The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่ 3 นิติกรรมและสัญญา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by warangkanamatmontree, 2019-01-20 21:32:12

บทที่ 3 นิติกรรมและสัญญา

บทที่ 3 นิติกรรมและสัญญา

นิติกรรมและสัญญา

1

สาระการเรียนรู้

1. ความหมายของนิตกิ รรม

2. นติ กิ รรมมอี งค์ประกอบอยู่ 5 ประการ

3. วัตถปุ ระสงคข์ องนิติกรรม

4. แบบของนิติกรรม

5. ความสมบรู ณข์ องนติ กิ รรม

6. หลกั เกณฑ์เกี่ยวกบั เร่อื งการแสดงเจตนาในการเขา้ ทานติ ิกรรม

7. นติ ิกรรมสญั ญาที่ควรรู้

8. ความหมายของสัญญา

9. ประเภทของสญั ญา

10.มัดจาและเบ้ียปรับ

11.การเลกิ สัญญา 2

นิติกรรม

3

ความหมายของนิติกรรม

 นิติกรรม คือ การใด ๆ อันทาลงโดยชอบด้วยกฎหมายและ

ด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงตอ่ การผูกนิติสัมพันธร์ ะหว่างบุคคลเพื่อจะ
ก่อ เปลีย่ นแปลง โอน สงวนหรือระงบั สทิ ธิ

4

นิติกรรมมีองค์ประกอบอยู่ 5 ประการ

1. การใด ๆ คือ การกระทาของบุคคล ซ่ึงกฎหมายไม่ระบุว่ามีกี่คน ดังนั้นคน
เพียงคนเดียวก็สามารถทานิติกรรมได้ เช่น การทาพินัยกรรม หรือจะ
หลายคนกไ็ ด้ เช่น การจดั ตง้ั บริษัท

2. กระทาลงโดยชอบด้วยกฎหมาย
3. กระทาด้วยความสมคั รใจ คอื ไมม่ ีใครมาบงั คับขู่เขญ็
4. มุ่งตรงต่อการผูกนิตสิ ัมพันธ์
5. กระทาเพ่ือจะก่อ เปล่ียนแปลง โอน สงวนหรือระงับซ่ึงสิทธิ ซ่ึงรวมแล้ว

เรียกว่าการเคลื่อนไหวแห่งสทิ ธิ

5

วัตถุประสงค์ของนิติกรรม

1. การน้นั เปน็ การตอ้ งหา้ มตามกฎหมาย เช่น
ขายยาเสพติด ขายอาวธุ สงคราม

6

วัตถุประสงค์ของนิติกรรม

2. การนั้นเป็นการพ้นวิสัย เช่น ตกลงจ้างคนมาฝึกให้ลิง
สามารถพูดภาษามนษุ ย์ได้
3. การนั้นขัดต่อความสงบเรียบร้อย เช่น จ้างคนมาให้ก่อ
จลาจลประทว้ งรฐั บาล
4. การนั้นขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน เช่น จ้างเดิน
เปลือยกาย

7

แบบของนิติกรรม

แบ่งออกเป็น 4 ลักษณะ คือ

1. ต้องทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี เช่น
การซ้ือขายอสงั หาริมทรัพย์ การจานอง

2. ตอ้ งทาเปน็ หนังสือ เช่น การเช่าซือ้
3. ต้องจดทะเบยี นตอ่ เจ้าหน้าท่ี เช่น การจัดตัง้ บรษิ ทั
4. ต้องทาเป็นหนังสือต่อเจ้าหน้าท่ี เช่น การทาพินัยกรรมฝ่ายเมือง

หรอื เอกสารลับ

8

ประเภทของนติ กิ รรม

จาแนกได้ 2 ประเภท คอื เชน่
- นิติกรรมฝ่ายเดียว ได้แก่ นิติกรรมซึ่ง การกอ่ ตัง้ มลู นธิ ิ
เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคลฝ่าย คาม่นั โฆษณาจะใหร้ างวัล
หนึ่งฝ่ายเดียวและมีผลตามกฎหมาย ซึ่งบาง การผ่อนเวลาชาระหนใี้ หล้ กู หน
กรณกี ท็ าให้ผทู้ านติ ิกรรมเสยี สทิ ธิได้ คามน่ั จะซ้อื หรือจะขาย
การทาพินัยกรรม
9 การบอกกลา่ วบงั คบั จานอง
การบอกเลิกสญั ญา เป็นตน้

