The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-11-02 07:49:47

1

1

แผนเปดิ เรียน ON Site

ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ โรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 20๑๙ (Covid-19)

วนั ที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ โรงเรยี นบา้ นเขาแรต
สงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 1

ส่วนท่ี ๑ ข้อมูลพ้นื ฐานโรงเรียน

โรงเรียนบ้านเขาแรต ตั้งอยู่ 64/2 หมู่ที่ 3 ตำบลมาบไผ่ อำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี 20170
อีเมล [email protected] เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มี
นางสาวจิราพร แสงมาศ เป็นผู้อำนวยการโรงเรียน วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาบรหิ ารการศกึ ษา หมายเลขโทรศพั ท์ 085-2389132 ปัจจบุ ันมจี ำนวนครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
ทั้งหมด ๑1 คน แยกเป็นข้าราชการ 7 คน ครูอัตราจ้าง ๒ คน นักการภารโรง ๑ คน และ แม่ครัว 1 คน
จำนวนนกั เรียนทัง้ หมด ๑16 คน แยกเปน็ นักเรยี นปฐมวัย 38 คน นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษา 78 คน (ขอ้ มลู
ณ วนั ที่ ๒6 ตลุ าคม ๒๕๖๔)

ระดับชน้ั เปิดการเรยี นการสอน

ช้ัน จำนวนนักเรียน ครปู ระจำชัน้

อนุบาล 1 ชาย หญิง รวม อษุ ณี มากพนู
อนบุ าล 2
อนบุ าล 3 56 11 ปติ ิมา จันทรผ์ ยุ
รวมอนุบาล
ประถมศึกษาปีที่ 1 48 12 ไพลนิ สามบุญลือ
ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 พิชญา ปรีชารัตน์
ประถมศึกษาปีที่ 3 5 10 15 รมย์ยพุ า พมุ่ พวง
ประถมศึกษาปที ่ี 4 จริ าพร เช้อื ดี
ประถมศึกษาปีท่ี 5 14 24 38 อรนุช ประพันธ์
ประถมศึกษาปที ี่ 6 จุฑารตั น์ ม่ังค่ัง
รวมประถมศกึ ษา 98 17 จิราพร แสงมาศ
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเขาแรต
รวมท้ังส้ิน 10 4 14

66 12

45 9

66 12

68 14

41 37 78

55 61 116

ส่วนท่ี 2 ขอ้ มูลการวางแผนการเปิดเรยี น
โรงเรยี นมีการวางแผนการเปิดเรียน ดังน้ี

แผนการเปดิ เรยี น ON Site ของโรงเรยี นบ้านเขาแรต

วันที่เปิดทำการเรียนการสอน รปู แบบการเรยี นการสอน หมายเหตุ
วนั จนั ทร์ อนบุ าล 1 -ป.6
วนั องั คาร อนบุ าล 1 -ป.6 นักเรียนต่อห้องมีจำนวนต่ำกว่า
วันพธุ อนบุ าล 1 -ป.6 25 คน
วนั พฤหัสบดี อนุบาล 1 -ป.6
วนั ศุกร์ อนุบาล 1 -ป.6

สว่ นท่ี ๓ มาตรการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ( โควดิ - 19)
โรงเรียนบ้านเขาแรตได้กำหนดมาตรการความปลอดภัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ( โควิด - 19)

๖ มาตรการหลกั ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเขม้ งวด ไว้ดงั นี้
๖ มาตรการหลกั (DMHT-RC)
โดยขอความรว่ มมือจากผู้ปกครอง ครู และนกั เรียน ปฏบิ ัติตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ

ภายใต้ ๖ มาตรการหลกั ได้แก่
1. เว้นระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คลอย่างนอ้ ย ๑-๒ เมตร (Distancing)
๒. สวมหน้ากากตลอดเวลาที่อยู่ในสถานศกึ ษา (Mask Wearing)
๓. ล้างมอื ดว้ ยสบู่และน้ำนาน ๒0 วนิ าที หรอื ใชเ้ จลแอลกอฮอล์ (Hand Washing)
๔. คัดกรองวัดไข้ สงั เกตอาการ ซักประวัตผิ ู้สมั ผัสเสี่ยงทกุ คนกอ่ นเข้าสถานศกึ ษา (Testing)
๕. ลดการแออดั ลดเขา้ ไปในพนื้ ทเ่ี ส่ียง กลมุ่ คนจำนวนมาก (Reducing)
๖. ทำความสะอาด บริเวณพื้นผิวสัมผัสร่วม อาทิ ที่จับประตู ลูกบิดประตู ราวบันได เป็นต้น

(Cleaning)

๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ)
๑. ดแู ลตนเองปฏบิ ัตติ ามมาตรการอยา่ งเคร่งครดั (Self-care)
๒. ใชช้ อ้ นกลางสว่ นตัวเมอื่ ต้องกนิ อาหารร่วมกนั (Spoon)
๓. กินอาหารปรุงสุกใหม่ กรณีอาหารเก็บเกิน ๒ ชั่วโมง ควรนำมาอุ่นให้ร้อนทั่วถึงก่อนกินอีกครั้ง
(Eating)
4. ไทยชนะ ลงทะเบียนตามที่รัฐกำหนด ด้วยแอปพลิเคชันไทยชนะ หรือลงทะเบียนบันทึกการเข้า-
ออกอย่างชดั เจน (Thai chana)
๕. สำรวจตรวจสอบ บุคคล นักเรียน และกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากพื้นที่เสีย่ งเพื่อเข้าสู่กระบวนการ
คดั กรอง (Check)
๖. กักกนั ตัวเอง ๑๔ วนั เมื่อเขา้ ไปสัมผสั หรอื อยู่ในพื้นที่เสีย่ งท่มี ีการระบาดโรค (Quarantine)

๗. มาตรการเขม้ งวด
๑. สถานศกึ ษาผา่ นการประเมนิ TSC+ และรายงานการติดตาม การประเมินผลผ่าน MOE Covid
๒. ทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรม ข้ามกลุ่มและจัดนักเรยี น

ในห้องเรียนขนาดปกติ (๖ x ๘) ไม่เกิน ๒๕ คน หรือจัดให้เว้นระยะห่างระหว่างนักเรียนในห้องไม่น้อยกว่า
๑.๕ เมตรพิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดตอ่ จงั หวดั

๓. จดั ระบบการให้บริการอาหารสำหรับนกั เรยี น ครู และบคุ ลากรใน สถานศกึ ษาตามหลกั มาตรฐาน
สุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิ เช่น การจัดซื้อจัดหาวัตถุดิบจากแหล่งอาหาร การปรุงประกอบ
อาหารหรือ การสั่งซื้ออาหารตามระบบนำส่งอาหาร (Delivery) ที่ถูกสุขลักษณะและ ต้องมีระบบตรวจสอบ
ทางโภชนาการกอ่ นนำมาบรโิ ภค ตามหลกั สขุ าภิบาล อาหารและหลักโภชนาการ

๔. จดั การดา้ นอนามยั ส่ิงแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏบิ ัติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ในการปอ้ งกันโรคโควิด
๑๙ ในสถานศึกษาได้แก่ กรระบายอากาศภายใน อาคาร การทำความสะอาดคุณภาพน้ำด่ืมและการจัดการ
ขยะ

๕. ให้นักเรียนที่มีความเสี่ยงแยกกักตัวในสถานศึกษา (School Isolation) และมีการซักซ้อมแผน
เผชิญเหตุ รองรับการดูแลรักษาเบื้องต้น กรณี นักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีผลการตรวจพบเชอ้ื
โรคโควดิ ๑๙ หรือผล ATK เป็นบวกโดยมกี ารซกั ซอ้ มอย่างเครง่ ครัด

๖. ควบคมุ ดแู ลการเดนิ ทางกรณีมีการเขา้ และออกจากสถานศกึ ษา (Seal Route) อย่างเข้มข้น โดย
หลกี เลย่ี งการเขา้ ไปสัมผสั ในพื้นทตี่ า่ ง ๆ ตลอดเส้นทางการเดนิ ทาง

๗. ให้จัดให้มี School Pass สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษาซึ่งประกอบด้วยข้อมูล
ผลการประเมนิ TST ผลตรวจ ATK ภายใน ๗ วนั และประวตั ิการรับวัคซีน ตามมาตรการ

แผนเผชิญเหตุ
โรงเรียนบา้ นเขาแรตได้จัดให้มีเตรยี มพร้อมไวห้ ากเกิดกรณฉี ุกเฉิน และมกี ารซักซ้อมอยา่ งเคร่งครดั
สม่ำเสมอ หากพบผู้ติดเชื้อ หรือพบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงสูง สถานศึกษาต้องมีความพร้อมในเรื่องสถานที่ วัสดุ
อุปกรณ์ทางการแพทย์ ระบบขนส่ง ระบบการประสานงานตรงกับบคุ ลากรทางการแพทย์ในพื้นที่ รวมทั้งการ
สรา้ งการรบั รู้ขา่ วสารภายใน การคัดกรองเพอ่ื แบง่ กลุ่มนักเรียน ครแู ละบคุ ลากรในสถานศกึ ษา ดงั นี้

ระดับการแพรร่ ะบาด มาตรการปอ้ งกนั

ในชุมชน ในสถานศกึ ษา คร/ู นกั เรียน สถานศึกษา

ไม่มผี ตู้ ิดเชื้อ ไมพ่ บผตู้ ดิ เชือ้ ยืนยัน - ปฏบิ ัตติ ารมาตรการ DMHTT - เปดิ เรียน Onsite

- ประเมนิ TST ทกุ วนั - ปฏิบตั ติ าม TST
- เฝ้าระวังคัดกรอง
มผี ู้ติดเช้ือ ประปราย ไมพ่ บผู้ติดเชอื้ ยืนยนั - ปฏิบตั ิตารมาตรการ DMHTT
- ประเมนิ TST ทกุ วัน - เปดิ เรยี น Onsite

- ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ

TCS Plus

- เฝ้าระวงั คดั กรอง

พบผู้ติดเชื้อยืนยัน - ป ฏ ิ บ ั ต ิ เ ข ้ ม ต า ม ม า ต ร ก า ร - ปิดห้องเรียนที่พบผู้ติดเชื้อ

ในห้องเรียน 1 ราย DMHTT เน้น ใส่หน้ากาก เว้น 3 วนั เพอ่ื ทำความสะอาด

ขน้ึ ไป ระยะห่างระหว่างบุคคล 1-2 ม. - เ ป ิ ด ห ้ อ ง เ ร ี ย น อ ื ่ น ๆ

- ประเมิน TST ทกุ วัน On site ได้ตามปกติ

- ระบายอากาศทุก 2 ชั่วโมง กรณี - สมุ่ ตรวจเฝา้ ระวงั
ใช้เครื่องปรับอากาศ กรณี High Sentinel Surveillance ทุก
Risk Contact :
งดเรียน On Site และกักตัวที่บ้าน 2 ครั้ง/สปั ดาห์
14 วนั กรณี Low Risk Contact : - ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ

ให้สังเกตอาการของตนเอง และ TCS Plus
ปฏิบัติ ตามมาตรการของกระทรวง

สาธารณสุข

พบผู้ติดเชื้อยืนยัน - ป ฏ ิ บ ั ต ิ เ ข ้ ม ต า ม ม า ต ร ก า ร - พิจารณาการเปิด onsite

มากกวา่ 1 หอ้ งเรยี น DMHTT เน้น ใส่หน้ากาก เว้น โดยเข้มมาตรการ ทกุ มิติ

ระยะห่างระหว่างบุคคล 1-2 ม. - ปิดห้องเรียนที่พบผู้ติดเช้ือ

- ประเมิน TST ทุกวัน 3 วนั เพอ่ื ทำความสะอาด

- ระบายอากาศทุก 2 ชั่วโมง กรณี - สุ่มตรวจเฝา้ ระวัง

ใช้เครื่องปรับอากาศ กรณี High Sentinel Surveillance ทุก
Risk Contact :
งดเรียน On Site และกักตัวที่บ้าน 2 คร้ัง/สปั ดาห์
14 วัน กรณี Low Risk Contact : - ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ
ให้สังเกตอาการของตนเอง และ TCS Plus

ปฏิบัติ ตามมาตรการของกระทรวง

สาธารณสุข

ระดับการแพรร่ ะบาด มาตรการป้องกัน

ในชมุ ชน ในสถานศกึ ษา ครู/นักเรยี น สถานศกึ ษา

มีผู้ติดเชื้อ เป็นกลุ่ม - ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ พิจารณา ปิดโดย

ก้อน DMHTT เน้น ใส่หน้ากาก เว้น คณะกรรมการควบคุม การ

ระยะห่างระหว่างบุคคล 1-2 ม. แพร่ระบาด ระดับพื้นท่ี

- ประเมนิ TST ทุกวนั หากมีหลักฐานและความ

- ระบายอากาศทุก 2 ชั่วโมง กรณี จำเป็น
ใช้เครื่องปรับอากาศ กรณี High - สุ่มตรวจเฝ้าระวัง

Risk Contact : Sentinel Surveillance ทุก

งดเรยี น On Site และกกั ตวั ทบี่ า้ น 2 ครง้ั /สปั ดาห์

14 วนั กรณี Low Risk Contact

: ให้สังเกตอาการของตนเอง

และปฏิบัติ ตามมาตรการของ

กระทรวงสาธารณสุข

มกี ารแพร่ระบาด - ปฏิบัตเิ ข้มตามมาตรการ DMHTT - พจิ ารณาการเปดิ onsite
ในชุมชน - เฝ้าระวังอาการเสี่ยงทุกวัน โดยเขม้ มาตรการ ทุกมติ ิ

Self Qurantine - สำหรับพื้นที่ระบาดแบบ

- ประเมิน TST กลุ่มก้อน พิจารณา ปิด

โดยคณะกรรมการควบคุม

การแพร่ระบาด ระดับพื้นที่

หากมีหลักฐานและความ

จำเป็น

- สุม่ ตรวจเฝา้ ระวงั
Sentinel Surveillance ทุก
2 ครัง้ /สัปดาห์

แนวการปฏิบตั กิ ารเตรียมการก่อนเปดิ ภาคเรียน
โรงเรียนบา้ นเขาแรต ตระหนกั ถึงความสำคัญของการเตรียมการก่อนการเปิดเรยี น เนื่องจากมีความ

เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตนของนักเรียน ครู บุคลากร และผู้เกี่ยวข้องทุกคนในสถานศึกษา เพื่อป้องกันไม่ให้มี
การติดเชื้อโรคโควิด ๑๙ (Covid -๑๙) ตัดความเสี่ยง สร้างภูมิคุ้มกัน และสร้างความปลอดภัยแก่ทุกคน
โรงเรยี นบา้ นหนองบัวจงึ กำหนดแนวปฏบิ ตั ิการเตรยี มการก่อนเปิดภาคเรียน ใช้เปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติ ดังนี้

๑. การประเมินความพรอ้ มก่อนเปดิ เรียน
โรงเรยี นบา้ นเขาแรตดำเนนิ การประเมินตนเองในระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC+) ของกรม
อนามัย กระทรวงสาธารณสุข เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน ภาคเรียนที่ 6 ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ตาม
ลิงก์ระบบ https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th/school ประกอบด้วย ๖ มิติ ๔๔ ข้อ สถานศึกษา
จะตอ้ งผา่ นการประเมินทง้ั ๔๔ ข้อ (สเี ขียว)

2. รายงานผลการประเมินตนเองในระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC+) ต่อที่ประชุม
คณะกรรมการสถานศึกษาชั้นพื้นฐาน เพื่อขอความเห็นชอบในการเปิดภาคเรียนที่ 6 ปีการศึกษา ๒๕'๖๔
แบบ Onsite ในวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔

๓. เสนอเอกสารการประเมินตนเองและความเห็นของการเปิดเรียนของคณะกรรรมการสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน และเอกสารข้อมูลจำนวนครู บุคลากรทางการศึกษา และจำนวนนักเรียนที่มีอายุ ๑๒ ปีขึ้นไปที่
ประสงค์รับการฉัดวัคซีน เสนอต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ภายในวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕'๖๔ เพื่อขอ
อนุญาตต่อคณะกรรมการโรคติดต่อจงั หวัดพิจารณาอนุมัติการเปดิ เรยี นในวันท่ี ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔

4. รณรงค์ครูและบุคลากรในสถานศึกษารับการฉีดวัคซีน ร้อยละ ๘๕ ขึ้นไป รวมทั้งผู้ปกครอง
นักเรยี นไดร้ ับการฉดี วคั ซีนใหม้ ากที่สดุ กอ่ นเปดิ ภาคเรยี น

๕. ครแู ละบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาตอ้ งไดร้ บั การตรวจ ATK ๑๐0%
๖. เตรียมความพร้อม อาคารสถานที่ ความสะอาดบริเวณของสถานศึกษาใหม้ ีความพร้อมในการเปดิ
ภาคเรยี น รวมทั้งสื่อเทคโนโลยตี า่ งๆ ใหพ้ รอ้ มในการจัดการเรียนการสอน

สปั ดาหท์ ี่ ๑ เร่มิ เปดิ เรยี น วันท่ี ๑ - ๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔
มาตรการปอ้ งกนั และแก้ไขสถานการณ์
สถานศกึ ษามุ่งการจดั กิจกรรมใหก้ บั ผู้เรยี นท่ีเนน้ ให้นกั เรียมีความสุขกบั การมาโรงเรียน ผู้ปกครองเกิด

ความเชอ่ื มั่นในความปลอดภัยของสถานศกึ ษาเปน็ สำคญั ยงั ไมเ่ น้นวชิ าการมากเกินไป)
๑. ครูดแู ลรับนกั เรียน และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หนา้ โรงเรียนเป็นประจำทุกวัน โดยประสานงาน

กับโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลมาบไผ่ และเจ้าหน้าทีอ่ สม. มาประจำทีจ่ ดุ คดั กรองหนา้ โรงเรยี น เพื่อช่วย
คดั กรองและใหค้ ำแนะนำคณะครเู วรหน้าประตูโรงเรยี น และนกั เรยี น ก่อนเขา้ บริเวณโรงเรยี น

๒. ครแู ละนักเรยี นทุกคนสวมหนา้ กากอนามัย ๑00% มจี ดุ ตรวจวดั อุณหภมู ิรา่ งกาย และมีจุดบริการ
เจลแอลกอฮอล์ล้างมอื เพื่อฆ่าเช้ือแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรยี นทุกห้อง และอ่าง
ลา้ งมอื บรเิ วณโรงอาหาร เป็นต้น

๓. คดั กรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนเข้าส่ภู ายในบริเวณโรงเรยี น หากมี
อุณหภูมสิ ูงกว่า ๓๗.๕ องศาเซลเชียสและมอี าการไข้ ไอ จาม เหน่ือยหอบ หายใจลำบาก ใหน้ กั เรียนหยุดเรียน
และไปพบแพทยท์ ันที

4.จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆ
ภายในโรงเรียน นักเรียนเว้นระยะห่างกนั ๑-๒ เมตร

