Application for
Education
แอปพลิเคชันเพือการศึกษา
ความหมาย
การใช้ประโยชน์เพือการศึกษา
ตัวอย่างแอปพลิเคชันเพือการศึกษา
ข้อดี/ข้อเสียของแอปพลิเคชันเพือการศึกษา
แอปพลิเคชันเพือการศึกษา
ในยุคสมัยทีอุปกรณ์การสือสาร เช่น สมาร์ทโฟน ไอแพด
หรือแท็บเล็ต และรวมถึงแอปพลิเคชันเข้าถึงเกือบทุกทีใน
ประเทศไม่ว่าจะฐานนะไหน ทําให้เกิดการเปลียนแปลงในด้าน
ต่าง ๆ และทังรับรู้ข่าวสารได้รวด เร็วกวาสือหลาย ๆ อย่าง
ทําให้ทุกวันนีผู้คนต่างหันมาใช้สมาร์ทโฟนทีมีแอปพลิเคชันใน
การสืบค้นหาข้อมูลในด้านต่าง ๆ
แอปพลิเคชันเพือการศึกษา
เช่น การความรู้, ชมวิดีโอออนไลน์หรือหาข่าวสาร รวมทังยังมี
ข้อมูลทีหลากหลาย ด้วยความทีเทคโนโลยีในสมัยนีก้าวหน้า
ไปมาก แอปพลิเคชันจึงกลายมาเปนเครืองมือทีมีบทบาทต่อ
วงการ และเริมขยายวงกว้างเข้าสู่วงการการศึกษามากกว่าแต่
ก่อน
ความหมาย
แอปพลิเคชัน (Application) คือ โปรแกรม หรือชุดสังที
ใช้ควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอร์เคลือนทีและอุปกรณ์
ต่อพ่วงต่างๆ เพือให้ทํางานตามคําสัง และตอบสนองความ
ต้องการของผู้ใช้ โดยแอพพลิเคชัน (Application) จะต้องมี
สิงทีเรียกว่าส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface หรือ UI)
เพือเปนตัวกลางการใช้งานต่างๆ
ความหมาย
แอปพลิเคชันเพือการศึกษา คือ การนําแอปพลิเคชัน
มาประยุกต์ใช้ในการการเรียนการสอน
การใชป้ ระโยชน์เพอื การศกึ ษา
ปจจุบนั แอปพลิเคชนั เพอื การศึกษา กําลังมีบทบาทและ
ความสาํ คัญในการเรยี นการสอนนักเรยี น อีกทังรัฐบาลไทย
มีนโยบายสง่ เสรมิ การใชส้ อื สมัยใหม(่ NewMedia) ในการ
พฒั นาการเรยี นรูข้ องนักเรยี นและนักศึกษา แอปพลิเคชนั
เพอื การศึกษาสามารถใชป้ ระโยชน์และสร้างคณุ ค่าทางการ
เรยี นรูไ้ ด้มาก
การใชป้ ระโยชน์เพอื การศกึ ษา
เนืองจากนักเรยี นสว่ นใหญส่ ามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลได้ง่ายผา่ นทาง
