The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วย 2.1 การสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nattagit Outmano, 2022-01-04 02:14:28

หน่วย 2.1 การสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย

หน่วย 2.1 การสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย

2หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2.1 การสร้างสรรค์วัฒนธรรม

และภมู ปิ ญั ญาไทย

โดย : ครณู ฐั กฤต อุตมะโน

การสร้างสรรคว์ ฒั นธรรมไทย

ความหมายของคาว่า “วัฒนธรรมไทย”

• “วัฒนธรรมไทย” หมายถึง ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งท่ีคนไทยคิดและสร้างสรรค์ขน้ึ มา เพ่ือการ
ดารงชวี ิตอยรู่ ว่ มกัน มีระเบยี บแบบแผนและมรี ูปแบบเป็นท่ยี อมรบั กนั ภายใน
สังคมไทย นอกจากนี้วัฒนธรรมไทยยงั มีความสัมพนั ธ์กบั เรอ่ื งของเวลาและสถานท่ดี ้วย
วฒั นธรรมไทย จึงไม่เคยหยดุ นง่ิ หรอื ตายตวั มีการเคลอื่ นไหวและเปลี่ยนแปลงอยู่

ตลอดเวลา และมวี ิวัฒนาการเปน็ ลาดบั อันเปน็ ผลมาจากการเปล่ยี นแปลงทางสงั คม
เศรษฐกิจ ตลอดจนการเมอื งการปกครองของไทย

การสรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรมไทย
ปจั จัยสาคัญทีก่ อ่ ใหเ้ กดิ วฒั นธรรมไทย

การรับความเจรญิ จากวัฒนธรรมอื่น สงั คมและสภาพแวดล้อม ความเปน็ มาทางประวตั ศิ าสตร์

• สังคมไทยระยะแรกรบั • เปน็ สังคมเกษตรกรรม ชาวนา • เชน่ สมยั สโุ ขทยั เมอื งสุโขทัยมี
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูจาก เลี้ยงชีพดว้ ยการทานา จึงมวี ถิ ี สภาพดนิ สว่ นใหญ่เปน็ ดินทราย
อนิ เดยี ผา่ นเขมร และรบั ชีวติ ผกู พันกบั ขา้ ว มีความเชื่อ ไมอ่ ้มุ น้า จงึ ขาดแคลนน้าในฤดู
พระพทุ ธศาสนาจากอนิ เดยี หรอื พธิ กี รรมทเี่ กย่ี วขอ้ งกับข้าว แล้ง ชาวสุโขทัยจึงแกป้ ญั หา
ผ่านลงั กา หรอื อกั ษรไทย ด้วยการชกั นา้ กักนา้ และ
สมัยสโุ ขทัยรับอทิ ธิพลจาก ระบายนา้
ภาษามอญและเขมร

การสรา้ งสรรคว์ ัฒนธรรมไทย

การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วฒั นธรรมไทย
• การไปท่องเทีย่ วเชงิ วัฒนธรรมในภมู ภิ าคต่างๆ ของไทย
• การเข้าไปมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมต่างๆ ทเ่ี กย่ี วข้องกับการสง่ เสริมทางดา้ นวฒั นธรรม

• การเข้าไปมสี ว่ นช่วยส่งเสริมสนับสนนุ วัฒนธรรมไทยท้งั ทางตรงและทางอ้อม
• หาโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมของชมรมต่างๆ ท่มี ีการจดั ตงั้ ข้นึ มาเพ่ือการอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมไทย

การสร้างสรรคภ์ มู ปิ ัญญาไทย

ความหมายของคาวา่ “ภูมปิ ญั ญาไทย”

• “ภมู ปิ ญั ญาไทย” หมายถงึ ความรู้ ทกั ษะ ความเชอื่ และพฤติกรรมของคนไทย โดยแสดงออกถงึ
ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งคนกับคน คนกบั ธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม และคนกบั สิ่งทเ่ี หนือธรรมชาติ
เปน็ กจิ กรรมทุกอยา่ งในวิถีชวี ติ ทัง้ การแก้ปญั หา การจดั การ การปรับตวั และการเรยี นรู้เพ่ือ
ความอยู่รอดของบคุ คล ชมุ ชน และสงั คม นอกจากน้ี ยังเปน็ พื้นฐานสาคญั ในการดารงชวี ติ
รวมทั้งเปน็ พ้นื ฐานความร้ใู นเรื่องตา่ งๆ ที่มลี กั ษณะเฉพาะหรอื มีเอกลกั ษณ์ ในตัวเอง