ประเภทของนติ ิกรรม

- นติ ิกรรมสองฝา่ ย (นิติกรรมหลายฝ่าย) ได้แก่ เชน่

นิติกรรมซึ่งเกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคล สัญญาซือ้ ขาย
สัญญากยู้ ืม
ตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไปและทุกฝ่ายต่างต้องตกลง สัญญาแลกเปล่ียน
สญั ญาขายฝาก
ยินยอมระหว่างกัน กล่าวคือ ฝ่ายหนึ่งแสดง จานอง
จานา เปน็ ตน้
เจตนาทาเป็นคาเสนอ แล้วอีกฝ่ายหนึ่งแสดง

เจตนาเป็นคาสนอง เมื่อคาเสนอและคาสนอง

ถูกต้องตรงกันจึงเกิดมีนิติกรรมสองฝ่ายข้ึน หรือ

เรียกกนั วา่ สัญญา 10

ความสมบูรณ์ของนิติกรรม

มีอยู่ 3 ลกั ษณะ คือ

1. นิตกิ รรมท่ีสมบูรณ์ คอื นิติกรรมทก่ี อ่ ให้เกดิ นิตสิ มั พันธ์ เชน่ นาย
แดงซื้อกว๋ ยเต๋ยี วจากนายดา

สิทธิ นายแดงมสี ิทธิรบั ประทานกว๋ ยเตยี๋ ว
นายดามีสทิ ธิเรยี กเอาเงนิ จากนายแดง

11

ความสมบูรณ์ของนิติกรรม

2. นิติกรรมทีเ่ ปน็ โมฆะ คือ นิติกรรมน้ันเสยี เปลา่ เชน่ นายแดงซอื้
เฮโรอนี จากนายดา

สิทธิ ถ้านายแดงไม่ยอมจ่ายเงิน
นายดาจะเรยี กเอาเงนิ จากนายแดงไม่ได้

12

ความสมบูรณ์ของนิติกรรม

3. นติ กิ รรมท่ีเปน็ โมฆียะ คือ นิตกิ รรมน้นั สมบรู ณจ์ นกว่าจะมีการบอก
ล้างใหเ้ ปน็ โมฆะ เช่น เดก็ ชายแดงซื้อเครอ่ื งเล่นเกม มลู คา่ 100,000
บาท ท้ังท่ียงั ไมไ่ ด้รบั ความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม ซงึ่ ทาให้นิติ
กรรมน้มี ผี ลเปน็ โมฆยี ะ แตเ่ มอื่ นติ ิกรรมทเ่ี ป็นโมฆียะคอื นติ กิ รรม
สมบรู ณ์ ผู้ขายมีสทิ ธเิ รียกเกบ็ เงินคา่ เครือ่ งเลน่ เกมจากเดก็ ชายแดงได้
และเด็กชายแดงก็สามารถนาเคร่อื งเลน่ เกมมาเลน่ ได้ แต่ถา้ เมือ่ มีการ
บอกล้าง ก็เท่ากบั นติ กิ รรมมีผลเป็นโมฆะ

13

หลักเกณฑ์เก่ียวกับเรื่องการแสดงเจตนาในการเข้าทานิติกรรม

1. เจตนาลวง คือ เจตนาที่แสดงข้ึนมาเพื่อลวงหรือไม่ตรงกับเจตนาที่
แท้จริง เช่น นายแดงตั้งใจจะยืมสร้อยคอนายดา แต่แสดงเจตนาเป็น
ขอซ้ือนายดา หากนายดาเข้าใจว่านายแดงซื้อจริง ภายหลังนายแดงจะ
มาอา้ งวา่ ตนแสดงเจตนาซื้อข้ึนมาลวง เจตนาในใจจริงคอื ยืม
เพื่อไม่ยอมจ่ายเงนิ คา่ สร้อยไมไ่ ด้
ในทางกฎหมายมผี ลทาให้นิตกิ รรมเปน็ โมฆะ