โทรศัพท์มือถือระบบปฏิบตั ิการสมารท์ โฟน หรือสอื อืนๆ ชว่ ย
สรา้ งบรรยากาศในห้องเรยี นให้นา่ สนใจ มีความสนุกสนาน
อํานวยความสะดวกให้แก่ผู้เรยี นและผู้สอน อีกทังยังง่ายต่อการ
ศึกษาหาความรูอ้ ีกด้วย
ตัวอยา่ งแอปพลิเคชนั เพอื การศกึ ษา
1. Plickers
เปนเครอื งมือทีไว้ใชส้ าํ หรบั เชค็ ชอื เชค็ คําตอบ ของ
นักเรยี น โดยใชเ้ พยี งแค่สมารท์ โฟนเพยี งเครอื งเดียว ด้วยการ
สแกน AR Code โดยนักเรยี นจะมีกระดาษของตนเองทีใชเ้ ก็บ
รหัส และคําตอบประเภทตัวเลือก เมือครูต้องการจะเชค็ ชอื
หรอื ตรวจคําตอบเพอื เก็บ แค่เพยี งให้นักเรยี นชูกระดาษขนึ
มา ครูก็แค่ใชแ้ อปพลิเคชนั ทีมีในสมารท์ โฟน สแกนกระดาษ
ของนักเรยี น ก็จะเห็นคําตอบแบบเรยี ลไทม์บนหน้าจอได้เลย
2. Kahoot!
เปนโปรแกรมทีใช้ตอบคําถาม คําตอบทางออนไลน์
พร้อมสรุปผลคะแนน คนทีได้คะแนนมากทีสุด เรียง
ลําดับ และรายบุคคล ด้วยการเล่นผ่านระบบออนไลน์ที
นักเรียนจะต้องเล่นผ่านคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน หรือ
แท็บแล็ต เชือมต่อเข้าสู่ระบบ เพือระบุชือคนเล่น เก็บ
คะแนนหรือแข่งขันกัน ซึงครูสามารถตังคําถามและเฉลย
คําตอบเพือให้นักเรียนเล่นเกมแข่งขันกันได้
3. ZipGrade
เปนเครืองมือทีใช้สาํ หรับตรวจคําตอบประเภทปรนัยที
สามารถแสดงผลได้ทันที โดยใช้ร่วมกับกระดาษทีทางแอพ
พลิเคชันนีได้ทําขึน สาํ หรับใช้ในการประเมินผลต่าง ๆ โดย
การใช้สมาร์ทโพนสแกนเพือตรวจคําตอบ สามารถรองรับ
คําตอบทีใช้ปากกาสีแดง สีนาเงินและดินสอสีดําได้ มีความ
รวดเร็วแม่นยาํ ในการประมวลผล ไม่เกิน 5 นาทีต่อ 1 แผ่น
สามารถบอกค่าเฉลีย ค่าสูงสุดตาสุดของคะแนนสอบ และ
ค่าสถิติของตัวข้อสอบได้
4. Seesaw
เปนแอพพลิเคชันทีช่วยในเรืองการจัดการ ครูสามารถ
จะสังการบ้านให้นักเรียน แอพพลิเคชันจะช่วยเตือนความ
จําว่า สังงานอะไรไปบ้าง ส่งเมือไหร่ และเรายังสามารถรู้ได้
ว่า นักเรียนคนใดส่งงานของเราแล้วบ้าง นักเรียนก็สามารถ
ทํางานผ่านแอพพลิเคชันนีได้เลย และยังสามารถเลือกใช้ได้
หลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะวาดรูป ถ่ายภาพ อัดเสียง หรือ
ถ่ายคลิป ซึงครูสามารถเข้ามาตรวจผลงานได้ทันที รวมถึง
แชร์ให้ผู้ปกครองรับรู้ได้ด้วย
5.Quiver
เปนแอพพลิเคชันสาํ หรับเด็ก ทีช่วยเสริมสร้าง
จินตนาการ แอพพลิเคชันตัวนีจะให้ภาพเคลือนไหวเปน
สามมิติ โดยการดาวน์โหลดรูปภาพจากแอพพลิเคชันและ
นํามาให้เด็ก ๆ ระบายสี เมือนํากล้องไปส่องทีรูปภาพที
ระบายสี ตัวการ์ตูนจะปรากฏเปนภาพสามมิติตามสีและ
ภาพทีเราระบายสีลงไป
6. Google Classroom
เปนเครืองมือทีช่วยอํานวยความสะดวกด้านการศึกษาถูก
อ อ ก ม า เ พื อ ใ ห้ ค รู มี เ ว ล า ติ ด ต่ อ สื อ ส า ร กั บ นั ก เ รี ย น ม า ก ขึ น ใ น
ขณะเดียวกันนักเรียนก็มีเวลาค้นหาข้อมูลเพือการเรียนรู้มาก
ขึนด้วยเช่นกัน การใช้งานของ Google Classroom ช่วยสร้าง
