอุ ดม ศึก ษา โดย มีค ณะ ศิลปก รร ม
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร ไดเปดสาขาวชิ าการ ออกแบบพสั ตราภรณผูท ี่เขารับการศึกษาในสาขาวิชาทางดานน้ี
จะไดร บั ความรูใ นเร่อื งของความรพู นื้ ฐานเกีย่ วกบั การพัฒนาสิง่ ทอและเครื่องแตงกายของไทย ตะวันออก และ
ตะวันตก เพ่อื สบื ทอดมรดกและศลิ ปสิ่งทอของไทยในทอ งถน่ิ ตา งๆนอกจากน้ี ยงั มสี ถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล
วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ คณะคหกรรมศาสตรส าขาผา และเครื่องแตงกาย ธุรกจิ เสอ้ื ผา ฯลฯ
โอกาสในการมงี านทํา

ผูที่สําเร็จการศึกษาแลวสามารถนําความรูซ่ึงเปนที่ตองการของตลาดในยุคปจจุบัน คือ สามารถ
ออกแบบสง่ิ ทอสาํ หรบั อุตสาหกรรมระดบั ตา งๆ ได มีความรูในเร่อื งการบริหารการตลาด และการใชเทคโนโลยี
ทจี่ ําเปน ตอ อตุ สาหกรรมสิ่งทอและเสื้อผาสําเร็จรปู

ในวงการแฟช่ันในประเทศไทยยังไมสามารถเปนศูนยกลางของการออกแบบแฟช่ันไดแตกลับเปน
ศูนยกลางของวัตถุดิบอยางเชนผาไหมและการผลิตเส้ือผาเพ่ือการสงออกภายใตยี่หอสินคาตางประเทศและ
เสื้อผาสําเร็จรูป เพราะมคี า แรงราคาถกู

อยา งไรก็ตาม ในชวงทศวรรษท่ีผา นมาในวงการออกแบบเสื้อผา ไทยถือวามคี วามสาํ เร็จในระดับหนึ่งที่
การผลิตเสื้อผาสําเร็จรูปภายใตย่ีหอไทยไดมีการสงออกไปขายในตางประเทศบางแลว เชน Fly Now หรือใน
เรอ่ื งของการสนบั สนนุ การออกแบบลายผาไหมทม่ี ลี ายเปนเอกลักษณและการใหสีตามที่ลูกคา ในตางประเทศ
ตองการ และสามารถสง ออกได

นกั ออกแบบแฟชัน่ ในตางประเทศหลายสถาบันตางก็ใหความสนใจแนวการแตงกาย วัฒนธรรมและ
การใชช ีวิตอันเปน เอกลกั ษณของชาวเอเชียมากขึ้น ดังน้ันนักออกแบบแฟชั่นไทยควรหันมาสนใจ วัตถุดิบใน
ประเทศและคิดสรา งสรรคง านทเ่ี ปน เอกลักษณและโดดเดน เพราะแรงงานและวัตถุดิบในประเทศยังมีราคาถูก
ตลาดส่ิงทอไทยในตางประเทศ เชน เสอ้ื ผาถกั สําเร็จรปู เส้ือผาทอสําเรจ็ รูปยังมศี ักยภาพในการสงออกสูง