๕. การพกั รบั ประทานอาหารกลางวนั
- ปฐมวัย แยกรับประทานอาหารที่อาคารปฐมวัย รับประทานอาหารเวลา ๑0.3๐ น.
- ประถมศึกษาตอนต้น ( ป.๑-๓) รบั ประทานอาหารเวลา ๑๑.0๐ น.
- ประถมศกึ ษาตอนปลาย (ป.๔-๖) รบั ประทานอาหารเวลา ๑1.15 น.
โดยมีจดุ บรกิ ารสำหรบั ล้างมือก่อนเข้าโรงอาหารสำหรบั นักเรียน ๒ จดุ นักเรียนนง่ั รับประทานอาหาร
หา่ งกนั ๑-๒ เมตร และมกี ารทำความสะอาดโตะ๊ อาหารหลังรบั ประทานอาหารทุกครงั้
๖. ดแู ลและปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรบั นักเรียนในกรณฉี ุกเฉนิ ให้ทันต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภัยของนักเรยี นเปน็ สำคัญ
๗.หากมีนกั เรยี นมคี วามเสย่ี งสงู ตอ่ การตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 60๑๙ ทางโรงเรยี นประสานขอความ
อนเุ คราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมีกรตดิ ตอ่ ประสานงานกบั อสม. และ ผอ. รพ.สต.มาบไผ่
๘. หากในชุมชนมีนักเรียนหรือมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ให้หยุดทำการจัดการเรียนการสอน
และทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ ผอ. รพ.สต. มาบไผ่ เพื่อเฝ้าระวังความ
ปลอดภัยเป็นระยะ

สปั ดาหท์ ่ี ๒ วนั ที่ ๘ - ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๔
มาตรการป้องกนั และแก้ไขสถานการณ์

สถานศึกษามุ่งการจัดกิจกรรมให้กับผู้เรียนที่เน้นให้นักเรียนมีความสุขกับการมาโรงเรียน ผู้ปกครอง
เกดิ ความเชอื่ มน่ั ในความปลอดภยั ของสถานศกึ ษาเป็นสำคัญ ยังไมเ่ น้นวชิ าการมากเกินไป)

๑. ครูดูแลรับนักเรียน และคดั กรองนักเรียนตอนเช้า หนา้ โรงเรียนเป็นประจำทุกวัน โดยประสานงาน
กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมาบไผ่ และเจ้าหน้าที่ อสม. มาประจำที่จุดคัดกรองหน้าโรงเรียน เพื่อ
ชว่ ยคัดกรองและใหค้ ำแนะนำคณะครเู วรหน้าประตโู รงเรยี น และนกั เรยี น ก่อนเขา้ บรเิ วณโรงเรยี น

๒. ครูและนกั เรยี นทุกคนสวมหนา้ กากอนามยั มีจุดตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย และมจี ุดบรกิ ารเจล
แอลกอฮอล์ล้างมือเพ่ือฆา่ เชื้อแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่างล้าง
มอื บริเวณโรงอาหาร เปน็ ตน้

๓. คัดกรองนักเรยี น ผ้ปู กครอง ครแู ละบุคลากรทางการศึกษากอ่ นเข้าสู่ภายในบรเิ วณโรงเรียน หากมี
อณุ หภูมิสูงกว่า ๓๗.๕ องศาเซลเชยี สและมีอาการไข้ ไอ จาม เหนอ่ื ยหอบ หายใจลำบาก ให้นักเรียนหยดุ เรียน
และไปพบแพทยท์ นั ที

๔. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆ
ภายในโรงเรียน นกั เรียนเวน้ ระยะหา่ งกนั ๑-๒ เมตร

๕. การพักรบั ประทานอาหารกลางวนั
- ปฐมวยั แยกรบั ประทานอาหารทอี่ าคารปฐมวยั รบั ประทานอาหารเวลา ๑0.3๐ น.
- ประถมศกึ ษาตอนต้น ( ป.๑-๓) รบั ประทานอาหารเวลา ๑๑.0๐ น.
- ประถมศกึ ษาตอนปลาย (ป.๔-๖) รบั ประทานอาหารเวลา ๑1.15 น.
โดยมจี ดุ บริการสำหรับลา้ งมือก่อนเขา้ โรงอาหารสำหรับนักเรียน ๒ จุด นกั เรียนนงั่ รบั ประทานอาหาร
ห่างกัน ๑-๒ เมตร และมีการทำความสะอาดโต๊ะอาหารหลังรับประทานอาหารทุกคร้ัง
๖. ดแู ลและปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ สำหรับนกั เรียนในกรณฉี กุ เฉินใหท้ ันต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภัยของนักเรียนเปน็ สำคญั
๗.หากมีนกั เรียนมคี วามเสยี่ งสูงตอ่ การตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 60๑๙ ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนเุ คราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมีกรตดิ ต่อประสานงานกับ อสม. และ ผอ. รพ.สต.มาบไผ่
๘. หากในชุมชนมีนักเรียนหรือมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ให้หยุดทำการจัดการเรียนการสอน
และทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ ผอ. รพ.สต. มาบไผ่ เพื่อเฝ้าระวังความ
ปลอดภยั เป็นระยะ

สัปดาห์ที่ ๓ วนั ท่ี ๑๕ - ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๔
มาตรการป้องกนั และแก้ไขสถานการณ์

สถานศึกษามุ่งการจัดกิจกรรมให้กับผู้เรียนที่เน้นให้นักเรียนมีความสุขกับการมาโรงเรียน ผู้ปกครอง
เกิดความเชอ่ื มนั่ ในความปลอดภยั ของสถานศกึ ษาเปน็ สำคัญ ยังไมเ่ น้นวิชาการมากเกินไป)

๑. ครูดูแลรบั นักเรยี น และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หนา้ โรงเรียนเป็นประจำทุกวนั โดยประสานงาน
กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมาบไผ่ และเจ้าหน้าที่ อสม. มาประจำที่จุดคัดกรองหน้าโรงเรียน เพื่อ
ช่วยคดั กรองและใหค้ ำแนะนำคณะครูเวรหนา้ ประตโู รงเรียน และนกั เรียน กอ่ นเข้าบรเิ วณโรงเรยี น

๒. ครูและนกั เรียนทกุ คนสวมหน้ากากอนามัย มีจดุ ตรวจวัดอณุ หภมู ิรา่ งกาย และมจี ดุ บริการเจล
แอลกอฮอล์ล้างมือเพ่ือฆ่าเช้ือแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหนา้ โรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่างล้าง
มือบรเิ วณโรงอาหาร เปน็ ตน้

๓. คัดกรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นเข้าสูภ่ ายในบริเวณโรงเรยี น หากมี
อุณหภมู ิสูงกวา่ ๓๗.๕ องศาเซลเชียสและมีอาการไข้ ไอ จาม เหน่ือยหอบ หายใจลำบาก ให้นกั เรยี นหยุดเรียน
และไปพบแพทยท์ นั ที

๔. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆ
ภายในโรงเรยี น นักเรียนเว้นระยะห่างกัน ๑-๒ เมตร

๕. การพักรับประทานอาหารกลางวนั
- ปฐมวัย แยกรบั ประทานอาหารทีอ่ าคารปฐมวัย รับประทานอาหารเวลา ๑0.3๐ น.
- ประถมศึกษาตอนต้น ( ป.๑-๓) รับประทานอาหารเวลา ๑๑.0๐ น.
- ประถมศกึ ษาตอนปลาย (ป.๔-๖) รับประทานอาหารเวลา ๑1.15 น.
โดยมจี ุดบริการสำหรบั ล้างมือก่อนเขา้ โรงอาหารสำหรับนักเรียน ๒ จุด นักเรียนน่ังรับประทานอาหาร
ห่างกัน ๑-๒ เมตร และมีการทำความสะอาดโตะ๊ อาหารหลงั รบั ประทานอาหารทุกคร้ัง
๖. ดูแลและปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ สำหรับนกั เรียนในกรณีฉกุ เฉนิ ให้ทนั ต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถงึ ความ
ปลอดภยั ของนักเรยี นเป็นสำคญั
๗.หากมนี ักเรยี นมีความเสยี่ งสงู ต่อการตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 60๑๙ ทางโรงเรยี นประสานขอความ
อนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมกี รติดต่อประสานงานกับ อสม. และ ผอ. รพ.สต.มาบไผ่
๘. หากในชุมชนมีนักเรียนหรือมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ให้หยุดทำการจัดการเรียนการสอน
และทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ ผอ. รพ.สต. มาบไผ่ เพื่อเฝ้าระวังความ
ปลอดภัยเป็นระยะ
สปั ดาห์ที่ 4 วนั ที่ 22 - 26 พฤศจิกายน ๒๕๖๔
มาตรการป้องกนั และแกไ้ ขสถานการณ์
สถานศึกษามุ่งการจัดกิจกรรมให้กับผู้เรียนที่เน้นให้นักเรียนมีความสุขกับการมาโรงเรียน ผู้ปกครอง
เกิดความเชือ่ มน่ั ในความปลอดภัยของสถานศกึ ษาเปน็ สำคัญ ยังไมเ่ น้นวิชาการมากเกินไป)
๑. ครดู แู ลรับนักเรียน และคดั กรองนักเรียนตอนเช้า หนา้ โรงเรยี นเปน็ ประจำทุกวนั โดยประสานงาน
กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมาบไผ่ และเจ้าหน้าที่ อสม. มาประจำที่จุดคัดกรองหน้าโรงเรียน เพื่อ
ช่วยคดั กรองและใหค้ ำแนะนำคณะครูเวรหน้าประตโู รงเรยี น และนกั เรยี น กอ่ นเข้าบริเวณโรงเรยี น
๒. ครแู ละนกั เรยี นทุกคนสวมหน้ากากอนามัย มีจดุ ตรวจวัดอณุ หภูมริ ่างกาย และมจี ดุ บรกิ ารเจล
แอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆา่ เช้ือแก่นักเรียน บริเวณจุดคดั กรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่างล้าง
มือบรเิ วณโรงอาหาร เปน็ ตน้
๓. คดั กรองนักเรียน ผปู้ กครอง ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนเข้าส่ภู ายในบริเวณโรงเรียน หากมี
อุณหภูมิสูงกว่า ๓๗.๕ องศาเซลเชยี สและมีอาการไข้ ไอ จาม เหน่ือยหอบ หายใจลำบาก ใหน้ ักเรียนหยุดเรียน
และไปพบแพทย์ทันที
๔. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆ
ภายในโรงเรียน นักเรียนเวน้ ระยะหา่ งกนั ๑-๒ เมตร
๕. การพักรบั ประทานอาหารกลางวัน
- ปฐมวยั แยกรับประทานอาหารที่อาคารปฐมวัย รบั ประทานอาหารเวลา ๑0.3๐ น.
- ประถมศึกษาตอนต้น ( ป.๑-๓) รับประทานอาหารเวลา ๑๑.0๐ น.
- ประถมศึกษาตอนปลาย (ป.๔-๖) รับประทานอาหารเวลา ๑1.15 น.
โดยมีจดุ บริการสำหรบั ลา้ งมือก่อนเขา้ โรงอาหารสำหรับนักเรียน ๒ จุด นักเรยี นน่ังรบั ประทานอาหาร
ห่างกนั ๑-๒ เมตร และมีการทำความสะอาดโต๊ะอาหารหลังรบั ประทานอาหารทุกคร้งั
๖. ดแู ลและปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักเรียนในกรณฉี ุกเฉินให้ทนั ต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถงึ ความ
ปลอดภัยของนกั เรยี นเปน็ สำคญั
๗.หากมีนักเรียนมีความเส่ียงสูงต่อการตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 60๑๙ ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนเุ คราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมกี รติดตอ่ ประสานงานกบั อสม. และ ผอ. รพ.สต.มาบไผ่

