The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-book กิจกรรมเพื่อบริหารสมองอย่างสร้างสรรค์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Llitaa 123, 2021-10-26 03:03:02

E-book กิจกรรมเพื่อบริหารสมองอย่างสร้างสรรค์

E-book กิจกรรมเพื่อบริหารสมองอย่างสร้างสรรค์

การบริหารสมอง
เพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อม
สำหรับผู้สูงอายุ

Brain activation
to prevent dementia
for the senior

ป ร ะ เ ด็ น

ภาวะสมองเสื่อม และอาการสำคัญ
สาเหตุของการเกิดภาวะสมองเสื่อม
การป้องกันภาวะสมองเสื่อม

การบริหารสมอง และท่าบริหารสมอง
ประโยชน์ของการบริหารสมอง

ภาวะสมองเสื่อม
Dementia syndrome

เป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากความผิด
ปกติในการทำงานของสมองด้านการคิด
และสติปัญญา หรือภาวะที่สมองเริ่มถด
ถอยการทำงานด้านใดด้านหนึ่งลงไป

อาการเด่นๆ คือ มีความผิดปกติ
ด้านความคิด การตัดสินใจ การเคลื่อน
ไหว ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
บุคลิกภาพ อารมณ์ และความสามารถใน
การคิดเชิงซ้อนลดลง

อย่างไรจึงจะเรียกว่า
สมองเสื่อม

สมองจะต้องสูญเสียหน้าที่อย่างน้อย 2 ประการดังนี้

1. ความสามารถในการจำ
2. ความสามารถในการคิด / การใช้เหตุผล
3. ความสามารถในการใช้ภาษา
4. ความสามารถในการใช้ภาษา


อาการภาวะสมองเสื่อม

1.สับสนเรื่องเวลาและสถานที่
2.บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง
3.พฤติกรรมและอารมณ์เปลี่ยนแปลง
4.ความสามารถในการตัดสินใจลดลง
5.ทำกิจกรรมร่วมกับสมาชิกครอบครัวไม่ได้
6.ยากลำบากในการสื่อสาร
7.ลืมสิ่งของ
8.ลืมกิจวัตรประจำวัน
9.ยุ่งยากในการวางแผนและจัดระบบงาน
10.ออกจากสังคมและไม่ไปทำงาน

สาเหตุของภาวะ
สมองเสื่อม

(1) ความผิดปกติ
ของเซลล์ประสาทในสมอง
(2) ความผิดปกติจาก
ส่วนอื่ นของร่างกายและ
ส่งผลให้สมองทําหน้าที่
ผิดปกติ

ภาวะสมองเสื่อมมี 3 ระดับ

ระยะที่ 1 ระดับเล็กน้อย เป็นอาการเริ่มต้น
ระยะที่ 2 ระดับปานกลาง อาการเสื่อมของสมอง
จะมากขึ้น
ระยะที่ 3 ระดับรุนแรง ผู้มีภาวะสมองเสื่อมจะจำ
สิ่งที่เพิ่งเกิดขึ้นไม่ได้เลย

วีธีป้องกันภาวะสมองเสื่อม

1.ฝึกกาย – ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
เช่น เดินเร็ว 30 นาที ช่วยให้เลือดสูบฉีดไปเลี้ยงสมอง
วิ่งเหยาะ ๆ ปั่ นจักรยาน รํามวยจีน และว่ายน้ำ

2.ฝึกใจ – หมั่นฝึกสมาธิรู้เท่าทันอารมณ์ตนเอง

3.ฝึกสมอง – เล่นเกมบริหารสมอง เช่น อักษรไขว้
เกมหมากรุก เป็นต้น
4.ฝึกเข้าสังคม – เอาใจเขามาใส่ใจเรา สร้างสังคมอุดมความสุข
เรียนรู้ที่จะเผชิญสิ่งใหญ่

การบริหารสมอง
และท่าบริหารสมอง

1. การบริหารปุ่มขมับและปุ่มใบหู

2. การเคล
ื่อนไหวสลับข้าง (Cross crawl)