94

นอกจากน้รี ฐั บาลและแนวโนมของคนไทยกาํ ลงั อยูในระหวางนยิ มเลือกใชส ินคาไทยโดยเฉพาะเสื้อผา
สาํ เรจ็ รปู และผลติ ภณั ฑเครอ่ื งนงุ หม ท่ไี ดม าตรฐานการสงออกนับเปนโอกาสอันดีที่นักออกแบบแฟช่ันสามารถ
สรางสรรคง านไดเตม็ ท่หี รือมแี นวคดิ รูปแบบการสรา งสรรคงานใหม หรือแนวโนมใหมที่มีเอกลักษณโดดเดน
ในการใชว ัสดุในทอ งถ่ินมาประยกุ ตใ ช ขยายแหลงวตั ถุดบิ เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการผลิตพยายามใหตนทุนการผลิต
ตอหนวยต่ํามากที่สุด เพ่ือคงตนทุนการผลิตเสื้อผาสําเร็จรูปของไทยไวเผชิญกับการเปดเสรีสิ่งทอในป 2548
เพราะเวลาน้ันผูนําดานการตลาด แฟชั่นและเทคโนโลยีการผลิตเทาน้ันท่ีสามารถจะครองตลาดส่ิงทอได
ในตางประเทศหรือแมแตตลาดเสื้อผาบริเวณชายแดนไทยท่ีคูแขงขันสามารถนําเสื้อผาเขามาตีตลาดไทยได
นักออกแบบแฟชนั่ จึงเปน สวนสาํ คัญที่จะตองรกั ษาฐานตลาดของไทยไวท้งั ในเชิงรกุ ในการผลิต สรางเครือขาย
ทั้งระบบขอมลู ขา วสาร และเครือขายจําหนา ยสินคา
โอกาสความกา วหนาในอาชีพ

ปจจัยที่ทําใหผูท่ีประกอบอาชีพนักออกแบบแฟชั่น-นักออกแบบเส้ือผา (Fashion-Designer) ประสบ
ความสาํ เร็จและกาวหนาในอาชีพกค็ ือการคงไวซึ่งการเปน นกั ออกแบบเส้อื ผาหรือแฟชน่ั ดีไซเนอรไ ว ซ่ึงตองใช
โอกาสเวลา และคาใชจายในการผลิตและการแสดงผลงานที่มีตนทุนตํ่าใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและ
เตม็ ศักยภาพ

นักออกแบบแฟชนั่ ไมควรย่ําอยูกบั ทีค่ วรมคี วามคิดเชิงรกุ มากกวารบั เพียงคาํ สั่งจากลูกคา ควรศึกษาหา
ความรูท่ีเกีย่ วขอ งกับการประกอบอาชพี และควรสรา งโอกาสใหต นเอง เชน การศึกษาภาษาตางประเทศเพิ่มเติม
ศึกษาดานการตลาด ความตองการของลูกคากลุมเปาหมายลูกคาใหม เสาะหาแหลงตลาดวัตถุดิบเพ่ิม
ประสิทธภิ าพการผลิตทคี่ รบวงจร สรา งแนวโนมแฟชั่น ศึกษารปู แบบของสนิ คาจากตางประเทศ และขอกีดกัน
ทางการคาซงึ่ เปนปจ จยั ในความกาวหนาทันโลก และยืนอยูในอาชพี ไดนานและอาจสรางผลงานท่ีคนไทยภูมิใจ
หนั มาใสเ สอ้ื ผาทผี่ ลิตโดยนกั ออกแบบเส้ือผาไทยกันท่วั ประเทศ
อาชพี ทีเ่ กยี่ วเนือ่ ง

ครู – อาจารยในวิชาท่เี ก่ียวของ เจาของรานหรือหองเส้ือ เจาของโรงเรียนสอนออกแบบตัดเย็บเส้ือผา
นักออกแบบเคร่อื งประดับ

95

กจิ กรรม
1. ใหผเู รยี นเขยี นอธิบายลักษณะอาชพี ดานการออกแบบ ตกแตง ที่อยูอาศัย ออกแบบเครื่องเรือน และ

ออกแบบแฟชั่นตามที่ผูเรียนเขาใจ
2. ใหผูเรียนอธิบายถึงคุณสมบัติของผูท่ีจะประกอบอาชีพดานการออกแบบตกแตงท่ีอยูอาศัย

ออกแบบเคร่อื งเรอื น และออกแบบแฟชั่น ตามท่ีผเู รยี นเขาใจ
นาํ คําอธิบายในขอ 1 และ ขอ 2 เขา รวมอภิปรายแสดงความคดิ เห็นในกลมุ การเรียนของผเู รยี น