14

หลักเกณฑ์เก่ียวกับเร่ืองการแสดงเจตนาในการเข้าทานิติกรรม

2. นิติกรรมอาพราง คือ การทานิติกรรมหน่ึงอาพรางอีกนิติกรรมหนึ่ง
เช่น นายสมชายเปน็ หน้นี างสมหญิง กลัวว่านางสมหญิงจะยึดเอาเครื่อง
เพชรประจาตระกูลที่ตนมไี ป จงึ ตกลงกบั นายสมมติ รใหช้ ่วยทาเป็นซ้ือ
เคร่ืองเพชรชุดดงั กล่าว แตจ่ รงิ ๆ แลว้ นายสมชายแค่ฝากเอาไว้ เช่นนี้
เทา่ กบั วา่ นิตกิ รรมซื้อขายอาพราง

15

หลักเกณฑ์เกี่ยวกับเร่ืองการแสดงเจตนาในการเข้าทานิติกรรม

3. การสาคัญผดิ ในสาระสาคญั
- การสาคัญผิดในลักษณะของนิติกรรม เช่น นายบุญส่งได้พระ

นางพญามรกดพ่อมาองค์หนึง่ มเี ซยี นพระมาขอเช่า เพอื่ นาไปประกวด
นายบุญส่งเข้าใจว่าเช้าพระเหมือนกับเช่าวีซีดี คือ เช่าแล้วก็เอามาคืน
จึงให้เช่าไปในราคา 100 บาท

- สาคัญผิดในตัวบุคคล เช่น ต้องการจ้างนายแดงไปทางาน แต่
กลับไปจ้างนายดาเพราะเขา้ ใจวา่ เป็นนายแดง

16

หลักเกณฑ์เก่ียวกับเร่ืองการแสดงเจตนาในการเข้าทานิติกรรม

- สาคัญผิดในวัตถุแห่งนิติกรรม เช่น นางเขียวต้ังใจจะซื้อซีดีเพลงลุ
ลา แต่ปรากฏว่าเลือกไปคุยไปจนเพลิน ขณะหยิบกลับไปหยิบของเสก
โลโซ ซึ่งอยู่ติดกัน

17

หลักเกณฑ์เกี่ยวกับเร่ืองการแสดงเจตนาในการเข้าทานิติกรรม

4. นิติกรรมที่สาคัญผิดในคุณสมบัติ เช่น นายใหญ่ ต้องการช่าง
ประปาฝีมือดีมาทาการวางท่อประปาในโรงงานของตน จงึ ตกลงจ้ าง
นายเล็ก ซงึ่ เข้าใจว่าเป็นช่างประปาท่ีมีความชานาญและฝีมือดี แต่
ปรากฏว่าเม่ือตกลงกันแล้ ว นายเล็กเป็ นเพียงช่างไม้ ไม่มี
ความสามารถและความชานาญในการวางท่อประปาเลย

18

หลักเกณฑ์เก่ียวกับเร่ืองการแสดงเจตนาในการเข้าทานิติกรรม

5. การแสดงเจตนาที่ถูกกลฉ้อฉล คือ การใช้อุบายล่อลวงให้อีกฝ่าย
หน่งึ หลงเช่ือ

- ถ้ามิได้กลฉ้อฉล เช่น นายแดงต้องการซ้ือทองแท้ นายดานาทอง
ปลอมมาขาย และหลอกนายแดงว่าทองแท้ นายแดงหลงเชือ่ จงึ ซ้ือไป

- ถา้ เป็นการฉ้อฉลโดยบุคคลภายนอกคู่กรณีฝ่ายหน่ึงต้องรู้ เช่น นาย
แดงต้องการขายแหวนเพชรให้นายดา แต่กลัวนายดาไม่เชื่อ เลยให้นาย
เขียวหลอกวา่ เป็นเพชรนา้ งาม นายดาจงึ หลงเชื่อจึงซื้อแหวนเพชรน้ี

19

หลักเกณฑ์เก่ียวกับเร่ืองการแสดงเจตนาในการเข้าทานิติกรรม

- ถ้าเป็นการฉ้อฉลเพียงเพื่อเหตุให้อีกฝ่ายหนึ่งยอมรับข้อกาหนดท่ี
หนักกวา่ จะบอกลา้ งไมไ่ ด้ แตใ่ ห้สามารถเรยี กคา่ สินไหมทดแทนได้