3. การผ่อนคลาย

การบริหารปุ่มขมับ ปุ่มใบหู

ปุ่มขมับ

1. ใช้นิ้วทั้ง 2 ข้างนวดขมับเบา ๆ วนเป็นวงกลม
ประมาณ 30 วินาที ถึง 1 นาที
2. กวาดตามองจากซ้ายไปขวา และจากพื้นมอง
ขึ้นไปที่เพดาน

♦ประโยชน์ของการนวดปุ่มขมับ
เพื่อกระตุ้นระบบประสาท และหลอดเลือดที่ไป

♦เลี้ยงสมองส่วนการมองเห็นให้ทำงานดีขึ้น
ทำให้การทำงานของสมองทั้ง 2 ซีกสมดุลกัน

การบริหารปุ่มขมับ ปุ่มใบหู

ปุ่มใบหู

1. ให้ใช้นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้จับที่ส่วนบนสุดด้าน
นอกของใบหูทั้ง 2 ข้าง
2. นวดตามริมขอบนอกของใบหูทั้ง 2 ข้างพร้อม
กัน ให้นวดไล่ลงมาจนถึงติ่งหูเบา ๆ และทำซ้ำ

♦ประโยชน์ของการกระตุ้นปุ่มใบหู
เพื่อกระตุ้นหลอดเลือดฝอยที่ไปเลี้ยงสมอง

♦ส่วนการได้ยินและความจำระยะสั้นให้ดีขึ้น
สามารถเพิ่มการรับฟังที่เป็นจังหวะได้ดีขึ้น

การเคลื่อนไหวสลับข้าง (Cross crawl)

ท่าโป้ง-ก้อย

1. ยกมือทั้ง 2 ข้างขึ้นมาให้มือขวาทำท่าโป้ง โดยกำมือ
และยกหัวแม่มือขึ้นมา ส่วนมือซ้ายให้ทำท่าก้อย โดย
กำมือ และเหยียดนิ้วก้อยชี้ออกมา
2. เปลี่ยนมาเป็นโป้งด้วยมือซ้าย และก้อยด้วยมือขวา
3. ให้ทำสลับกันไปมา 10 ครั้ง

กกาารรเเคคลลืื่่ออนนไไหหววสสลลัับบขข้้าางง(C(Crroossssccrraawwll))

ท่าแตะจมูก-แตะหู

1. มือขวาไปแตะที่หูซ้าย ส่วนมือซ้ายให้ไปแตะที่จมูก
(ลักษณะมือไขว้กัน)
2. เปลี่ยนมาเป็นมือซ้ายแตะที่หูขวา ส่วนมือขวาไป
แตะที่จมูก (ลักษณะมือไขว้กัน)

♦ประโยชน์ของการบริหารท่าแตะจมูก-แตะหู
ช่วยให้มองเห็นภาพทางด้านซ้ายและขวาดีขึ้น

การผ่อนคลาย

การผ่อนคลาย

ใช้มือทั้ง 2 ข้างประกบกันในลักษณะพนมมือเป็น

รูปดอกบัวตูม โดยให้นิ้วทุกนิ้วสัมผัสกันเบา ๆ
พร้อมกับหายใจเข้า-ออก

♦ประโยชน์ของการบริหารท่าผ่อนคลาย
ทำให้เกิดสมาธิ เป็นการเจริญสติ

ประโยชน์การบริหารสมอง

หลังจากบริหารสมองอย่างต่อเนื่องจะ
พบว่าร่างกายสดชื่นขึ้น ทำให้สมองส่วน
Corpus Callosum มีความแข็งแรง และ
เชื่อมสมองทั้งสองซีกให้ทำงานประสานกัน
อย่างคล่องแคล่วขึ้น เมื่อสมองเกิดการตื่น
ตัวจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ การ
มองเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว ช่วย
ผ่อนคลายความตึงเครียด ลดความตื่นเต้น
และทำให้จิตใจสงบ เกิดความพร้อมที่จะ
เรียนรู้ เกิดแรงจูงใจ ทั้งยังช่วยเพิ่มความ
จำระยะสั้นและระยะยาว

การบริหารสมอง
เพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อม

สำหรับผู้สูงอายุ
Brain ac
tivation
to prevent dementia

for the senior

จัดทำโดย
นางสาวลลิตา หว่านพืช 620610368
นางสาวหฤชนันทร์ อุมาจิ 620610598


Click to View FlipBook Version