จติ นิยม
IDEALISM
‘‘จิตนยิ ม’’I D E A L I S M เปน็ ลัทธิปรัชญาที่เก่าแก่
ที่สุดในบรรดาปรัชญาตางๆ มี
กําเนิดพรอมกับการเริ่มตนของ
ปรชั ญา ปรัชญาลทั ธนิ ี้ถือเร่อื งจิต
เปนสิง่ สําคญั มีความเชื่อวาสิง่ ท่ี
เปนจรงิ สงู สุดน้นั ไมใชวตั ถหุ รอื
ตัวตน แตเปนเรือ่ งของความคดิ
ซงึ่ อยูในจติ (Mine)
‘‘จติ นยิ ม’’I D E A L I S M สิ่งท่ีเราเห็นหรือจับตองไดนั้น
ยงั ไมมีความจรงิ ที่แท ความจริง
ทแี่ ทจะมอี ยูในโลกของจิต (The
world of mind) เทาน้นั ผทู ไ่ี ด้
ช่ือวาเปนบิดาของแนวความคิดลัทธิปรัชญาน้ีคือ เพลโต (Plato)
นักปรัชญาเมธีชาวกรีก ซ่ึงมีความเช่ือว่าการศึกษาคือการพัฒนา
จิตใจมากกวา่ อยางอ่ืน
ววิ ฒั นาการ
ของ จิ ต นิ ย ม
1. จติ นิยมกรกี โบราณ
2. จติ นยิ มประสบการณ์
3. จติ นิยมเยอรมนั สมัยใหม่
และรูปแบบต่างๆ ท่ีสมั พันธก์ นั
1. จติ นยิ มกรีกโบราณ
พารม์ นี ดิ สิ (Parmenides) เปน็
นักปราชญ์กรีกสมยั โบราณ ได้รับความนับถือ
อ ย่ า ง ม า ก ว่ า เ ป็ น ผู้ ที่ มี ปั ญ ญ า ลึ ก ซ้ึ ง แ ล ะ
อุปนิสัยสูงส่งดีเลิศ ทัศนะทางปรัชญาของ
พาร์มีนิดิสเกิดจากการเฝ้าสังเกตความไม่
เที่ยงแท้ หรือความเปน็ อนจิ จังของสิ่งตา่ งๆ
และพยายามค้นหาสิง่ ที่เป็นนิรันดร์ จึงพบว่า
โลกท่ีเราสัมผัสเป็นโลกแห่งการหลอกลวง
ด้ ว ย เ ห ตุ น้ี ค ว า ม คิ ด เ ร่ื อ ง สั ต แ ล ะ อ สั ต จึ ง
เกิดขึ้น สิ่งท่ีเป็นจริงสูงสุดคือสัต (Being)
สว่ นอสตั เปน็ โลกแหง่ มายา ไม่จริง
เพลโต (Plato) จติ นยิ มของเพลโต ได้รับอิทธิพลจากปรัชญา
ของ พาร์มีนิดีส คือ เพลโตได้นําความคิดเร่ือง โลกแห่งมโนคติหรือ
ทฤษฎีแบบ (World of Ideas or Theory of Form) มาจากคํา
สอนเรอ่ื งสัต (being) ของพาร์มีนิดีสมาพัฒนา
มนุษย์ในทัศนคติ
ของเพลโตประกอบด้วย
องค์ประกอบ 2 อย่างคือ
กายกับจิต จิตทําหน้าท่ี 3
ภาค คือ ภาคตัณหา ภาค
นา้ํ ใจ และภาคปัญญา ภาค
ทั้งสามของจิตกล่าวโดย
สรปุ ดังนี้
1. ภาคตัณหา หมายถึง ความต้องการ
ความสุขทางร่างกาย เช่น การกินอยู่ หลับนอน
คนที่มีจิตภาคนี้ ได้แก่ คนท่ีลุ่มหลงอยู่ในโลกีย์
สุขทั้งปวง ตามทัศนคติของเพลโตเปรียบคน
พวกนไี้ ด้แก่ คนทีล่ มุ่ หลงในโลกยี ส์ ุขทงั้ ปวง ตาม
ทัศนะของเพลโตเปรียบคนพวกน้ีไม่ต่างกับ
เดรจั ฉาน
2. ภาคน้าใจ หมายถึง ความรู้สึก
ทางใจท่ีเกิดขึ้นโดยมิได้มีสาเหตุทางวัตถุ
เชน่ ความเสียสละ ความรัก ระเบียบวินัย
ความเมตตา คนท่ีมีจิตภาคนํ้าใจเป็นใหญ่
กว่าภาคอื่นๆ ก็ยังมีความปรารถนาใน
โลกีย์อยู่เพราะเป็นความต้องการทางกาย