- การน่ิงก็เป็นการฉ้อฉล ถ้าหากว่าแจง้ ข้อเท็จจริงหรือไม่น่ิง อีกฝ่าย
จะไมท่ านติ กิ รรม

- การฉ้อฉลทั้งสองฝ่ายต่างฝ่ายต่างไม่มีสิทธิบอกล้างหรือเรียกค่า
สินไหมทดแทน

20

หลักเกณฑ์เก่ียวกับเรื่องการแสดงเจตนาในการเข้าทานิติกรรม

6. การแสดงเจตนาเพราะถูกขม่ ขู่
- ตอ้ งขู่ให้เกิดอันตราย หรอื รา้ ยแรงพอท่จี ะทาให้ผถู้ ูกขู่กลัวถึงขั้นทา

นติ ิกรรม
- การขวู่ ่าจะใช้สิทธิตามปกตนิ ยิ มไม่ถอื เปน็ การข่มขู่
- การทาเพราะนับถือยาเกรงไม่เป็นการทาเพราะถูกข่มขู่
- การข่มขโู่ ดยบคุ คลภายนอกมผี ลทาใหก้ ารแสดงเจตนาเปน็ โมฆยี ะ

21

นิติกรรมสัญญาที่ควรรู้

สญั ญาซื้อ สญั ญาซอื้ ขาย
ขาย สัญญาขายฝาก

สัญญาที่ สัญญาเชา่ เช่าซื้อ กู้ยมื เงนิ
สาคัญ เชา่ ทรัพย์ จานา
คา้ ประกนั
สญั ญากยู้ มื -
ประกันหน้ี จานอง

22

สัญญา

23

ความหมายของสัญญา

 สัญญา คอื นิตกิ รรมท่ีบคุ คลตงั้ แต่ 2 ฝ่ายขึ้นไปตกลงทา
กัน ถ้า 3 ฝ่ายคือ มีผู้ค้าประกันเพ่ิมขึ้นมา โดยฝ่ายหน่ึงเป็นผู้ทา
คาเสนอและอีกฝ่ายหน่ึงเป็นผู้ทาคาสนองนั้น และสัญญาจะ
เกิดขึ้นเมื่อคาเสนอตรงกับคาสนอง แต่บางคร้ังคาสนองท่ีไม่ตรง
กับคาเสนอ อาจจะเปน็ คาเสนอขน้ึ ใหม่กไ็ ด้ เช่น

24

ลกู ค้า : เสอื้ ตัวนี้สวยมากค่ะ ไมท่ ราบว่าราคาเท่าไหร่ (คาเสนอ)

คนขาย : ชอบหรอื คะ ดฉิ ันคิดใหใ้ นราคาตวั ละ 500 บาท (คาเสนอ)

ลกู ค้า : ราคาสงู ไปหนอ่ ย 400 บาท ได้ไหม (คาเสนอใหม่)

คนขาย : ไมไ่ ด้ค่ะ 450 บาท แลว้ กนั ค่ะ (คาเสนอใหม่)

ลกู คา้ : ตกลงค่ะ (คาสนอง)

25

ประเภทของสัญญา

แบง่ ออกเปน็ 4 ประเภท คอื
1. สญั ญามีคา่ ตอบแทนและสญั ญาไม่มคี ่าตอบแทน

- สญั ญามีค่าตอบแทน หมายถึง สญั ญาที่คกู่ รณีทงั้ สอง
ฝ่ ายต่างได้รับค่าตอบแทนจากอีกฝ่ ายการตอบแทนนนั้ อาจเป็น
การตอบแทนด้วยเงิน ทรัพย์สนิ หรือการกระทาบางอยา่ งก็ได้
เชน่

26

สัญญาซื้อขาย
ผขู้ าย: ย่อมได้รบั ชาระราคาสนิ คา้ เป็นค่าตอบแทน
ผูซ้ ื้อ : จะไดก้ รรมสิทธใ์ิ นสนิ คา้ นั้น
การใช้บรกิ ารรถแท็กซ่ี
คนขับรถแทก็ ซ่ี : ไดร้ ับเงินคา่ โดยสาร
ผู้โดยสาร : จะไดร้ บั บรกิ ารส่งไปยัง