96

บรรณานุกรม

กําจร สนุ พงษศ ร.ี ประวัติศาสตรศลิ ปะตะวันตก. กรุงเทพฯ : คาลเดยี เพรสบคุ , ๒๕๕๒.
จรี พันธ สมประสงค. ประวตั ิศลิ ปะ. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๓๓.
จรี พนั ธ สมประสงค. ศิลปะประจาํ ชาต.ิ กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร, ๒๕๓๓.
จรี พันธ สมประสงค. ทัศนศิลป ม.๑ – ๒. กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร, ๒๕๓๓.
จีรพนั ธ สมประสงค. ศิลปะกบั ชีวติ . กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร, ๒๕๔๑.
ชะลูด นิม่ เสมอ. องคป ระกอบศลิ ป. กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช, ๒๕๓๙.
ทวีเดช จ๋วิ บาง. ความคิดสรางสรรคศ ลิ ปะ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๓๗.
ประเสริฐ ศิลรัตนา. สุนทรยี ะทางทศั นศลิ ป. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๔๒.
ประเสรฐิ ศิลรตั นา. ความเขาใจศลิ ปะ. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร, ๒๕๒๕.
มานพ ถนอมศรี และคณะ. ศลิ ปะกบั ชวี ิต ๔. กรงุ เทพฯ : บรทั สาํ นกั พิมพแม็ค จาํ กดั , ๒๕๔๒.
มะลิฉัตร เออ้ื อานนท. สุนทรยี ภาพและศลิ ปวจิ ารณ. กรงุ เทพฯ : สํานกั พมิ พแหงจฬุ าลงลงกรณ

มหาวิทยาลยั , ๒๕๕๓.
วริ ณุ ต้งั เจรญิ , อาํ นาจ เยน็ สบาย. สรา งสรรคศ ิลปะ ๔. กรุงเทพฯ : อักษราเจรญิ ทัสน, ม.ป.ป.
วชิ าการ, กรม. ทฤษแี ละการปฏบิ ัตกิ ารวจิ ารณศ ลิ ปะ, กรงุ เทพฯ : องคการคา ครุ สุ ภา, ๒๕๓๓.
วิชาการ, กรม. ศลิ ปะกบั ชวี ติ ม.๑-๖. กรุงเทพฯ : องคการคา ครุ สุ ภา, ๒๕๓๖.
วิรตั น พชิ ญไพบลู ย. ความเขาใจศลิ ปะ, กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช, ๒๕๒๔.
วริ ตั น พิชญไพบูลย. ความรูเกยี่ วกบั ศลิ ปะ, กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๐.
วญิ ู ทรพั ยป ระภา และคณะ. ศิลปะกับชีวติ ม.๑-๖, กรุงเทพฯ : ประสานมติ ร, ๒๕๓๕.
ศิลป พรี ะศร.ี ทฤษฎีองคป ระกอบ, กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๔๔๗.
สดุ ใจ ทศพร และโชดก เกง เขตรกิจ. ศลิ ปะกบั ชีวิต ม.๑-๖. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๓๖.
อารี สทุ ธพิ นั ธ. ศลิ ปะนิยม. กรุงเทพฯ : กระดาษสา, ๒๕๒๘.