อันเปน็ เรอื นที่จติ คลองอยู่
แต่คนเหล่าน้ีมิได้เป็นกังวลกับเรื่องดังกล่าว
เขาอาจจะยอมตายมากกว่ายอมเสียเกียรติ
คน เหล่าน้ีสูงกว่าเดรัจฉาน เพราะเดรัจฉาน
ทําทุกอย่างโดยไม่คํานึงถงึ อะไรท้งั สิ้น
3. ภาคปญั ญา หมายถงึ ความมี
เหตุผล จติ ภาคน้ีทําหนา้ ท่ีเก่ียวกบั เหตุผล
เป็นส่วนทเ่ี พลโตถือว่าทาํ ใหม้ นุษย์แตกต่าง
จากสตั ว์และสงิ่ ท้งั ปวงในโลก จติ ภาคปัญญา
ทาํ ให้มนษุ ยร์ จู้ กั ความจรงิ
2. จติ นิยมประสบการณ์ หมายถึง หลักปรัชญา
ของปรชั ญาเมธีทั้งหลาย เช่น
จอรจ์ เบริคเลย์ จอหน์ ล๊อค เดวดิ ฮิวม์
(George Berkley) (John Lock) (David Hume)
จอร์จ เบริคเลย์ (George Berkley)
เป็นนักปรัชญาชาวไอริส เป็นนักปรัชญา
กลุ่มประจักษ์นิยม (ประสบการณ์นิยมใน
ปัจจุบัน) เบริคเลย์ กล่าวว่า ทุกส่ิงทุกอย่าง
ท่ีเรารับรู้ทางประสาทสัมผัสน้ัน มีอยู่ได้
เพราะจิตและแนวความคิด หมายความว่า
เราต้องมีแนวความคิดใดๆ เกี่ยวกับส่ิง
ตา่ งๆ และแนวความคดิ นัน้ มีอยู่ในจติ ใจเรา
ดังน้ันสิ่งที่แท้จริงคือจิตและความคิด
(Mind and Idea) ดังน้ันเขาจึงกล่าวว่า
ความมีอยู่คือการถูกรับรู้ และได้กล่าว
ต่อไปอีกว่า จิตไม่ได้สร้างแนวความคิด
แต่แนวความคดิ นถี้ กู ใส่ไว้ในจิตโดยพระ
เจ้า คือ พระเจ้าได้สร้างแนวความคิดไว้
ในจติ ของมนษุ ยท์ ุกคน
3. จิตนิยมเยอรมนั สมัยใหม่และรูปแบบต่างๆ ท่ีสมั พันธก์ นั
หมายถงึ หลกั ปรัชญาของนักปรชั ญาเมธีทงั้ หลาย เช่น
ไลบ์นิช คานต์ เฮเกล
อิมมานูเอล คานต์ (Immanuel
Kant) นักปรัชญาชาวเยอรมัน แนวปรัชญา
ของคานต์มีลักษณะประนีประนอมหลักการ
ของกลมุ่ เหตุผลนิยมและประจักษ์นิยม โดย
กล่าวว่า ความรู้บางชนิดเป็นความรู้ท่ีมีมา
ก่อน เป็นความรู้ท่ีจริงและจําเป็นที่ทุกคนมี
เหมอื นกัน ตรงกัน ทั้งในอดีต ปัจจุบัน และ
อนาคต
แต่ความรู้บางชนิดเป็นความรู้ท่ีเกิดข้ึนในภายหลัง ได้แก่ ความรู้
ท่ีเกิดข้ึนจากประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส ซ่ึงเกิดข้ึนใน
ขณะน้ันและเป็นปัจจุบัน จากทัศนะนี้เป็นการยอมรับหลักการ
ของกลุ่มเหตุผลนิยมและกลุ่มประจักษ์นิยมเป็นบางส่วนและมี
การปฏิเสธเป็นส่วนใหญ่
ตามทัศนะของคานต์ความรู้จึงแบ่งออกเป็น
2 ประเภท คือ ความรู้ที่มีบ่อเกิดมาจาก
ประสบการณ์ และความรู้ที่มีบ่อเกิดมาจาก
ปญั หาหรือความคดิ ของมนุษย์
ปรชั ญาการศึกษา
กับแนวคิด จิ ต นิ ย ม
1. โรงเรยี นปอเนาะ
2. โรงเรียนสัตยาไสย
3 .โรงเรยี นกรงุ เทพคริสเตยี น
ตวั อยา่ งโรงเรยี นตามแนวคิดจติ นยิ ม