จุดหมายปลายทาง เป็นตน้

27

ประเภทของสัญญา

- สัญญาไม่มีค่าตอบแทน หมายถึง สัญญาท่ีคู่สัญญาฝ่ายใด
ฝ่ายหนึ่งได้รับประโยชน์แต่เพียงฝ่ายเดียว โดยท่ีคู่สัญญาอีกฝ่าย
ไม่ได้รับประโยชน์อย่างใดจากสัญญา เช่น สัญญาให้โดยเสน่หา
สญั ญายมื ทรัพยห์ รอื ฝากทรพั ย์ทไ่ี ม่มีค่าตอบแทน เปน็ ต้น

28

ประเภทของสัญญา

2. สัญญาตา่ งตอบแทนและสญั ญาไมต่ า่ งตอบแทน
- สญั ญาต่างตอบแทน คอื สญั ญาที่ค่สู ญั ญาแต่ละฝ่ายมี

หน้าที่ที่ต้องทาให้แก่อีกฝ่ ายหน่ึง หมายความว่า ทัง้ สองฝ่ าย
ต่างมีหนีซ้ ่ึงกนั และกนั และต่างเป็นลกู หนีแ้ ละเจ้ าหนีพ้ ร้อมกนั
ไปในตวั เช่น

29

สัญญาซื้อขาย
ท้ังผูซ้ ือ้ และผขู้ ายต่างเป็นเจา้ หนแี้ ละลูกหนี้ซ่งึ กนั และกัน กลา่ วคือ
ผู้ขายเปน็ เจ้าหนี้ในฐานะท่ีมีสทิ ธเิ รยี กค่าสินค้าจากผู้ซอ้ื ได้ และเป็นลูกหน้ี
ของผูซ้ ้อื ในอันท่จี ะต้องส่งมอบสินคา้ ใหเ้ ปน็ กรรมสทิ ธขิ์ องผู้ซอื้
ส่วนผู้ซื้อย่อมเปน็ ลูกหน้ีที่จะต้องชาระราคาสินค้าแก่ผู้ขาย และเปน็ เจ้าหนี้
ในฐานะทม่ี ีสิทธิขอใหผ้ ู้ขายส่งมอบสนิ คา้ ใหแ้ ก่ตน

30

ประเภทของสัญญา

2. สัญญาตา่ งตอบแทนและสัญญาไม่ตา่ งตอบแทน
- สัญญาไม่ต่างตอบแทน เป็นสัญญาท่ีก่อให้เกิดหน้ าท่ีแก่

คู่ สั ญ ญ า ฝ่ า ย ใ ด ฝ่ า ย ห น่ึ ง แ ต่ เ พี ย ง ฝ่ า ย เ ดี ย ว
โดยคู่สัญญาฝ่ ายหน่ึงมีฐานะเป็นเจ้าหนีแ้ ละคู่สัญญาอีกฝ่ าย
หนง่ึ มีฐานะเป็นลกู หนี ้ มใิ ชต่ า่ งฝ่ายต่างเป็นเจ้าหนีแ้ ละลกู หนี ้
ซง่ึ กนั และกนั

31

สญั ญายมื
โดยไม่มีคา่ ตอบแทนเปน็ หนา้ ที่ของผู้ยืมที่จะต้องคนื เงินหรอื ทรพั ย์สินให้แก่
ผู้ให้ยืม โดยที่ผู้ให้ยืมไม่มีหน้าที่ต้องตอบแทนผู้ยืมแต่อย่างใด หรือกรณี
สัญญามีค่าตอบแทนแตม่ ิได้มีลักษณะเป็นการตา่ งตอบแทนกัน ก็จัดว่าเป็น
สญั ญาไม่ตา่ งตอบแทน เช่น สญั ญากยู้ มื เงนิ มีดอกเบยี้ เปน็ ต้น

32

ประเภทของสัญญา

3. สญั ญาประธานและสญั ญาอุปกรณ์
- สญั ญาประธาน คือ สญั ญาท่ีเกิดขึน้ และมีผลสมบูรณ์โดย

ไม่จาต้องอาศัยสญั ญาอ่ืน ประกอบเพื่อให้เกิดความสมบูรณ์
ใช้ได้ของสญั ญา เช่น สญั ญาซือ้ ขาย สญั ญาเช่าทรัพย์ สญั ญา
ประกนั ภยั สญั ญาก้ยู ืมเงิน เป็นต้น