97

ท่ปี รกึ ษา คณะผจู ดั ทาํ

1. นายประเสริฐ บญุ เรอื ง เลขาธกิ าร กศน.
2. ดร.ชัยยศ อมิ่ สวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน.
3. นายวชั รินทร จําป รองเลขาธกิ าร กศน.
4. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ ท่ปี รกึ ษาดานการพัฒนาหลักสตู ร กศน.
5. นางรกั ขณา ตณั ฑวุฑโฒ ผูอํานวยการกลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
ผเู ขยี นและเรียบเรียง ขาราชการบาํ นาญ
1. นายวิวฒั นไ ชย จันทนสคุ นธ กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
2. นายสุรพงษ ม่ันมะโน ขาราชการบํานาญ
ผบู รรณาธกิ าร และพฒั นาปรับปรงุ ขาราชการบาํ นาญ
กศน. เฉลมิ พระเกยี รติ จ.บุรีรมั ย
1. นายววิ ฒั นไ ชย จันทนสุคนธ สถาบัน กศน. ภาคใต
2. นายจาํ นง วันวชิ ยั สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก
3. นางสรญั ณอร พฒั นไพศาล สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก
4. นายชยั ยนั ต มณสี ะอาด กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
5. นายสฤษดช์ิ ยั ศิริพร
6. นางชอ ทพิ ย ศิรพิ ร กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
7. นายศุภโชค ศรรี ตั นศลิ ป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
คณะทํางาน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
กลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
1. นายสรุ พงษ มัน่ มะโน
2. นายศภุ โชค ศรีรัตนศลิ ป
3. นางสาววรรณพร ปท มานนท
4. นางสาวศริญญา กุลประดษิ ฐ
5. นางสาวเพชรนิ ทร เหลืองจติ วัฒนา

98

ผพู ิมพตน ฉบบั กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
1. นางสาวปยวดี คะเนสม กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
2. นางสาวเพชรนิ ทร เหลอื งจติ วัฒนา กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
3. นางสาวกรวรรณ กววี งษพ ิพฒั น กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
4. นางสาวชาลินี ธรรมธษิ า กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
5. นางสาวอลิศรา บา นชี
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
ผอู อกแบบปก ศรรี ัตนศิลป
1. นายศภุ โชค

99

ผพู ฒั นาและปรบั ปรงุ คร้งั ที่ 2

คณะที่ปรึกษา บุญเรือง เลขาธิการ กศน.
อ่มิ สุวรรณ รองเลขาธิการ กศน.
นายประเสริฐ จําป รองเลขาธิการ กศน.
นายชัยยศ จันทรโ อกุล ผูเ ชยี่ วชาญเฉพาะดานพฒั นาส่อื การเรียนการสอน
นายวชั รนิ ทร ผาตนิ ินนาท ผเู ชี่ยวชาญเฉพาะดา นการเผยแพรทางการศกึ ษา
นางวทั นี ธรรมวธิ กี ุล หัวหนา หนวยศกึ ษานิเทศก
นางชลุ ีพร งามเขตต ผูอาํ นวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
นางอัญชลี
นางศุทธินี

ผูพฒั นาและปรบั ปรงุ คร้ังที่ 2

นายสุรพงษ ม่ันมะโน กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
นายกติ ตพิ งศ จันทวงศ กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
นางสาวผณนิ ทร แซอ งึ้ กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
นางสาวเพชรินทร เหลืองจติ วฒั นา กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน

100

คณะผปู รบั ปรุงขอ มูลเก่ียวกบั สถาบันพระมหากษตั ริยป  พ.ศ. 2560

ท่ปี รึกษา

1. นายสุรพงษ จําจด เลขาธกิ าร กศน.

2. นายประเสริฐ หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ

ปฏบิ ัตหิ นาท่รี องเลขาธกิ าร กศน.

3. นางตรีนุช สขุ สุเดช ผูอํานวยการกลุม พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ

และการศกึ ษาตามอัธยาศัย

ผูปรบั ปรงุ ขอ มลู

นายสรุ พงษ มนั่ มะโน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

คณะทํางาน

1. นายสรุ พงษ มน่ั มะโน กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

2. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

4. นางเยาวรตั น ปน มณีวงศ กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

5. นางสาวสลุ าง เพ็ชรสวาง กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

6. นางสาวทิพวรรณ วงคเรือน กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

8. นางสาวชมพูนท สังขพิชยั กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย


Click to View FlipBook Version