1. โรงเรียนปอเนาะ
โรงเรียนปอเนาะ คือ โรงเรียนท่ี
เน้นการสอนเก่ียวกับศาสนาอิสลามท้ังหมด
เช่น วิชาอัลกุรอาน ฮะดิษ ประวัติศาสตร์
อิสลาม ภาษาอาหรับ ฟิกห์ เตาฮีด การรู้จัก
พระเจ้า การศรัทธา การท่องจําอัลกุรอาน
นอกจากวิชาเก่ียวกับศาสนาก็มีในส่วนของ
วิชาทั่วไปตามหลักสูตรข้ันพ้ืนฐาน เช่น
คณติ ศาสตร์ ภาษาองั กฤษ เป็นต้น
2. โรงเรยี นสตั ยาไสย
โรงเรียนสัตยาไสย เป็นโรงเรียนวิถี
พุทธ เน้นการสอนคุณธรรม จริยธรรมตาม
แบบวิถีพุทธ ปลูกฝังผู้เรียนตามหลักคํา
สอนของพุทธศาสนา “เด็กไม่จําเป็นต้อง
เป็นคนเก่ง แต่ตอ้ งเปน็ คนดี”
3 .โรงเรยี นกรุงเทพคริสเตยี น
โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน มี
หลักสูตรคริสเตียนศึกษา มุ่งเน้นพัฒนา
ผูเ้ รียนให้เปน็ มนษุ ย์ที่สมบูรณ์ตามแบบพระ
เยซูคริสต์ท้ังด้านจิตวิญญาณ ร่างกาย
สตปิ ญั ญา อารมณ์ และสังคม พฒั นาผู้เรียน
ให้เป็นคนดี มีคุณธรรม รู้วิธีการแสวงหา
ความรู้ด้วยตนเอง และสามารถนําคําสอน
จากพระคริสตธรรมคัมภีร์มาประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจําวนั ได้
การศึกษา
กับแนวคิด จิ ต นิ ย ม
1) แนวคดิ ทางสังคม
เป้าหมายการศึกษา
2) ลกั ษณะผู้เรยี น
3) ลกั ษณะครูผู้สอน
4) ลกั ษณะหลักสูตรหรอื เน้อื หา
5) หลกั การจัดการเรียนการสอน
1) แนวคิดทางสงั คมเป้าหมายการศึกษา
มีแนวคิดที่ว่า บุคคล เป็นส่วนหนึ่งของสังคม และเป็น
เคร่ืองมือของสังคม ดังน้ันบุคคลจะต้องอุทิศตนเพื่อสังคมท่ี
ตนเองอาศัย นอกจากนั้นยังมีความเห็นว่าสิ่งท่ีสําคัญท่ีสุดที่
สังคมพึงกระทํา คือ การสะสม/อนุรักษ์มรดกของสังคมไว้ให้คน
รนุ่ ตอ่ ไป และชว่ ยสืบทอดวัฒนธรรมในสงั คมให้คงอยู่ตอ่ ไป
ดังนั้นเป้าหมายทางการศึกษาตามความเช่ือดังกล่าวตามทัศนะ
ของนักปรัชญากลุ่มนี้ จึงมีความเห็นว่า โรงเรียนจะต้องพัฒนา
คุณธรรม รักษาและถ่ายทอดซ่ึงคุณธรรมของสังคมในอดีตให้คง
อยตู่ ลอดไปยังบุคคลรุ่นต่อๆไป ซ่ึงส่ิงใดก็ตามที่สังคมยอมรับว่า
เป็นส่ิงที่เป็นความจริง หรือเป็นสิ่งที่ดีงามแล้ว โรงเรียนหรือ
สถานศึกษาจะต้องถ่ายทอดสง่ิ น้ันไปสอู่ นชุ นรนุ่ หลงั ต่อไป
2) ลักษณะผ้เู รียน
ในทัศนะของนักปรัชญาการศึกษากลุ่มน้ีมีความเช่ือมั่นว่า
ผู้เรียนเป็นบุคคลท่ีมีความรู้สึก นึกคิดที่จะเป็นส่ิงน้ันส่ิงนี้ได้
ดังน้ันถ้าหากผู้เรียนได้รับการอบรมส่ังสอนท่ีเหมาะสม ก็จะเป็น
ผทู้ ี่มีอดุ มการณ์ตามทตี่ อ้ งการได้
ดงั นัน้ หน้าท่ีของนกั เรยี นก็คือจะต้องเลียนแบบจากครูโดยครูเป็น