33

ตวั อย่างสญั ญาก้ยู มื เงนิ

34

ประเภทของสัญญา

- สญั ญาอุปกรณ์ คือ สญั ญาที่มิอาจเกิดขึน้ และมิอาจมีผล
สมบรู ณ์ได้โดยลาพงั แต่จะต้องอาศยั สญั ญาอ่ืน ซึ่งเป็นสญั ญา
ประธาน ดงั นนั้ ความสมบูรณ์ของสญั ญาอุปกรณ์ย่อมขึน้ อยู่
กับความสมบูรณ์ของสัญญาประธาน เช่น สัญญาคา้ ประกัน
การกู้ยืมเงินจะมีขึน้ โดยลาพังไม่ได้เด็ดขาด เพราะจะมีได้ก็
จะต้องมีสญั ญาประธานคือ สญั ญาก้ยู ืมเงนิ เกิดขนึ ้ ก่อน

35

ประเภทของสัญญา

4. สัญญาเพ่ือประโยชนบ์ คุ คลภายนอก

สญั ญาท่ัวไปมผี ลผกู พันและใหป้ ระโยชน์เฉพาะแก่คู่สัญญาเทา่ น้ัน แต่
สัญญาประเภทนี้จะกาหนดให้บุคคลภายนอกเป็นผู้รับประโยชน์ได้
โดยท่ีบุคคลผู้น้ันไม่มีหน้าที่ท่ีจะต้องปฏิบัติตามสัญญาแต่อย่างใด
เช่น สัญญาประกันชีวิต เมื่อผู้รับประกันและผู้เอาประกันตกลงทา
สัญญา ผู้เอาประกันจะต้องระบุชื่อบุคคลภายนอกเป็นผู้รับประโยชน์
เม่ือเกิดกรณีทผ่ี ูเ้ อาประกันเสียชวี ิต เป็นต้น

36

มัดจาและเบี้ยปรับ

 มดั จา หมายถึง เงนิ หรอื สง่ิ ของที่คูส่ ัญญาฝ่ายหนึ่งมอบให้
ไว้กั บคู่สัญญาอีก ฝ่าย ห นึ่งขณะเ ข้ าทาสัญญา เ พ่ือเ ป็น
พยานหลักฐานว่าได้มีการทาสัญญาและเพ่ือเป็นประกันว่าจะต้อง
ปฏิบตั ิตามสญั ญานั้น

37

มัดจาและเบ้ียปรับ

ผลของมดั จามดี ังน้ี
1. เอามัดจาไว้เป็นการชาระหน้ีส่วนหน่ึงได้ กรณีนี้ทาได้เฉพาะ
การวางมดั จาด้วยเงนิ เทา่ น้นั
2. สง่ คนื เมอื่ ไดช้ าระหน้กี นั เรยี บรอ้ ยแล้ว
3. ส่งคืนกรณีที่ฝ่ายรับมัดจาละเลยไม่ชาระหน้ี หรือการชาระหนี้
ตกเป็นพ้นวิสัยเพราะ พฤติการณ์อันใดอันหนึ่ง ซึ่งฝ่ายผู้รับมัด
จาตอ้ งรับผดิ ชอบ

38

มัดจาและเบี้ยปรับ

4. ให้ริบกรณีท่ีฝ่ายวางมัดจาไม่ปฏิบัติตามสัญญาหรือไม่ชาระหน้ี
หรือการชาระหน้ี ตกเป็นพ้นวิสัยเพราะพฤติการณ์อันใดอันหน่ึง
ซ่ึงฝ่ายผู้วางมัดจาต้องรับผิดชอบ หรือมีการเลิกสัญญากันเพราะ
ความผิดของฝา่ ยทวี่ างมัดจา

39

มัดจาและเบี้ยปรับ

 เบี้ยปรับ หมายถึง คา่ สินไหมทดแทนซ่ึงอาจเป็นเงนิ หรอื
ส่ิงของหรือการกระทาก็ได้ ซ่ึงค่กู รณีไดต้ กลงกันไวล้ ่วงหน้าในเวลา
ทาสัญญาว่า ถ้าฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงไม่ปฏิบัติตามสัญญาหรือปฏิบัติไม่
ถูกต้องตามสัญญา ให้เบ้ียปรบั นั้นตกแกอ่ กี ฝ่ายหนง่ึ