๘. หากในชุมชนมีนักเรียนหรือมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ให้หยุดทำการจัดการเรียนการสอน
และทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ ผอ. รพ.สต. มาบไผ่ เพื่อเฝ้าระวังความ
ปลอดภัยเปน็ ระยะ
เดือนธันวาคม 2564
มาตรการป้องกนั และแก้ไขสถานการณ์

สถานศึกษามุ่งการจัดกิจกรรมให้กับผู้เรียนที่เน้นให้นักเรียนมีความสุขกับการมาโรงเรียน ผู้ปกครอง
เกิดความเช่อื มนั่ ในความปลอดภยั ของสถานศึกษาเป็นสำคัญ ยงั ไมเ่ น้นวิชาการมากเกนิ ไป)

๑. ครดู แู ลรบั นักเรยี น และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้าโรงเรียนเปน็ ประจำทุกวนั โดยประสานงาน
กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมาบไผ่ และเจ้าหน้าที่ อสม. มาประจำที่จุดคัดกรองหน้าโรงเรียน เพ่ือ
ช่วยคัดกรองและให้คำแนะนำคณะครเู วรหน้าประตูโรงเรยี น และนักเรียน กอ่ นเข้าบริเวณโรงเรียน

๒. ครูและนกั เรยี นทุกคนสวมหนา้ กากอนามยั มีจดุ ตรวจวดั อุณหภมู ริ ่างกาย และมจี ดุ บริการเจล
แอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อแก่นักเรียน บริเวณจุดคดั กรองหนา้ โรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่างล้าง
มือบรเิ วณโรงอาหาร เป็นต้น

๓. คดั กรองนกั เรียน ผปู้ กครอง ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนเข้าสภู่ ายในบรเิ วณโรงเรยี น หากมี
อุณหภมู สิ งู กวา่ ๓๗.๕ องศาเซลเชยี สและมีอาการไข้ ไอ จาม เหนอื่ ยหอบ หายใจลำบาก ใหน้ ักเรยี นหยดุ เรียน
และไปพบแพทย์ทันที

๔. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆ
ภายในโรงเรียน นักเรียนเวน้ ระยะหา่ งกัน ๑-๒ เมตร

๕. การพักรบั ประทานอาหารกลางวนั
- ปฐมวัย แยกรบั ประทานอาหารทีอ่ าคารปฐมวัย รับประทานอาหารเวลา ๑0.3๐ น.
- ประถมศึกษาตอนตน้ ( ป.๑-๓) รับประทานอาหารเวลา ๑๑.0๐ น.
- ประถมศกึ ษาตอนปลาย (ป.๔-๖) รบั ประทานอาหารเวลา ๑1.15 น.
โดยมจี ดุ บรกิ ารสำหรบั ล้างมือก่อนเข้าโรงอาหารสำหรบั นักเรียน ๒ จดุ นักเรยี นนง่ั รับประทานอาหาร
ห่างกนั ๑-๒ เมตร และมกี ารทำความสะอาดโตะ๊ อาหารหลงั รับประทานอาหารทุกครงั้
๖. ดแู ลและปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ สำหรบั นกั เรยี นในกรณฉี ุกเฉนิ ให้ทนั ต่อเหตุการณ์ โดยคำนงึ ถงึ ความ
ปลอดภยั ของนกั เรยี นเปน็ สำคญั
๗.หากมีนกั เรียนมีความเสย่ี งสูงตอ่ การติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 60๑๙ ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมีกรติดต่อประสานงานกับ อสม. และ ผอ. รพ.สต.มาบไผ่
๘. หากในชุมชนมีนักเรียนหรือมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ให้หยุดทำการจัดการเรียนการสอน
และทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ ผอ. รพ.สต. มาบไผ่ เพื่อเฝ้าระวังความ
ปลอดภัยเปน็ ระยะ
เดอื นมกราคม 2565
มาตรการป้องกันและแกไ้ ขสถานการณ์
สถานศึกษามุ่งการจัดกิจกรรมให้กับผู้เรียนที่เน้นให้นักเรียนมีความสุขกับการมาโรงเรียน ผู้ปกครอง
เกิดความเช่อื มั่นในความปลอดภัยของสถานศกึ ษาเปน็ สำคัญ ยังไมเ่ น้นวิชาการมากเกนิ ไป)
๑. ครดู ูแลรบั นักเรียน และคดั กรองนักเรียนตอนเช้า หนา้ โรงเรยี นเป็นประจำทุกวัน โดยประสานงาน
กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมาบไผ่ และเจ้าหน้าที่ อสม. มาประจำที่จุดคัดกรองหน้าโรงเรียน เพ่ือ
ช่วยคัดกรองและให้คำแนะนำคณะครูเวรหนา้ ประตโู รงเรียน และนักเรียน กอ่ นเขา้ บริเวณโรงเรยี น

๒. ครูและนกั เรยี นทุกคนสวมหน้ากากอนามยั มีจุดตรวจวัดอุณหภูมริ า่ งกาย และมจี ุดบริการเจล
แอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเช้ือแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหนา้ โรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่างล้าง
มอื บริเวณโรงอาหาร เป็นตน้

๓. คดั กรองนกั เรยี น ผปู้ กครอง ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนเข้าสภู่ ายในบริเวณโรงเรยี น หากมี
อุณหภูมสิ งู กวา่ ๓๗.๕ องศาเซลเชียสและมีอาการไข้ ไอ จาม เหน่อื ยหอบ หายใจลำบาก ใหน้ ักเรียนหยดุ เรียน
และไปพบแพทย์ทนั ที

๔. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆ
ภายในโรงเรียน นักเรียนเว้นระยะหา่ งกัน ๑-๒ เมตร

๕. การพกั รบั ประทานอาหารกลางวัน
- ปฐมวยั แยกรบั ประทานอาหารท่ีอาคารปฐมวยั รับประทานอาหารเวลา ๑0.3๐ น.
- ประถมศกึ ษาตอนตน้ ( ป.๑-๓) รบั ประทานอาหารเวลา ๑๑.0๐ น.
- ประถมศกึ ษาตอนปลาย (ป.๔-๖) รับประทานอาหารเวลา ๑1.15 น.
โดยมีจุดบริการสำหรับล้างมือก่อนเขา้ โรงอาหารสำหรบั นักเรียน ๒ จุด นกั เรยี นนง่ั รับประทานอาหาร
หา่ งกนั ๑-๒ เมตร และมีการทำความสะอาดโตะ๊ อาหารหลงั รับประทานอาหารทกุ ครงั้
๖. ดแู ลและปฐมพยาบาลเบื้องตน้ สำหรับนักเรียนในกรณีฉกุ เฉินให้ทนั ต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภยั ของนกั เรียนเปน็ สำคญั
๗.หากมนี กั เรียนมคี วามเส่ยี งสูงต่อการตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 60๑๙ ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมกี รตดิ ตอ่ ประสานงานกับ อสม. และ ผอ. รพ.สต.มาบไผ่
๘. หากในชุมชนมีนักเรียนหรือมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ให้หยุดทำการจัดการเรียนการสอน
และทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ ผอ. รพ.สต. มาบไผ่ เพื่อเฝ้าระวังความ
ปลอดภัยเป็นระยะ
เดือนกุมภาพันธ์ 2565
มาตรการปอ้ งกันและแกไ้ ขสถานการณ์
สถานศึกษามุ่งการจัดกิจกรรมให้กับผู้เรียนที่เน้นให้นักเรียนมีความสุขกับการมาโรงเรียน ผู้ปกครอง
เกดิ ความเชือ่ มัน่ ในความปลอดภยั ของสถานศึกษาเป็นสำคัญ ยังไม่เน้นวิชาการมากเกินไป)
๑. ครดู แู ลรบั นักเรยี น และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้าโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน โดยประสานงาน
กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมาบไผ่ และเจ้าหน้าที่ อสม. มาประจำที่จุดคัดกรองหน้าโรงเรียน เพื่อ
ช่วยคัดกรองและใหค้ ำแนะนำคณะครเู วรหน้าประตโู รงเรียน และนักเรียน กอ่ นเข้าบรเิ วณโรงเรยี น
๒. ครูและนกั เรียนทุกคนสวมหนา้ กากอนามยั มีจดุ ตรวจวัดอณุ หภมู ริ า่ งกาย และมีจดุ บริการเจล
แอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆา่ เชื้อแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหนา้ โรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่างล้าง
มอื บริเวณโรงอาหาร เปน็ ต้น
๓. คัดกรองนกั เรียน ผปู้ กครอง ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนเข้าสู่ภายในบรเิ วณโรงเรียน หากมี
อุณหภมู สิ งู กวา่ ๓๗.๕ องศาเซลเชียสและมีอาการไข้ ไอ จาม เหนื่อยหอบ หายใจลำบาก ให้นักเรียนหยดุ เรียน
และไปพบแพทย์ทันที
๔. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆ
ภายในโรงเรยี น นกั เรยี นเว้นระยะหา่ งกนั ๑-๒ เมตร
๕. การพกั รับประทานอาหารกลางวนั
- ปฐมวัย แยกรบั ประทานอาหารท่ีอาคารปฐมวยั รับประทานอาหารเวลา ๑0.3๐ น.