ตน้ แบบ และศึกษาเล่าเรียนในรายวิชาต่างๆตามที่ครูกําหนดหรือ
ครูเห็นว่าดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งรายวิชาท่ีเก่ียวกับมานุษยวิทยา
นอกจากนั้นนักปรัชญากลุ่มน้ียังมีความเช่ือว่าโดยธรรมชาติของ
ผเู้ รยี นทแ่ี ท้จรงิ แล้ว ผู้เรียนจะเป็นผู้ท่ีต้องทําดีที่สุด เพื่อจะทําให้
ตนเองเป็นคนที่ มคี วามสมบรู ณ์มากที่สดุ
3) ลกั ษณะครูผู้สอน
เป็นบคุ คลทม่ี คี วามสําคญั ท่ีสุดในกระบวนการ
ทางการศึกษา เพราะครูเป็นผู้ที่เป็นแบบอย่างหรือ
ต้นแบบของนักเรียน และเป็นสัญลักษณ์ที่นักเรียน
จะต้องทําตัวให้เป็นเช่นนั้น ดังน้ันครูจะต้องทําตัวให้ดี
ท่ีสุด และจะต้องพยายามฝึกนักเรียนให้เป็นคนที่มี
อุดมการณ์ตามท่ีต้องการ ครูเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้
ของผเู้ รียนและของสังคมนั้น
4) ลักษณะหลกั สูตรหรอื เนอื หา
นักปรัชญากลุ่มน้ีมีความเห็นว่า หลักสูตร
จะต้องเน้นการศึกษาวิชาประวัติศาสตร์ สิ่งดีงาม
ของชุมชนตนเอง และประวัติบุคคลสําคัญ โดยถือ
ว่าประวัติศาสตร์จะช่วยให้ผู้เรียนได้เข้าใจสังคม
และชีวิตภายในสังคม ส่วนการศึกษาเกี่ยวกับ
มานุษยวิทยาจะชว่ ยให้เขา้ ใจมนษุ ยไ์ ดด้ ีข้นึ
5) หลักการจดั การเรยี นการสอน
ส่วนใหญ่จะใช้วิธีการ
บรรยาย อภิปรายและทําตาม
ตวั อย่างท่มี ีอยู่ สอนเน้ือหาและ
วิธีการเดิมๆ ที่มีการสืบทอด
ตอ่ ๆกนั มาต้ังแต่อดตี
สถาบันศาสนา
กับแนวคิด จิ ต นิ ย ม
โลกและจกั รวาลในแนว
ความคดิ ของจิตนยิ ม
ศาสนาคริสต์
ศาสนาอสิ ลาม
ศาสนาพทุ ธ
โลกและจักรวาลในแนวความคิดของจติ นิยม คือ ทุกสรรพ
สงิ่ ในโลกหรอื ในจกั รวาลต้องมีผู้ที่สร้างข้ึน และการสร้างขึ้นแบบที่
มี ค ว าม เ ห ม า ะ ส ม ท่ี ล ง ตั ว แ ล ะ ส ม บู ร ณ์ แ บ บ นั้ น ต้ อง อา ศั ย ผู้ ท่ี มี
ความสามารถเป็นอย่างมาก ซึ่งเกินไปจากความสามารถของ
ธรรมชาติ จะต้องมีผู้ที่อยู่เหนือธรรมชาติเป็นผู้บันดาลให้เป็นไป
ซึ่งผู้ที่กําหนดและสร้างรูปแบบนี้คือ พระเจ้า การเคล่ือนไหวหรือ
การดาํ เนนิ ไปของโลกและจักรวาลจะอย่ภู ายใต้กําหนดของพระเจา้
ซึ่งในแต่ละศาสนาอาจจะมีคําส่ังสอนหรือช่ือเรียกพระเจ้าของตนเอง
แตกต่างกันไป เช่น ในศาสนาคริสต์และอิสลามจะเรียกผู้สร้างโลกว่า
พระเจ้า ในศาสนาพราหมณ์ถือว่าพระพรหมเป็นผู้สร้างโลก ส่วนลัทธิ
ความเชอื่ อื่นๆ ตามแนวความคิดแบบตะวนั ออกไม่ว่าจะเป็น เซ็น ขงจ้ือ
เต๋า ฯลฯ ต่างก็มีความคิดว่าความเป็นไปและเป็นอยู่ของโลกและ
จกั รวาลของเราจะต้องมีผู้ที่สร้างและกาํ หนดไว้
จึงสอดคลอ้ งกับความเปลยี่ นแปลงและความเป็นไปของโลกมนุษย์ไม่ว่า
จะเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เช่น พายุ แผ่นดินไหว ฟ้าผ่า นํ้าท่วม
หรือฝนแลง้ ล้วนแตเ่ ปน็ ความต้องการของพระเจ้าที่ตอ้ งการให้เกดิ ขึ้น
ศาสนาคริสต์ (ส่วนใหญ่จะเป็น
จิตนิยม) เช่ือว่าพระเจ้ามีอยู่จริงแน่นอน
ไม่มีเสื่อม ไม่มีดับ ไม่ข้ึนอยู่กับ เวลาและ
สถานที่
ศ า ส น า อิ ส ล า ม
(จิตนิยม+วัตถุนิยม) ให้
ความสําคัญระหว่างจิตที่
เป็นอสสาร และร่างกายท่ี
เปน็ สสารเทา่ กนั
ศาสนาพุทธ (ไม่เป็นจิตนิยม) พุทธ
ศาสนายอมรับว่า จิตน้ันมีอยู่ แต่มีอยู่อย่างไม่
เป็นตัวไม่เป็นตน เป็น “อนัตตา” (ความไม่มี
ตัวตนท่ีแท้จริง) ดังนั้นพุทธศาสนาจึงมิใช่ “จิต
นิยม” ในความหมายท่ีกล่าวมาทั้งหมด (อ้างอิง
จาก : ดร.ทวีวัฒน์ ปุณฑริกวิวัฒน์ อาจารย์ประจํา
ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ และ
มนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล)
การวพิ ากษ์
1. ปรัชญาการศกึ ษากับแนวคดิ จิตนิยม
2. สถาบันศาสนากบั
แนวคดิ จติ นยิ ม
1. ข้อดี วิธีการสอนส่วนใหญ่จะเน้น
ปรัชญา การบรรยายบอกเล่าการจดบันทึก ซ่ึงมีความ
การศึกษา สะดวกในการให้ ความรู้ด้านเนื้อหาท่ีเป็น
กับแนวคิด ทฤษฎี ฝึกทักษะด้านการจดบันทึก ฝึกเร่ือง
จิตนิยม การคดิ ไตรต่ รองและคดิ อยา่ งมีเหตผุ ล
1. เพราะเชื่อว่าความรู้เป็นสิ่งท่ีเป็นนามธรรม
ปรัชญา มิใช่รปู ธรรม จึงไม่อาจมองเห็นด้วยตา การ
การศึกษา ได้มาซ่ึงความรู้ต้องใช้ การคิดหรือการ
กบั แนวคิด ไตร่ตรองเท่าน้ัน และในบางครั้งส่ิงที่เห็น
จิตนยิ ม ด้วยสายตา มิใช่ส่งิ ท่ีเปน็ จรงิ เสมอไปอาจจะ
เปน็ เพียงภาพลวงตา
1. ข้อจ้ากัด ข้อสังเกตนักปรัชญา
ปรัชญา ตามแนวของจติ นยิ มมขี อ้ สังเกตดังนี้
การศกึ ษา
กับแนวคิด 1) นักปรัชญากลุ่มนี้แยกร่างกาย
จิตนยิ ม และจิตใจออกจากกัน ซ่ึงเป็นการผิดจาก
สภาพความเป็นจริงของสังคมซ่ึงไม่
สามารถแยกได้
1. 2) ไม่คํานึงถึงประสบการณ์เดิมของ
ปรัชญา ผู้เรียน ความแตกต่างของผู้เรียน และไม่
การศึกษา สนใจความต้องการของผู้เรียน แต่มักสอน
กบั แนวคิด ในสิ่งท่ีผู้สอนอยากสอน และมองข้ามว่า
จิตนยิ ม ผู้เรยี นทุกคนมคี วามรู้และประสบการณ์เดิม
ที่แตกต่างกัน ความต้องการของผู้เรียนแต่
ละคนก็แตกตา่ งกัน
1. 3) การตั้งจุดประสงค์และเป้าหมาย
ปรัชญา ของการศึกษาของนักปรชั ญากลุ่มนี้เป็นสิ่งที่
การศกึ ษา สูงเกินไป ซึ่งโดยธรรมชาติแล้วมนุษย์ไม่
กับแนวคิด สามารถจะกระทําอะไรที่สมบูรณ์แบบที่สุด
จิตนยิ ม ได้ทุกอยา่ ง