40

มัดจาและเบี้ยปรับ

ผลของเบย้ี ปรบั มดี ังน้ี
1. กรณีไม่ชาระหน้ีเลยหรือไม่ปฏิบัติตามสัญญาเลย คู่สัญญาอีก
ฝ่ายหน่ึงมีสิทธิเรียกร้องเอาเบ้ียปรับได้ ซึ่งถ้าเรียกเอาเบี้ยปรับ
แล้ว จะเรียกให้อีกฝ่ายที่ไม่ชาระหน้ีหรือไม่ปฏิบัติตามสัญญานั้น
ทาการชาระหน้ีอีกหรือให้ปฏิบัติตามสัญญาอีกไม่ได้ หมายความ
ว่า เรยี กได้เฉพาะเบ้ยี ปรบั ตามท่ตี กลงไว้

41

มัดจาและเบ้ียปรับ

2. กรณีมีการชาระหนี้บ้างแล้วแต่เป็นการชาระหนี้หรือปฏิบัติไม่
ถูกต้องตามที่ตกลงไว้ในสัญญา คู่สัญญาอีกฝ่ายหน่ึงมีสิทธิ
เรียกร้องเอาเบี้ยปรับได้ และมีสิทธิบังคับให้คู่สัญญาที่ชาระหน้ี
หรือปฏิบัติไม่ถูกต้องตามสัญญานั้นให้ปฏิบัติตรงตามสัญญาได้อีก
ด้วย

42

มัดจาและเบี้ยปรับ

3. กรณเี บย้ี ปรบั กาหนดเปน็ เงิน คู่สญั ญาทีเ่ สียหายสามารถพสิ ูจน์
ความเสียหายที่เพิ่มข้ึนนอกจากจานวนเบ้ียปรับที่กาหนดไว้ได้
แต่ถ้าเบ้ียปรับเป็นอย่างอ่ืนท่ีมิใช่เงิน คู่สัญญาท่ีเสียหายไม่
สามารถเรียกค่าเสียหายที่เพิ่มข้ึนได้ คงเรียกได้เฉพาะเท่าที่ตกลง
ไว้เทา่ นัน้

43

การเลิกสัญญา

เม่ือคู่สัญญาได้ตกลงทาสัญญาแล้ว คู่สัญญาย่อมผูกพันตนในอันที่
จะต้องปฏิบัติตามสัญญาที่ได้ให้ไว้แก่กัน และเมื่อต่างฝ่ายต่างทา
หนา้ ท่ีตามสัญญาเสร็จส้ินแล้ว สัญญาย่อมเป็นอันสิ้นสุดลงหากไม่
มีการทาสัญญาข้ึนใหม่ นอกจากนี้ สัญญาอาจสิ้นสุดลงได้ด้วย
การบอกเลิกสัญญาโดยคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งปฏิบัติตาม
หลักเกณฑ์ท่ีกฎหมายระบุให้ทาได้ ในกรณีน้ีฝ่ายที่บอกเลิกสัญญา
จะต้องเปน็ ฝ่ายที่มสี ิทธติ ามกฎหมายในการทีจ่ ะบอกเลิกดว้ ย

44

การเลิกสัญญา

สทิ ธิบอกเลิกสญั ญามีได้ 2 กรณคี ือ
1. สทิ ธบิ อกเลกิ สัญญาตามบทบญั ญตั แิ ห่งกฎหมาย ได้แก่

ก. กรณีท่ีคู่สัญญาฝ่ายหน่ึงไม่ชาระหน้ี กล่าวคือ ไม่ปฏิบัติตาม
สญั ญา คู่สญั ญาอีกฝ่ายหน่ึงมสี ิทธิบอกเลิกได้ แต่จะต้องบอกกล่าวให้
คู่สัญญาฝ่ายแรกท่ีผิดสัญญาทาการชาระหน้ีหรือ ปฏิบัติตามสัญญา
โดยกาหนดระยะเวลาพอควรให้ และหากยังคงเพิกเฉยไมป่ ฏิบัติตาม
ภายในเวลาท่ี กาหนด คสู่ ัญญาอีกฝ่ายหนง่ึ มีสทิ ธบิ อกเลิกสัญญาได้