- ประถมศึกษาตอนตน้ ( ป.๑-๓) รบั ประทานอาหารเวลา ๑๑.0๐ น.
- ประถมศกึ ษาตอนปลาย (ป.๔-๖) รบั ประทานอาหารเวลา ๑1.15 น.
โดยมจี ุดบริการสำหรับล้างมือก่อนเขา้ โรงอาหารสำหรับนักเรียน ๒ จุด นกั เรียนน่ังรบั ประทานอาหาร
หา่ งกนั ๑-๒ เมตร และมกี ารทำความสะอาดโตะ๊ อาหารหลงั รับประทานอาหารทุกครง้ั
๖. ดแู ลและปฐมพยาบาลเบื้องตน้ สำหรับนกั เรยี นในกรณีฉกุ เฉนิ ใหท้ ันต่อเหตุการณ์ โดยคำนงึ ถึงความ
ปลอดภัยของนกั เรียนเป็นสำคญั
๗.หากมีนกั เรยี นมคี วามเส่ียงสงู ตอ่ การติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 60๑๙ ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมกี รติดตอ่ ประสานงานกบั อสม. และ ผอ. รพ.สต.มาบไผ่
๘. หากในชุมชนมีนักเรียนหรือมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ให้หยุดทำการจัดการเรียนการสอน
และทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ ผอ. รพ.สต. มาบไผ่ เพื่อเฝ้าระวังความ
ปลอดภัยเป็นระยะ
เดือนมีนาคม 2565
มาตรการปอ้ งกันและแกไ้ ขสถานการณ์
สถานศึกษามุ่งการจัดกิจกรรมให้กับผู้เรียนที่เน้นให้นักเรียนมีความสุขกับการมาโรงเรียน ผู้ปกครอง
เกิดความเช่อื มน่ั ในความปลอดภัยของสถานศกึ ษาเป็นสำคญั ยังไมเ่ น้นวชิ าการมากเกินไป)
๑. ครูดูแลรบั นักเรยี น และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หนา้ โรงเรยี นเป็นประจำทุกวนั โดยประสานงาน
กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมาบไผ่ และเจ้าหน้าที่ อสม. มาประจำที่จุดคัดกรองหน้าโรงเรียน เพื่อ
ชว่ ยคดั กรองและให้คำแนะนำคณะครเู วรหน้าประตูโรงเรยี น และนกั เรียน ก่อนเข้าบริเวณโรงเรียน
๒. ครแู ละนกั เรยี นทุกคนสวมหนา้ กากอนามยั มีจุดตรวจวดั อณุ หภมู ริ ่างกาย และมีจุดบรกิ ารเจล
แอลกอฮอล์ล้างมือเพ่ือฆ่าเชื้อแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหนา้ โรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่างล้าง
มอื บรเิ วณโรงอาหาร เปน็ ต้น
๓. คดั กรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนเข้าสภู่ ายในบรเิ วณโรงเรียน หากมี
อุณหภมู สิ ูงกวา่ ๓๗.๕ องศาเซลเชียสและมีอาการไข้ ไอ จาม เหน่ือยหอบ หายใจลำบาก ให้นักเรยี นหยดุ เรียน
และไปพบแพทยท์ ันที
๔. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆ
ภายในโรงเรียน นักเรยี นเวน้ ระยะห่างกัน ๑-๒ เมตร
๕. การพักรับประทานอาหารกลางวัน
- ปฐมวัย แยกรับประทานอาหารทอ่ี าคารปฐมวยั รบั ประทานอาหารเวลา ๑0.3๐ น.
- ประถมศกึ ษาตอนต้น ( ป.๑-๓) รบั ประทานอาหารเวลา ๑๑.0๐ น.
- ประถมศึกษาตอนปลาย (ป.๔-๖) รับประทานอาหารเวลา ๑1.15 น.
โดยมีจดุ บริการสำหรบั ล้างมือก่อนเขา้ โรงอาหารสำหรับนักเรียน ๒ จุด นักเรียนนง่ั รบั ประทานอาหาร
หา่ งกัน ๑-๒ เมตร และมีการทำความสะอาดโตะ๊ อาหารหลังรบั ประทานอาหารทุกคร้งั
๖. ดแู ลและปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้นสำหรับนักเรียนในกรณฉี กุ เฉินใหท้ นั ต่อเหตุการณ์ โดยคำนงึ ถงึ ความ
ปลอดภัยของนักเรยี นเป็นสำคญั
๗.หากมีนกั เรยี นมีความเสย่ี งสงู ตอ่ การตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 60๑๙ ทางโรงเรยี นประสานขอความ
อนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมีกรตดิ ต่อประสานงานกบั อสม. และ ผอ. รพ.สต.มาบไผ่

๘. หากในชุมชนมีนักเรียนหรือมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ให้หยุดทำการจัดการเรียนการสอน
และทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ ผอ. รพ.สต. มาบไผ่ เพื่อเฝ้าระวังความ
ปลอดภยั เป็นระยะ
ส่วนท่ี 4 การวางแผนกการทำงานร่วมกนั กับหนว่ ยงานที่เกย่ี วขอ้ ง

๑. ในสถานการเฝ้าระวงั การแพรร่ ะบาดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ โรงเรยี นบ้านเขาแรต ประสานกับ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมาบไผ่ และเจ้าหน้าที่ อสม. เพื่อมาประจำที่จุดคัดกรองหน้าโรงเรียน เพื่อ
ช่วยคัดกรองและใหค้ ำแนะนำคณะครเู วรหน้าประตโู รงเรียน และนกั เรยี น กอ่ นเข้าบรเิ วณโรงเรียน

๒. ครูและนักเรียนทุกคนสวมหน้ากากอนามยั ๑00% มีจดุ ตรวจวดั อุณหภมู ริ ่างกาย และมีจุดบริการ
เจลแอลกอฮอล์ลา้ งมือเพื่อฆ่าเช้ือแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรยี นทุกหอ้ ง และอ่าง
ลา้ งมือบรเิ วณโรงอาหาร เปน็ ตน้

๓. หากมีนกั เรยี นมคี วามเส่ยี งสงู ตอ่ การติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 20๑๙ ทางโรงเรยี นประสานขอความ
อนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมีการตดิ ต่อประสานงานกับ อสม. และ ผอ. รพ.สต. มาบไผ่

๔. หากในชุมชนมีนักเรียนหรือมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 60๑๙ ให้หยุดทำการจัดการเรียนการสอน
และทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ ผอ. รพ.สต. มาบไผ่ เพื่อเฝ้าระวังความ
ปลอดภยั เปน็ ระยะ

สว่ นท่ี 5 ในกรณีที่ไมส่ ามารถเปดิ การเรยี นการสอน แบบ Onsite ได้ โรงเรียนมีการวางแผนการจดั การ
เรียนการสอน ดงั น้ี

โรงเรียนบา้ นเขาแรตประสานงานกบั ชุมชน ผใู้ หญบ่ ้าน กรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครอง โดยแจง้
ประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสายหมู่บ้าน คณะครูที่ออกเยี่ยมบ้านและครูที่อาศัยในชุมชนในการประสานงาน
ด้านการจัดการเรียนการสอนแบบ On Demand , On Hand และ On Line การรับ-ส่งเอกสารใบงาน ใบ
ความรู้แบบฝึกหัดในการจดั การเรยี นการสอน โดยครูประจำช้นั /ประจำวชิ า กำกับตดิ ตาม ๑ สัปดาห์/ครั้ง
ปฐมวัย (อ.1-๓)

ครูระดบั ปฐมวัย จดั กจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยการนำเอกสารสง่ ที่บา้ น (On - hand) โดยให้ครูออกเยี่ยม
บา้ นพรอ้ ม รับ-ส่ง ใบงาน/แฟม้ สะสมผลงาน ของนกั เรยี น โดยกำกบั ติดตาม ๑ สปั ดาห์/คร้งั โดยประสานงาน
กับผู้ปกครอง แนะนำ สนับสนุน ในการกำกับ ติดตาม นักเรียนรายบุคคลวัดและประเมินผล โดยใช้วิธีที่
หลากหลายในการประเมนิ นักเรียนรายบุคคล ตามสภาพจรงิ และมกี ารออกเย่ียมบ้านและติดตามประสานงาน
กับผูป้ กครองสำหรับนกั เรียนทไี่ มเ่ ข้าใจในบทเรียน
ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑-๓)

ครูระดับประถมศึกษาตอนต้น จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการนำเอกสารส่งที่บ้าน (On - hand) โดย
ให้ครูออกเยี่ยมบ้านพร้อม รับ-ส่ง ใบงาน/แฟ้มสะสมผลงาน ของนักเรียน โดยกำกับติดตาม ๑ สัปดาห์/คร้ัง
โดยประสานงานกับผู้ปกครอง แนะนำ สนับสนุน ในการกำกับ ติดตาม นักเรียนรายบุคคลวัดและประเมินผล
โดยใช้วิธีที่หลากหลายในการประเมินนักเรียนรายบุคคล ตามสภาพจริง และมีการออกเยี่ยมบ้านและติดตาม
ประสานงานกับผู้ปกครองสำหรบั นักเรียนทีไ่ มเ่ ข้าใจในบทเรยี น
ประถมศึกษาตอนปลาย (ป.๔-๖)