และเก็บข้อมูลการเรียนโดยใช้ Google Docs, Drive และ
Gmail โดยครูสามารถตรวจข้อมูลการเรียนได้ตลอดเวลา
พร้อมให้คําแนะนําแก่นักเรียนได้ตลอดเวลา
7. Trueplookpanya
เปนแอพพลิเคชันเพือการศึกษา คลังความรู้และคลัง
ข้อสอบออนไลน์ พร้อมเฉลย ระดับประถมศึกษา
มัธยมศึกษา และปฐมวัย ครบทัง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
และความรู้คู่คุณธรรม ให้ผู้สนใจสามารถเข้าถึงข้อมูล ภาพ
เสียง และวิดีโอ ได้ทุกที ทุกเวลา ผ่าน iPhone, iPad และ
iPod touch โดยเนือหาในแอพพลิเคชันประกอบด้วย 3
เมนูหลัก
ได้แก่ คลังความรู้ (รวบรวมความรู้วิชาการจากทุกกลุ่ม
สาระการเรียนรู้และกิจกรรมนอกห้องเรียน) คลังข้อสอบ
(รวมข้อสอบทุกระดับชันจากสถาบันการศึกษาและสถาบัน
กวดวิชาทีได้มาตรฐาน) และ ความรู้คู่คุณธรรม (สร้าง
จิตสาํ นึกด้านคุณธรรม จริยธรรม) นอกจากนี ยังมีเมนู
Search เพือง่ายต่อการค้นหาหัวข้อ และเมนู Favorite
เก็บเนือหาทีสนใจหรือใช้เปนประจํา
8. กศน. ออนไลน์
เนือหาสาระของแอปพลิเคชัน แบ่งออกเปน 3 องค์
ประกอบ ได้แก่
1. กศน.ออนไลน์ ซึงเปนการศึกษาเรียนรู้รายวิชา ตาม
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขันพืนฐาน
พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น – มัธยมศึกษา
ตอนปลาย ด้วยระบบออนไลน์ สามารถเรียนได้ทุกที ทุก
เวลา สาํ หรับนักศึกษาและประชาชนทีสนใจ
2. กศน.เพืออาชีพและคุณภาพชีวิตออนไลน์ โดยนําเสนอ
หลักสูตรเพือการเรียนการสอนต่อเนือง (หลักสูตรระยะสัน)
เพือส่งเสริมความรู้ในลักษณะต่างๆ ของสถาบันการศึกษาทาง
ไกล
3. กศน.ตลาดออนไลน์ โดยเปดพืนทีช่องทางการบริการ ซือ
ขาย แลกเปลียนสินค้าระหว่างชาว กศน. และประชาชนทัวไป
ในรูปแบบ e-Commerce ซึงถือว่าตอบโจทย์กับรูปแบบการ
เรียนรู้ของคนไทยในยุคดิจิทัลได้เปนอย่างดี
9. Drawspace
เปนเว็บไซต์สาํ หรับผู้ทีสนใจเรืองการวาดภาพ ซึงผู้เรียน
สามารถดาวน์โหลดไฟล์ หรือเปดอ่านออนไลน์ ( สําหรับบาง
บทเรียน ) มีสอนตังแต่พืนฐาน ให้ทําความรู้จักกับการวาด
ภาพ ซึงมีทังแบบฟรี และเสียค่าใช้จ่าย
ข้อดี/ข้อเสียของแอปพลิเคชัน
เพือการศึกษา
ข้อดี
1. ง่าย/สะดวกต่อการเรียนรู้
2. อํานวยความสะดวกต่อการเรียนการสอน
3. ช่วยประหยัดเวลาในการเรียนการสอนของทังผู้สอน
และผู้เรียน
ข้อดี
4. สร้างบรรยากาศในห้องเรียนให้น่าสนใจ สนุกสนาน
5. กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
6. เปนการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีกับวิชาต่าง ๆ ในบท
เรียน
ข้อเสีย
1. การใช้เทคโนโลยีมากเกินไปในห้องเรียนอาจทําให้ผู้
เรียนสนใจครูผู้สนน้อยลง มีสัมพันธภาพระหว่างกันน้อยลง
2. บางแอปพลิเคชันทีผู้เรียนต้องมีส่วนตัว หากไม่มีสมาร์ท
โฟนหรืออุปกรณ์ก็จะไม่สามารถใช้งานได้
3. แอปพลิเคชันบางตัวมีค่าใช้จ่าย
Thank you