• ภมู ิปัญญาไทยเปน็ ผลงานของคนไทยท่ีได้ทาการศึกษา คน้ คว้า รวบรวมและจดั เป็นองค์ความรู้ มี
การถา่ ยทอดและปรบั ปรุงจากคนรนุ่ หนึ่งมาส่คู นอกี รนุ่ หนงึ่ จนเกดิ เปน็ ผลผลติ ทดี่ งี ดงาม มคี ณุ คา่
และมปี ระโยชน์ รวมทัง้ สามารถนามาแก้ไขปัญหาและพฒั นาชีวติ ได้

การสร้างสรรคภ์ มู ิปัญญาไทย

ผลงานที่เป็นภมู ปิ ญั ญาไทย

• ชาวนารจู้ กั การขดุ บอ่ น้าหรือการทาเหมือง ฝาย สาหรับไวใ้ ชใ้ น
การกักเก็บนา้ และแจกจา่ ยไปส่เู รอื กสวนไร่นา

• ชาวบ้านมีความรเู้ กี่ยวกบั พชื พนั ธ์ุธัญญาหาร ผักพนื้ บ้าน เครื่องเทศ และ
สมุนไพร สามารถแยกแยะสรรพคุณในการรกั ษาโรคหรือรู้จักนามาประกอบ
อาหาร

• การรจู้ ักประดษิ ฐเ์ ครอ่ื งมือทามาหากนิ เช่น เคร่ืองมอื จบั สตั ว์
เครื่องมือทาไร่ทานา เครื่องใชใ้ นครัวเรือน หรอื การสร้างทอ่ี ยู่อาศยั

การสรา้ งสรรค์วฒั นธรรมไทย

ปจั จยั สาคญั ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ภูมปิ ัญญาไทย

การไดร้ ับอิทธพิ ลจาก • ในสมยั สโุ ขทยั พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลไิ ทย) ทรงพระราช
วฒั นธรรมอน่ื นิพนธไ์ ตรภมู ิพระร่วง ซึ่งได้รบั อทิ ธพิ ลพระพุทธศาสนาซึ่งมี
บ่อเกดิ มาจากอนิ เดยี

สงั คมและสภาพแวดล้อม • เชน่ ชาวสโุ ขทัยคดิ สรา้ งระบบชลประทานเพ่อื กกั เกบ็ นา้ ไว้ใช้
เพือ่ แก้ไขปญั หาการขาดแคลนน้าในฤดูแลง้

ความเปน็ มาทางดา้ น • เช่น การสรา้ งสถาบนั พระมหากษตั รยิ ใ์ ห้เปน็ ศูนยร์ วมของคน
ประวตั ิศาสตร์ ไทย ซง่ึ เรมิ่ มาตัง้ แตส่ มยั สโุ ขทยั

การสรา้ งสรรคภ์ มู ปิ ญั ญาไทย

การมสี ว่ นร่วมในการอนุรักษภ์ ูมปิ ัญญาไทย
• การใชส้ ินคา้ ทเ่ี ป็นผลผลิตทีเ่ กิดจากภูมิปญั ญาไทย

• การศึกษาความรเู้ ก่ยี วกบั ภูมปิ ัญญาไทย
• การเผยแพร่ความรเู้ รื่องภมู ปิ ญั ญาไทยให้กับคนรอบข้างและอนชุ นรุ่นหลงั

• การเป็นสมาชกิ ชมรมท่อี นุรักษ์ภูมิปัญญาไทย

การสืบทอดและเปลยี่ นแปลงของวัฒนธรรมและภมู ิปัญญาไทย

• วัฒนธรรม หมายถึง ระบบระเบียบแบบแผนสาหรบั การดารงชวี ติ และการอยรู่ ว่ มกันของมนุษย์
ประกอบไปด้วยระบบความเชอื่ ระบบคุณค่า และวถิ ีชีวิตทง้ั หมด และเมือ่ มนุษยเ์ ป็นสว่ นหนง่ึ
ของธรรมชาติ คนไทยในอดตี จงึ ปรับตัวให้สมดลุ กับธรรมชาติ มกี ารสบื ทอดวัฒนธรรม
ต่อเนอื่ งกันมานบั ต้งั แต่สมัยสโุ ขทัยจนถึงสมยั รตั นโกสินทร์ จนกลายเปน็ รากฐานทาง
วัฒนธรรมและเป็นส่งิ ยึดเหนย่ี วสังคมไทยใหส้ ามารถดารงอยู่ไดม้ าจนถงึ ปจั จบุ ัน