ระดับประถมศึกษาตอนปลาย จัดกิจกรรมด้านการจัดการเรียนการสอนแบบ On Demand , On
Handและ On Line ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ผ่าน Google Meet และมีการรับ-ส่งเอกสารในการจัดการ
เรียนการสอนโดยกำกบั ตดิ ตาม ๑ สปั ดาห/์ ครั้ง เพือ่ การกำกับ ตดิ ตาม นักเรยี นรายบุคคล อีกทัง้ แนะนำในการ

ทำใบงานก่อนการเรียน On Demand และ On Line หากนักเรียนคนใดไม่สามารถที่จะเรียน On Demand
และ On Line ได้ ก็สามารถทำความเข้าใจจากใบงาน On Hand ได้ และสามารถการนัดหมายพบปะในคร้ัง
ต่อไปครูประจำชั้น/ประจำวิชา กำกับติดตาม วัดและประเมินผล โดยใช้วิธีที่หลากหลายในการประเมิน
นักเรียนรายบุคคล ตามสภาพจริง และมีการออกเยี่ยมบ้านและติดตามประสานงานกับผู้ปกครองสำหรับ
นกั เรียนที่ไม่เขา้ เรียน On Line และนกั เรยี นทีม่ ารบั ใบงานไม่ไดเ้ น่อื งจากอยหู่ ่างไกล
สว่ นท่ี ๖ บทบาทของผู้เก่ยี วขอ้ ง

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ยังคงมีการแพร่
ระบาดอย่างตอ่ เนอ่ื ง เพ่อื ให้สถานศกึ ษามแี นวทางการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) โรงเรยี นบ้านหนองบัวได้กำหนดบทบาทของบคุ ลากรและหนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้อง ดังน้ี
๑. บทบาทของนักเรยี น

นักเรียนเป็นหัวใจสำคัญที่ต้องได้รับความคุ้มครอง ดูแลในเรื่องความปลอดภัยอย่างสูงสุด ทั้งน้ี
นักเรียนจะต้องถือปฏิบัติตนตามมาตรการความปลอดภัยของกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ
อย่างเคร่งครัด ต้งั แต่การเดินทางออกจากบ้านมาเรยี น ขณะอยู่ในโรงเรยี น จนถงึ การกลับบา้ น บทบาทของ
นกั เรยี น ควรมีดังน้ี

๑) เตรียมความพร้อมในเรื่องอุปกรณ์การเรียน เครื่องใช้ส่วนตัว และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับการเรียน
การสอน

๒) ปฏิบตั ิตาม ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสรมิ และ ๗ มาตรการเข้มงวด ของสถานศึกษากำหนด
อยา่ งเครง่ ครัด

๓) ตดิ ตามขอ้ มูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒0๑๙ (Covid-
19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจาย
ของโรค ตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) จากแหล่งขอ้ มูลท่ีเช่ือถอื ได้

๔) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผ่านแอพพลิเคชั่น Thai Save Thai (TST) อย่างสม่ำเสมอ และ
สังเกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมอี าการไข้ ไอ มีน้ำมกู เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไ่ ดก้ ล่ิน ไม่รู้รส
รีบแจ้ง ครูหรือผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒0๑๙
(Covid-19) หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยง และอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
อยา่ งเครง่ ครดั

๕) ขอคำปรกึ ษาจากครผู สู้ อนเม่อื พบปัญหาเก่ียวกบั การเรยี น อุปกรณ์การเรียนเรียน เคร่ืองใช้
สว่ นตวั หรือพบความผิดปกติของรา่ งกายที่อาจเสยี่ งตอ่ การติดเช้อื ของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒0๑๙ (Covid-
19) ทันที
๒. บทบาทของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

ครูและบุคลากรทางการศึกษาน้นั ซง่ึ ถอื อยใู่ กลช้ ดิ นักเรียน มีหนา้ ท่สี ำคญั ในการจดั การเรยี นรู้ให้แก่
นกั เรียนทกุ รปู แบบ จงึ ต้องเตรยี มความพร้อมการจัดการเรยี นการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนการ
สอน นอกจากจะตอ้ งดูแลตนเองแลว้ ยังต้องดแู ลนกั เรียนอกี ดว้ ย โดยเฉพาะด้านสุขอนามยั ตามมาตรการที่
กระทรวง สาธารณสุขและกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนด บทบาทของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ควรมีดังนี้

๑) ประชุมออนไลน(์ Online) ชแี้ จงผูป้ กครองนักเรยี นเพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจร่วมกนั ในการปอ้ งกนั การ
เฝ้าระวงั การเตรยี มตัวของนกั เรียนใหพ้ ร้อมก่อนเปิดเรียน

๒) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผ่านแอพพลิเคชัน Thai Save Thai (TST) อย่างสม่ำเสมอและ
สงั เกต

อาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มนี ำ้ มกู เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนอื่ ยหอบ ไม่ไดก้ ลนิ่ ไมร่ รู้ ส ให้หยุด
ปฏิบัติงาน และรีบไปพบแพทย์ทันที กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒0๑๙ (Covid-
19)หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยงและอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอย่าง
เครง่ ครัด

๓) ตดิ ตามข้อมูลข่าวสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒0๑๙ ( Covid-
19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจาย
ของโรค ตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (โควดิ -19) จากแหล่งข้อมลู ทเี่ ช่ือถอื ได้

๔) จัดหาสื่อประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายโรคติดเชื้อไวรัส โคโร
นา๒๐๑๙ (Covid-19) ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง การสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก
อนามัยคำแนะนำการปฏิบัติตัว การเว้นระยะห่างทางสังคม การทำความสะอาด หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรม
ร่วมกันจำนวนมากเพอ่ื ลดจำนวนคน

๕) ปฏบิ ัตติ าม ๖ มาตรการหลกั ๖ มาตรการเสรมิ และ ๗ มาตรการเขม้ งวดของสถานศึกษา กำหนด
อย่างเคร่งครดั

๖) คอยดูแล สอดส่องช่วยเหลือนักเรียนในเรื่องสุขอนามัยให้เป็นไปตามมมาตรการที่ กระทรวง
สาธารณสขุ และกระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด ไดแ้ ก่

(๑) ทำการตรวจคัดกรองสขุ ภาพนกั เรียนทุกคนท่ีเขา้ มาในโรงเรียนในตอนเช้า ใช้เครอ่ื งวัด
อณุ หภมู ิร่างกายพร้อมสังเกตอาการและสอบถามอาการของระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้ ไอ มนี ้ำมูก เจบ็
คอ หายใจลำบาก เหน่อื ยหอบ ไมไ่ ด้กลิน่ ไมร่ ูร้ ส โดยติดสัญลักษณ์ สติกเกอร์หรอื ตราปม๊ั แสดงใหเ้ ห็นชดั เจน
วา่ ผา่ นการคดั กรองแล้ว

(๒) กรณพี บนักเรียนหรอื ผมู้ อี าการมไี ข้ อุณหภมู ิร่างกายตั้งแต่ ๓๗.๕ องศาเซลเชียสขนึ้
ไป ร่วมกับอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง จัดให้อยู่ในพื้นที่แยกส่วน ประสานโรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล หรือเจ้าหนา้ ทสี่ าธารณสุข เพอ่ื ตรวจคัดกรองอีกคร้ัง หากพบว่าผลตรวจเบ้ืองเป็น
บวกจึง แจง้ ผูป้ กครองมารับ จากนน้ั แจง้ ผบู้ รหิ ารหรือผมู้ สี ่วนเก่ียวข้อง เพอ่ื ดำเนนิ การตามแผนเผชิญเหตุ และ
มาตรการปอ้ งกนั ตามระดบั การแพรร่ ะบาดโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)ของสถานศกึ ษา

(๓) บนั ทกึ ผลการคดั กรองและสง่ ต่อประวัตกิ ารป่วย ตามแบบบันทึกการตรวจสขุ ภาพ
(๔) จัดอุปกรณ์การล้างมือ พร้อมใช้งานอย่างเพียงพอ เช่น เจลแอลกอฮอล์วางไว้บริเวณ
ทางเข้าสบู่ลา้ งมือบรเิ วณอ่างลา้ งมอื
๗) ตรวจสอบ กำกบั ติดตามการมาเรยี นของนักเรียนขาดเรียน ถูกกักตวั หรืออยใู่ นกลุ่มเส่ียง ต่อการ
ตดิ โรคโควดิ 19 และรายงานตอ่ ผู้บริหารสถานศกึ ษา
๘) ปรับพฤตกิ รรมสำหรบั นกั เรียนทไ่ี มร่ ่วมมอื ปฏิบตั ติ ามมาตรการท่ีครกู ำหนด ด้วยการแกป้ ัญหาการ
เรยี นรู้ใหมใ่ หถ้ ูกตอ้ ง นั่นคอื "สร้างพฤติกรรมท่พี งึ ประสงค์" หรอื "ลดพฤติกรรมทไ่ี ม่พงึ ประสงค์"
๙) สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเครียด ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติที่เกิดขึ้นได้ในภาวะวิกฤติ ที่มี
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) และนำกระบวนการการจัดการความเครียด
การฝึกสติให้กลมกลืนและเหมาะสมกับนักเรียนแต่ละวัยร่วมกับการฝึกทักษะชีวิต ที่เสริมสร้างความเข้มแข็ง
ทางใจ (Resilience) ให้กับนักเรยี น ไดแ้ ก่ ทักษะชวี ิตด้านอารมณ์ สงั คม และความคดิ เป็นตน้
๑๐) สังเกตอารมณ์ความเครียดของตัวเอง เนื่องจากภาระหน้าที่การดูแลนักเรียนจำนวนมาก และ
กำกับให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒0๑๙ (Covid -19) เป็นบทบาทสำคัญ