45

การเลิกสัญญา

ข. กรณีท่ีวัตถุประสงค์ของสัญญาจะสาเร็จลงได้ด้วยการปฏิบัติ
ตามสัญญา หรือการชาระหน้ีภายในเวลาที่กาหนด ไม่ว่าจะโดย
สภาพของสัญญาหรือโดยเจตนาของคู่สัญญา และคู่สัญญาฝ่าย
หน่ึงไม่ปฏิบัติภายในกาหนดเวลาน้ัน คู่สัญญาอีกฝ่ายมีสิทธิบอก
เลกิ ไดท้ ันทโี ดยไมจ่ าเป็นตอ้ งบอกกล่าวใหป้ ฏบิ ัตติ ามสัญญากอ่ น

46

การเลิกสัญญา

ค. เมื่อการปฏบิ ตั ิตามสัญญาหรอื ชาระหน้ตี กเป็นพน้ วิสัยซง่ึ จะโทษ
ลูกหนี้ได้ เจ้าหนี้จะใช้สิทธิเลิกสัญญาก็ได้ เช่น บริษัทเดินเรือไทย
สั่งต่อเรือเดินสมุทรกับบริษัทสหรัฐอเมริกา ต่อมาในขณะท่ีเรือลา
ดงั กลา่ วซ่งึ ต่อเสร็จเรยี บร้อยแลว้ ได้เดนิ ทางมาสู่ประเทศไทยเพอ่ื สง่
มอบให้แก่ผู้ซ้ือ ปรากฏว่าระหว่างเดินทาง เรือเกิดอุบัติเหตุไฟ
ไหมจ้ นเสยี หายและอปั ปางอนั มสี าเหตมุ าจากอปุ กรณ์ไฟฟ้าภายใน
เรือไมไ่ ดม้ าตรฐาน บรษิ ทั ไทยมสี ทิ ธบิ อกเลิกสญั ญาได้

47

การเลิกสัญญา

2. สิทธเิ ลิกสญั ญาตามข้อกาหนดในสัญญา
สิทธิดังกล่าวเป็นกรณีที่คู่สัญญาได้ตกลงไว้ล่วงหน้าถึงเง่ือนไขหรือ
เหตุการณ์อย่างใดอย่างหน่ึงตามท่ีกาหนด ซ่ึงเม่ือเกิดเหตุการณ์
หรือเงื่อนไขน้ันแล้วคู่สัญญามีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ เช่น สัญญา
เช่าอาคารกาหนดไว้ว่า หากผเู้ ชา่ ให้ผู้อื่นเชา่ ช่วงอาคารอกี ต่อหน่ึง
โดยไม่แจ้งให้ผู้ให้เช่าทราบก่อนล่วงหน้า ผู้ให้เช่ามีสิทธิบอกเลิก
สัญญาไดท้ ันที

48

การเลิกสัญญา

ผลแห่งการเลกิ สญั ญา
ภายหลังจากได้มีการเลิกสัญญาแล้ว คู่สัญญาแต่ละฝ่ายย่อม
กลับคืนสู่ฐานะเดิม เช่น ผู้เช่าต้องคืนอาคารท่ีเช่าให้แก่ผู้ให้เช่า
หรือผู้ขายต้องคืนเงินให้ผู้ซื้อ และผู้ซื้อคืนทรัพย์สินให้ผู้ขาย
เป็นต้น อย่างไรก็ดี การบอกเลิกสัญญาน้ีจะทาให้เกิดผล
กระทบกระเทอื นแกส่ ิทธขิ องบุคคลภายนอกไมไ่ ด้

49

การเลิกสัญญา

หากคู่สัญญาฝ่ายใดยังคงมีความเสียหายอยู่ คู่สัญญาฝ่ายนั้นมีสทิ ธิ
ที่จะเรียกร้องค่าเสียหายจากคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งได้ เช่น ผู้ให้เช่า
สามารถเรียกให้ผู้เช่าชาระค่าเช่าที่ค้างอยู่ภายหลังจากบอกเลิก
สัญญาเช่าแล้ว หรือสามารถเรียกค่าเสียหายในกรณีท่ีอาคารเกิด
ความเสียหายจากการใช้ประโยชน์ของผเู้ ชา่ ได้ เปน็ ตน้
***********************************************************

50


Click to View FlipBook Version