• การสบื ทอดวัฒนธรรมและภูมิปญั ญาจงึ มคี วามสาคญั เพราะเป็นรากฐานของสงั คมไทย
ขณะเดียวกันกต็ ้องยอมรับถึงการเปล่ียนแปลงของวฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทยเพ่อื ให้สามารถ
สร้างความสมดลุ ระหวา่ งวัฒนธรรมและ ภมู ิปัญญาไทยกบั วัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญา
สมัยใหม่ เพื่อสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในการดาเนินชวี ิตได้ในทุกสถานการณ์

ตวั อยา่ งของการสรา้ งสรรค์ภูมปิ ญั ญาไทยในประวตั ิศาสตร์

การสร้างสรรค์ภูมปิ ญั ญาไทยในประวตั ศิ าสตร์สมยั สุโขทัย

• มีการสร้างระบบการชกั น้า อ่างเกบ็ น้า และระบายนา้ เรียกวา่ สรีดภงส์ หรือทานบพระรว่ ง
• มกี ารประดิษฐเ์ ครือ่ งปนั้ ดินเผา เรยี กวา่ สังคโลก
• เกิดการประดษิ ฐ์ตวั อกั ษรไทย หรือลายสอื ไทย
• เกดิ วรรณกรรมเกีย่ วกบั พระพุทธศาสนา ช่อื ว่า ไตรภมู ิพระร่วง

ตวั อยา่ งของการสรา้ งสรรคภ์ มู ิปญั ญาไทยในประวตั ิศาสตร์

การสรา้ งสรรค์ภูมปิ ญั ญาไทยในประวตั ศิ าสตร์สมัยอยุธยา

• การสรา้ งสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ใหเ้ ป็นศูนย์รวมจติ ใจของคนไทย
• การควบคมุ กาลงั คนในระบบไพร่
• เกดิ วรรณกรรมช่อื ว่า จนิ ดามณี ตาราเรยี นเล่มแรกของไทยทมี่ คี ุณคา่ ด้านภาษาและการเมอื ง

วรรณกรรมเรอ่ื ง พระมาลัยคาหลวง ทส่ี อนใหร้ ู้จกั บาปบุญคณุ โทษ
• ศลิ ปกรรมสาขาต่างๆ เช่น เรอื นเครอื่ งสับ หรอื เรือนไทย จิตรกรรมฝาผนงั งานปูนปน้ั

ตวั อย่างของการสรา้ งสรรคภ์ มู ิปัญญาไทยในประวัตศิ าสตร์

การสร้างสรรคภ์ มู ิปญั ญาไทยในประวตั ิศาสตร์สมยั ธนบุรี

• เกิดจิตรกรรมทส่ี ะท้อนใหเ้ หน็ ถึงภมู ปิ ัญญาไทยที่สาคญั คือ สมุดภาพไตรภูมิ
• มีวรรณกรรมที่สาคญั คอื โคลงยอพระเกียรตพิ ระเจา้ กรุงธนบรุ ี ทส่ี ะทอ้ นให้เห็นถงึ ภมู ปิ ญั ญา

ในเรือ่ งภาษา และแฝงความร้ทู างด้านประวตั ิศาสตรไ์ ว้ด้วย

ตวั อย่างของการสรา้ งสรรค์ภูมิปัญญาไทยในประวตั ิศาสตร์

การสรา้ งสรรค์ภมู ปิ ัญญาไทยในประวัตศิ าสตรส์ มยั รัตนโกสินทร์

• การสร้างและสถาปนากรุงรตั นโกสนิ ทร์เปน็ ราชธานีแห่งใหม่ของไทย
• การใช้วรรณกรรมเพอื่ ปลุกใจเรือ่ งการศึกสงคราม ท่ีสาคญั คอื สามกก๊ ราชาธริ าช
• การเก็บภาษีปากเรือ หรอื เรียกว่า จังกอบ
• มกี ารแพทยแ์ ผนไทย เช่น การรวบรวมตาราการนวดและบริหารร่างกาย
• มีรถสามลอ้ เคร่ือง หรือ รถต๊กุ ตุ๊ก และรถอีแต๋น

ปจั จยั ที่สง่ เสรมิ การสรา้ งสรรค์วัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทยทมี่ ผี ลตอ่ สังคมไทยปัจจุบนั