อาจจะ สร้างความเครียดวิตกกังวลทั้งจากการเฝ้าระวังนักเรียน และการป้องกันตัวเองจากการสัมผัสกับเช้ือ
โรค ดงั นัน้ เม่อื ครูมคี วามเครยี ด จากสาเหตตุ า่ งๆ มีข้อเสนอแนะ ดงั นี้

(๑) กรณมี ีความสบั สนกบั มาตรการของโรงเรียนที่ไม่ชัดเจน แนะนำให้สอบถาม กับผู้บริหาร
โรงเรยี นหรือเพอื่ นรว่ มงาน เพือ่ ใหเ้ ขา้ ใจบทบาทหนา้ ทแ่ี ละข้อปฏิบัตทิ ี่ตรงกัน

(๒) กรณีมีความวิตกกังวล กลัวการติดเชื้อในโรงเรียน ให้พูดคุยสื่อสารถึงความไม่สบายใจ
และร้องขอสิ่งจำเป็นสำหรับการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อการป้องกันการตดิ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) เช่น สถานที่ สื่อการเรียนการสอน กระบวนการเรียนรู้ การส่งงานหรือตรวจการบ้าน เป็นต้น
หาก ตนเองเป็นกลุ่มเสี่ยง หรือมีโรคประจำตัวก็สามารถเข้ารับการตรวจ รักษาตามมาตรการที่กระทรวง
สาธารณสขุ และกระทรวงศึกษาธิการกำหนด

(๓) จัดให้มีกิจกรรมบำบัดความเครียด โดยการฝึกสติให้เป็นกิจวัตรก่อนเริ่มการเรียนการ
สอนเพื่อลดความวิตกกงั วลตอ่ สถานการณท์ ี่ตงึ เครยี ดน้ี

๑๑) กำกบั และติดตามการไดร้ ับวัคนของนักเรียนและผปู้ กครองนักเรียนให้เป็นไปตามมาตรการท่ี
กำหนดและเปน็ ปจั จบุ ัน
๓. บทบาทของผู้บรหิ ารสถานศึกษา

ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาเป็นผ้ทู ีม่ บี ทบาทสำคัญในการขบั เคล่ือนตัง้ แต่การวางแผน การกำหนดนโยบาย
สถานศึกษา การเตรยี มความพร้อมการเปดิ เรียน การสง่ เสรมิ ครูในการออกแบบการจดั การเรยี นการสอน การ
กำกับ ติดตามช่วยเหลือ การประเมินผลการจัดการเรียนการสอน การแก้ไขปัญหา การประเมินสถานการณ์
การรายงาน ตลอดจนร่วมมือกับครูและบุคลากร ผู้ปกครองนักเรียน ให้การตรวจสอบสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เพื่อความปลอดภัยของนักเรียน โดยบทบาทของ
ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาควรมี ดงั น้ี

๑) จัดใหม้ ีการประชมุ หารือร่วมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ครู ผู้ปกครอง
นักเรยี น ผ้นู ำชุมชน และมีมตีใหค้ วามเหน็ ชอบรว่ มกันในการจัดพ้นื ที่ และรปู แบบการจัดการเรียนการสอน

๒) ประกาศนโยบายและแนวปฏบิ ตั ิการปอ้ งกันการแพร่ ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) ในโรงเรียน

๓) แต่งตัง้ คณะทำงานดำเนินการควบคุมดแู ลและป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโร
นา ๒๐๑๙ (Covid-19) ประกอบด้วย นักเรียน ครู ผปู้ กครอง เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ ทอ้ งถ่ิน ชุมชน และ
ผเู้ กยี่ วขอ้ ง

๔) ประเมนิ ความพรอ้ มผ่าน Thai Stop Covid Plus (TSC+) และรายงานการติดตามการประเมินผล
ผ่าน MOE Covid*)

5) ทบทวน ปรับปรุง ชักซอ้ มปฏบิ ัตติ ามแผนเผชิญเหตขุ องโรงเรยี นในภาวะทมี่ ีการระบาด ของโรคติด
เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

๖) จัดให้มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์แนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เก่ยี วกบั นโยบาย มาตรการ แนวปฏบิ ัติ และการจดั การเรยี นการสอนให้แก่ครู
นักเรียน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการโรงเรียน ผ่านช่องทางสื่อที่เหมาะสม และติดตามข้อมูลข่าวสารท่ี
เก่ียวขอ้ งจาก แหล่งขอ้ มูลทเี่ ชื่อถือได้

๗) สนบั สนุนให้นกั เรยี น ครูและบคุ ลากรไดร้ บั วคั ซีนครบโดส ต้ังแตร่ ้อยละ 85 ข้นึ ไป
๘) สนับสนนุ ใหม้ ีการตรวจคดั กรอง Antigen Test Kit (ATK) ตามมาตรการของภาครัฐ

๙) สนบั สนุน ส่งเสริม ใหน้ กั เรยี น ครู บคุ ลากรทางการศึกษา และผปู้ กครองประเมนิ ตนเองผ่าน
Thai Save Thai (TST) ตามเกณฑ์จำแนกเขตพืน้ ทีก่ ารแพร่ระบาด

๑๐) ส่ือสารสร้างความรู้ความเข้าใจ เพอ่ื ลดการรงั เกยี จ และลดการตตี ราทางสังคม ( Social
Stigma) กรณีพบว่ามีบุคลากรในโรงเรียน นกั เรียน หรอื ผู้ปกครองตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒0๑๙ (Covid-19)

๑๑) กำหนดมาตรการคัดกรองสขุ ภาพทุกคน บรเิ วณจุดแรกเขา้ ไปในโรงเรียน ( Point of Entry)
ให้แก่ นักเรยี น ครู บุคลากร และผมู้ าตดิ ตอ่ และจัดให้มพี ้ืนทแี่ ยกโรค อปุ กรณ์ป้องกนั เช่น หนา้ กากผ้า หรอื
หนา้ กากอนามัย เจลแอลกอฮอล์ อย่างเพียงพอ รวมถงึ เพิม่ ชอ่ งทางการส่ือสารระหว่างครู นกั เรยี น ผูป้ กครอง
และเจ้าหน้าท่สี าธารณสขุ ในกรณีท่พี บนักเรยี นกล่มุ เสย่ี งหรอื สงสยั

๑๒) จัดใหน้ ักเรียนสามารถเข้าถึงการเรยี นการสอนท่ี มีคณุ ภาพเหมาะสมตามบรบิ ทไดอ้ ยา่ ง
ต่อเนอื่ ง ตรวจสอบ ตดิ ตาม กรณีนกั เรยี นขาดเรียน ลาปว่ ย การปดิ โรงเรยี น การจัดให้มีการเรียนการสอน
ทางไกล ส่อื ออนไลน์ การตดิ ต่อทางโทรศพั ท์ หรอื Social Media เปน็ รายวนั หรือรายสัปดาห์

๑๓) กรณีพบนักเรียน ครู บุคลากร หรือผู้ปกครองอยู่ในกลุ่มเสี่ยงหรือผู้ป่วยยืนยันเข้ามาในโรงเรียน
ให้รบี แจง้ เจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสุขในพื้นทเ่ี พื่อดำเนินการสอบสวนโรค และพิจารณาดำเนินการตามแผนเผชิญเหตุ
และมาตรการปอ้ งกนั ตามระดบั การแพร่ระบาตโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ของสถานศึกษา

๑๔) มมี าตรการให้นักเรียนได้รับอาหารกลางวันและอาหารเสริมนม ตามสิทธทิ ่ีควรได้รับ กรณีพบอยู่
ในกลมุ่ เส่ียงหรืออย่ใู นชว่ งกักตวั

๑๕) ควบคมุ กำกบั ติดตาม ตรวจสอบ และรายงานผลการดำเนินงาน ตามมาตรการปอ้ งกนั การแพร่
ระบาดภายในโรงเรียนอยา่ งเครง่ ครดั และต่อเน่ือง

๑๖) เยี่ยมบ้าน สร้างขวัญกำลังใจนักเรียน ทั้งนักเรียนที่มาเรียนแบบปกติ และที่ไม่สามารถมาเรียน
แบบปกติได้

๔. บทบาทของผู้ปกครองนักเรยี น
ผู้ปกครองนักเรียนเป็นบุคคลที่มีสำคัญยิ่ง มีหน้าที่ต้องดูแลเอาใจใส่นักเรียนและตนเอง ในด้าน

สขุ อนามัยและการป้องกันความเสย่ี งจากการแพรร่ ะบาดของเชื้อโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒0๑๙ ( Covid-19)
อย่างเคร่งครัด ต้องให้ความร่วมมือกับโรงเรียน ครูประจำชั้น หรือครูที่ปรึกษา เกี่ยวกับมาตรการการดูแล
นักเรียนผู้ปกครอง นักเรียนจึงมีบทบาทสำคัญร่วมกับครูเพื่อช่วยนักเรียนทั้งในเรื่องการเรียนรู้และการดูแล
ความปลอดภยั ของ นักเรยี น บทบาทของผู้ปกครองนกั เรยี น ควรมดี ังนี้

๑) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒0๑๙ (Covid-
19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจาย
ของโรค ติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) จากแหล่งขอ้ มูลท่ีเช่ือถอื ได้

๒) ประเมินความเส่ียงของตนเอง นักเรยี น และคนในครอบครวั ผา่ นแอปพลิเคชัน Thai Save
Thai (TST) อยา่ งสมำ่ เสมอ สงั กตอากรปว่ ยของนกั เรียน ของตนเอง และของคนในครอบครัว หากมอี าการไข้
ไอ มี น้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส ห้รีบพาไปพบแพทย์ ควรแยกเด็กไม่ให้ไป
เล่นกับคนอื่น ให้พักผ่อนอยู่ที่บ้านจนกว่าจะหายเป็นปกติ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา๒๐๑๙ (Covid-19) หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยงอยู่ในช่วงกักตัวให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่
สาธารณสขุ อย่างเคร่งครัด