• การไดร้ ับการส่งเสริมจากสถาบันที่สาคัญของชาติ ได้แก่ สถาบันศาสนา โดยเฉพาะ
พระพทุ ธศาสนา และสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ การให้มีการฟ้นื ฟูและสง่ เสรมิ ภูมปิ ัญญาทางดา้ น
ศลิ ปวัฒนธรรมจากวัดและราชสานัก ส่งเสริมให้คนในสังคมมคี ณุ ธรรมและมจี ติ สานกึ ในการฟ้นื ฟู
ทานุบารุงพระพุทธศาสนา เชน่ การบรู ณะโบสถ์วิหาร พระพุทธรปู เปน็ ตน้ การจัดต้งั โครงการ
ศิลปาชพี ในสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ จนกระทงั่ เกิดเปน็ “มลู นธิ ศิ ลิ ปาชพี ”

• การหนั มาสนใจเร่ือง “ไทยศกึ ษา” ในสงั คมไทย มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ และจุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย เลง็ เห็นความสาคัญของการศกึ ษาเรือ่ ง “ไทย” จนเกิดมสี ถาบันไทยคดศี ึกษา
สถาบนั ไทยศึกษา ขึ้นในมหาวทิ ยาลัยทง้ั สอง กระตุ้นก่อให้เกิดการจัดการศกึ ษาเรื่องไทยคดศี กึ ษา
ขึ้นในสถาบนั การศึกษาอืน่ ๆ ตามมา จากการใหค้ วามสนใจเรอ่ื ง “ไทยศึกษา” จงึ ทาใหม้ ี
การศกึ ษาค้นคว้าเร่ืองประวตั ิศาสตร์ไทย ศลิ ปวัฒนธรรมไทย การเมืองไทย และสงั คมไทย รวมถงึ
ภมู ปิ ญั ญาไทยที่สังคมไทยในอดีตใชเ้ ป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหาการดาเนนิ ชวี ิตของผคู้ น

• การส่งเสรมิ การใชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การสง่ เสรมิ ใหร้ าษฎรหันมาดาเนินชีวติ
โดยยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงตามแนวพระราชดาริในพระบาทสมเดจ็ พระ
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทาใหม้ ีการสง่ เสริมให้มีการสบื คน้ ภมู ิปญั ญาไทยท่มี ีมาแต่อดีต
และนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดารงชวี ติ แบบเศรษฐกจิ พอเพียง อาทิ การนาสมนุ ไพรไทยมาทา
ใหเ้ กดิ มลู ค่าเพ่มิ หรือการเลอื กใช้วัสดทุ ่มี อี ยูใ่ นทอ้ งถนิ่ มาทาให้เกิดมลู คา่ เพิ่ม เชน่ การทายา
สระผมจากว่านหางจระเข้

• การส่งเสริมการท่องเท่ียวเชงิ อนุรักษ์วฒั นธรรมและภูมิปญั ญาไทย การส่งเสริมการท่องเที่ยว
ในเชิงอนรุ ักษ์วฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย ทาใหแ้ หล่งทอ่ งเท่ียวต่างๆ ไดม้ ีการฟน้ื ฟู
ศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่นและของชาติ มีการฟ้ืนฟภู ูมิปัญญาไทยโดยผลิตสนิ คา้ อันเกิดจากภมู ิ
ปญั ญาในท้องถน่ิ เพ่อื สนองตอบความตอ้ งการของนักทอ่ งเท่ียว เช่น การจดั ตลาดน้าท่อี าเภอ
ดาเนนิ สะดวก จังหวัดราชบรุ ี หรือตลาดนา้ อัมพวา จงั หวดั สมุทรสงครามการ

ปจั จยั ทสี่ ง่ เสรมิ การสรา้ งสรรค์วฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทยทม่ี ผี ลตอ่ สงั คมไทยปัจจุบนั