๓) จัดหาของใช้ส่วนตัวให้นักเรียนอย่างเพียงพอในแต่ละวัน ทำความสะอาดทุกวัน เช่น หน้ากากผ้า
ชอ้ นสอ้ ม แก้วนำ้ แปรงสฟี ัน ยาสฟี ัน ผ้าเช็ดหนา้ ผา้ เชด็ ตัว เป็นตน้

๔) จัดหาสบหู่ รือเจลแอลกอฮอล์และกำกบั ดแู ลนักเรยี นให้ล้างมือบอ่ ย ๆ ก่อนกนิ อาหาร หลังใช้
ส้วม หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็น และสร้างสุขนิสัยที่ดี หลังเล่นกับเพื่อน
และเม่อื กลบั มาถึงบ้าน ควรอาบนำ้ สระผม และเปล่ยี นชุดเสื้อผ้าใหมท่ ันที

๕) ดูแลสุขภาพนักเรียน จัดเตรียมอาหารปรุงสุก ใหม่ ส่งเสริมให้กินอาหารร้อน สะอาด อาหารครบ
๕หมู่และผัก ผลไม้ ๕ สี และควรจัดอาหารกลอ่ ง (Box Set) ให้แก่นักเรียนในช่วงเช้าแทนการซือ้ จากโรงเรยี น
(กรณีท่ีไม่ได้รับประทานอาหารเช้าจากที่บ้าน เพอื่ เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ออกกำลังกาย อย่างน้อย ๖๐ นาที ทุก
วนั และนอนหลับอยา่ งเพียงพอ ๙ - ๑๑ ชัว่ โมงต่อวัน

๖) หลีกเล่ียงการพานักเรยี นไปในสถานเส่ยี งต่อการติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) สถานท่ี
แออดั ทม่ี กี ารรวมกันของคนจำนวนมาก หากจำเปน็ ต้องสวมหน้ากากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัย ลา้ งมือบอ่ ย ๆ ๗
ขน้ั ตอน ด้วยสบแู่ ละนำ้ นาน ๒0 วินาที หรอื ใช้เจลแอลกอฮอล์

๗) กรณีนักเรยี นเดนิ ทางมาโรงเรยี น โดยรถโรงเรียน รถตู้ หรอื รถอืน่ ๆ ผปู้ กครองและโรงเรียนตอ้ งขอ
ความร่วมมือกบั คนขับรถให้ปฏิบตั ติ ามมาตรการของสาธารณสขุ อย่างเคร่งครัด

๘) กรณมี กี ารจดั การเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผูป้ กครองควรใหค้ วามร่วมมือกับครูในการ ดแู ล
จดั การเรียนการสอนแก่นกั เรยี น เชน่ การส่งการบ้าน การรว่ มทำกิจกรรม เป็นตน้

๕. บทบาทขององค์กรสนับสนนุ
๕.๑ สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา
๑) ประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ความเข้าใจให้โรงเรียนในสังกัด เกี่ยวกับการป้องกันตนเอง

การดแู ล สขุ อนามยั ของตนเอง และบคุ คลในครอบครวั
๒) ประสานงานองคก์ รต่างๆ ในเขตพื้นที่การศกึ ษาในการชว่ ยเหลือสนับสนนุ โรงเรียน
๓) นิเทศ กำกับ ติดตาม โรงเรียนในสังกัดด้านการบริหารโรงเรียนภายใต้สถานการณ์การ

แพร่ระบาด ของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
๔) กำกบั ตดิ ตาม โรงเรยี นในสงั กดั ดา้ นการบรหิ ารขอ้ มูลสารสนเทศเก่ียวกับการได้รับ

วัคซนี ของนกั เรยี น ครู ผู้บริหารโรงเรียน และผู้ปกครองนกั เรียนให้ได้รบั วคั นตามมาตรการท่ีกำหนด
๕) รายงานผลการดำเนินการตอ่ หนว่ ยงานตน้ สังกดั ใหท้ ราบความเคลอ่ื นไหวอย่างต่อเนื่อง

สมำ่ เสมอ
๖) ประชมุ ตรวจเยี่ยมสถานศึกษา สร้างขวัญกำลังใจในการเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเปดิ ภาค

เรียน ทงั้ แบบปกติและแบบทางไกล
๕.๒ สำนักงานสาธารณสขุ
๑) ให้คำแนะนำเกยี่ วกับข้อควรปฏิบตั ิของสถานศึกษา สนับสนุนการดำเนินงานของโรงเรียน

ให้สอดคล้องตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศึกษาธิการกำหนด
๒) สนับสนนุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ อาทิ ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) อปุ กรณ์วัด

อณุ หภมู ิ หนา้ กากอนามยั เจลลา้ งมอื ฯลฯ
๓) สนับสนนุ บุคลากรทางการแพทย์ในการบรกิ ารตรวจคดั กรองความเสีย่ งให้แก่ นักเรยี น

ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา

๔) จัดให้มีช่องทางการสื่อสาร การให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง เป็นปัจจุบันให้กับสถานศึกษา
และจัดระบบสนับสนุนเมื่อมนี ักเรียน ครูหรือบุคลากรมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-
19)สำรวจ ติดตามสถานการณ์ในพื้นที่บริการอย่างต่อเนื่อง กรณี พบผู้มีอาการเสี่ยงหรอื ป่วย ต้องดำเนินการ
ทันที และรายงานให้สถานศึกษาทราบเพือ่ ดำเนินการตามมาตรการต่อไป

5) ออกให้บริการตามที่สถานศึกษาร้องขอ เช่น จัดเจ้าหน้าที่ อสม.ประจำหมู่บ้าน ตำบล
ตรวจเวรยาม บันทึกตแู้ ดงตามจดุ ท่ีโรงเรยี นกำหนด และอืน่ ๆตามความตอ้ งการจำเปน็

๕.๓ องค์กรทางปกครอง
๑) ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจห้โรงเรียน และชุมชนในเขตการปกครองมีความรู้ความ

เขา้ ใจ เกีย่ วกบั การปอ้ งกันตนเอง การดแู ลสุขอนามัยของตนเอง และบุคคลในครอบครวั
๒) สนับสนุน ช่วยเหลือโรงเรยี นในเขตปกครองตามคำสัง่ ของจงั หวัดอยา่ งเคร่งครดั
๓) กำกับ ติดตามการได้รับวัคนของประชาชนในเขตปกครองและมีข้อมูลทางสถิติที่อ้างอิง

เช่อื ถอื ได้
2) ใหบ้ รกิ ารตามท่ีสถานศกึ ษาร้องขอตามความต้องการเร่งด่วนและจำเปน็

๕.๔ องค์กรเอกชน
๑) สนับสนนุ อปุ กรณท์ างการแพทย์ อาทิ ชดุ ตรวจ Antigen Test Kit (ATK) อุ ปกรณ์ วดั

อุณหภมู ิ หนา้ กากอนามยั เจลล้างมือ ฯลฯ
๒) สนับสนุนงบประมาณให้แก่สถานศึกษาในการนำไปใช้บริหารจัดการภายใต้สถานการณ์

การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
๓) อำนวยความสะดวกให้ความช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน จำเป็นในการส่งตัวนักเรียน ครูและ

บุคลากรที่ คาดวา่ จะได้รบั เชอ้ื หรือเป็นกลุม่ เสี่ยงส่งหนว่ ยงานสาธารณสุขไดอ้ ย่างรวดเร็ว
๔) สร้างระบบการติดต่อสื่อสารหน่วยงานภายในจังหวัด อำเภอ ตำบล ให้มีความรวดเร็วใน

การ ช่วยเหลอื ดแู ล นกั เรียน ครู บคุ ลากร และผูป้ กครอง ท่ีสถานศกึ ษาได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
ส่วนท่ี ๗ การติดตามและประเมนิ ผล

การติดตามและประเมินผลเป็นกระบวนการสำคญั ทจ่ี ะต้องดำเนนิ การ ใหเ้ ปน็ ไปตาม แนวทางการ
เตรยี มการเปดิ ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid- 19) ที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดไว้ เพื่อติดตาม ดูแล
ช่วยเหลือหรอื แกไ้ ขปญั หา รบั ทราบความก้าวหน้า ปญั หาอุปสรรคของการดำเนินงาน และขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี

สถานศึกษากำหนดหรือแต่งตั้งผู้รับผดิ ชอบดำเนินการตามแนวทางการเตรยี มการเปดิ ภาคเรียนท่ี ๒ ปี
การศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒0๑๙ (Covid-19) โดยให้
มกี ารติดตามและประเมินผล ดงั น้ี

๑) การนำแนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ภายใตส้ ถานการณ์ การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid- 19) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่
การปฏบิ ัติ

๒) การประเมินตนเองผ่านระบบ Thai Stop Covid Plus :TSC+ และรายงานการติดตามการ
ประเมนิ ผลผา่ น MOE Covid

๓) การปฏบิ ัติตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ท้ัง ๔ องคป์ ระกอบ
๔) การปฏิบัติตาม ๗ มาตรการเข้มของสถานศึกษาระหว่างการจัดการเรียนการสอน
๕) การทำและการปฏิบัตติ ามแผนการเผชิญเหตทุ ่กี ำหนดไว้

สว่ นที่ 8 ขอ้ เสนอแนะ/ขอ้ คดิ เห็นอ่นื ๆ
การสนับสนุนหน้ากากอนามัย แอลกอฮอล์ และเจแลแอลกอฮอล์สำหรับล้างมือ สำหรับนักเรียนท่ี

ขาดแคลน เพอ่ื ใช้ในช่วงการจัดการเรียนการสอนนแบบ On-site

ลงชอื่
(นางสาวจิราพร แสงมาศ)

ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นเขาแรต


Click to View FlipBook Version