• การจดั กิจกรรมเผยแพร่วัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย การเปดิ โอกาสให้แต่ละทอ้ งถ่นิ จดั
กิจกรรมต่างๆ ท่ีเก่ยี วกบั วัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย รวมถงึ การสง่ เสรมิ ให้คนในท้องถิ่นนา
ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ ของตนมาเผยแพรแ่ กส่ าธารณชน เชน่ การผลติ สนิ ค้าจากภูมปิ ญั ญาไทยผ่าน
โครงการผลติ สินคา้ OTOP ของรฐั บาล สาหรับการเผยแพรว่ ฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทยใน
ตา่ งประเทศ มีกระทรวงวัฒนธรรมและการท่องเทยี่ วแห่งประเทศไทย (ททท.) เช่น ประเพณีลอย
กระทง ประเพณแี หเ่ ทยี นพรรษา ประเพณสี งกรานต์ ฯลฯ มีการแสดงสนิ คา้ การจดั นิทรรศการ
ในต่างประเทศ เช่น การจดั นทิ รรศการผา้ ไหมไทย การจดั เทศกาลอาหารไทยในทวปี ยโุ รป

บคุ คลท่มี บี ทบาทในการส่งเสริมการสร้างสรรคว์ ฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย
พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช

• ทรงพระราชนิพนธ์เร่ือง พระมหาชนก เพอ่ื ใหเ้ ปน็ เครอ่ื งเตอื นใจคนไทยให้มีความเพยี ร

• ทรงพระราชนิพนธ์เพลงประจามหาวทิ ยาลัยให้กับมหาวิทยาลยั ต่างๆ เพ่ือให้นสิ ติ นกั ศกึ ษา
มีความรกั ความผกู พนั ในสถาบันการศกึ ษาของตน

• ทรงสง่ เสรมิ และสรา้ งกาลงั ใจให้แกเ่ กษตรกรด้วยการฟ้นื ฟู พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนงั คลั -
แรกนาขวัญ

• ทรงมอบแนวทางการชว่ ยเหลือการดาเนนิ ชีวิตและแกไ้ ขปญั หาใหก้ บั ราษฎร ทง้ั โครงการบาบดั
นาเสยี โครงการแกม้ ลงิ ท่ีแกป้ ญั หานาท่วม

• ทรงแนะนาวธิ ดี าเนินการใหช้ ุมชนมคี วามเขม้ แขง็ ด้วยการส่งเสรมิ ให้มีโครงการอนั เนอ่ื งมาจาก
พระราชดาริ สนบั สนุนให้ชาวบ้านนาไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาในชมุ ชน

• ทรงส่งเสริมให้รักภาษาไทยและประวตั ศิ าสตรไ์ ทยเพราะเปน็ หลกั ฐานทางด้านประวตั ศิ าสตร์ที่
สาคญั ของประเทศและเปน็ วัฒนธรรมของชาติทส่ี ืบทอดต่อกนั มาถงึ ปัจจุบนั

สมเด็จพระนางเจ้าสริ ิกติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ

• ทรงสง่ เสริมใหช้ าวบ้านมีรายไดเ้ สรมิ โดยจัดใหม้ กี ารฝึกงานศิลปาชพี ทป่ี ระดิษฐข์ ึ้นจากวสั ดุ
ท่ีมอี ยู่ในท้องถ่นิ ของตน เปน็ การฟ้ืนฟแู ละรักษาประดษิ ฐกรรมของชาวบ้านให้มีผ้สู บื สาน
ตอ่ ไป เชน่ การทอไหมพน้ื เมือง อาทิ ผา้ ไหมมัดหมี่ การประดษิ ฐ์เครื่องจกั สานทาจากเถาไม้
เล้ือยของท้องถิ่นภาคใต้ เรียกว่า ยา่ นลเิ ภา และการทาเครื่องเงินเคร่อื งทองของช่างฝมี ือทาง
ภาคเหนือ

• ทรงใหท้ ุนการศกึ ษาแกเ่ ยาวชนทคี่ รอบครัวมฐี านะยากจน

• ทรงส่งเสริมให้บิดามารดาของเยาวชนทยี่ ากไรไ้ ดร้ บั การอบรม ฝกึ ฝนเพ่ือประกอบอาชีพเป็น
การช่วยเหลอื ตนเองและครอบครวั ให้ดารงชีวติ ไดใ้ นสงั คม

• ทรงโปรดเกลา้ ฯ ให้หน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้องสง่ เสริมความรกั ชาติ การอนรุ กั ษส์ ิ่งแวดลอ้ มใหแ้ ก่
เยาวชน

• ทรงเป็นแบบอยา่ งของการใช้ฉลองพระองคท์ ีต่ ดั เยบ็ จากผ้าไหมพื้นเมือง ซ่งึ เปน็ ผลผลติ จาก
โครงการศิลปาชีพ ทาใหผ้ า้ ไทยได้รบั ความนยิ มทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ

สมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี

• ทรงส่งเสรมิ การศึกษาและการปฏิบัติธรรมทางพระพุทธศาสนา อนั เป็นพ้นื ฐานสาคัญของ
สงั คมและวัฒนธรรมไทย

• ทรงอาราธนาสมเดจ็ พระญาณสังวรฯ วัดบวรนเิ วศวิหาร ในการปรบั ปรงุ และเรยี บเรยี ง
หนังสือ มลิ นิ ทปัญหา

• ทรงจดั บรรยายธรรมทางสถานีวิทยุ อ.ส.พระราชวังดสุ ติ และการอาราธนาพระสงฆ์
ผูท้ รงคุณวุฒมิ าบรรยายธรรมแก่ขา้ ราชการในสานกั พระราชวงั

• ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหจ้ ดั พิมพธ์ รรมปาฐกเป็นเล่มขึ้นสาหรบั พระราชทานแจกในวนั
ขน้ึ ปีใหม่ เพื่อเป็นประโยชน์สาหรบั การศกึ ษาและการปฏบิ ัติของพทุ ธศาสนิกชนท่ัวไป

สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี

• ทรงรอบรูใ้ นภาษาไทยและภาษาท่ีเก่ยี วขอ้ งทงั้ ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และเป็นแบบอยา่ ง
ในการอนรุ ักษ์ภาษาไทย

• ทรงพระราชนพิ นธห์ นงั สอื ประเภทต่างๆ มากกวา่ ๑๐๐ เลม่ ท้ังสารคดี ท่องเทีย่ ว วิชาการ
และประวตั ศิ าสตร์ หนังสอื สาหรบั เยาวชนท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั พระบรมวงศานุวงศ์ไทย
พระราชนพิ นธ์แปล และหนงั สอื ทัว่ ๆ ไป เปน็ ตน้

• ทรงเชย่ี วชาญในการบรรเลงและเปน็ แบบอย่างในการอนุรักษด์ นตรไี ทย

• ทรงมีความเลอื่ มใสในพระพทุ ธศาสนา ทรงรเิ รมิ่ ใหม้ กี ารฟื้นฟปู ระเพณีวันวสิ าขบชู าที่มีการจุด
โคมประทีป และสง่ บัตรอวยพรที่มีข้อธรรมะใหแ้ กก่ นั และกัน

• ทรงไดร้ ับการถวายพระสมญานามว่าทรงเปน็ “เอกอัครราชูปถมั ภก มรดกวัฒนธรรมไทย”
เม่อื พ.ศ. ๒๕๓๑ และ “วิศิษฏศิลปิน” เม่อื พ.ศ. ๒๕๔๐

สมเดจ็ พระเจา้ พี่นางเธอ เจ้าฟา้ กลั ยาณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร์

• ทรงมพี ระปรีชาสามารถด้านพระนิพนธ์ ประกอบด้วย พระนิพนธ์เกีย่ วกับพระราชวงศ์ ๑๒
เร่อื ง เช่น แมเ่ ลา่ ให้ฟงั พระราชธิดาในรชั กาลที่ ๕ สมเด็จเจ้าฟา้ มหิดลฯ และงานศลิ ปะ
และจฬุ าลงกรณราชสนั ตตวิ งศ์ พระนามพระราชโอรส พระราชธิดา และพระราชนัดดา
และยงั ทรงพระนิพนธห์ นงั สือประเภทอื่นๆ เชน่ พระนพิ นธ์สารคดเี ชงิ ท่องเที่ยวพระนิพนธ์
แปล และพระนิพนธบ์ ทความทางวิชาการ

• ทรงมีความสนพระทัยในเรอื่ งของประวัตศิ าสตรแ์ ละโบราณคดี และเปน็ แบบอย่างทด่ี งี าม
ในการอนุรักษโ์ บราณคดี

• ทรงสง่ เสริมงานแสดงดา้ นศลิ ปวัฒนธรรมต่างๆ ทรงพระราชทานชอ่ื โรงละครโจหลยุ สว์ า่
“นาฏยศาลา หนุ่ ละครเลก็ ” และได้ทรงเป็นองค์อปุ ถมั ภม์ ลู นิธิ “นาฏยศาลา หนุ่ ละคร
เลก็ ” อันประกอบด้วย โรงละคร และนักแสดงทส่ี ืบทอดปณิธานการแสดงหนุ่ ละครเล็ก

จารกึ ลานทอง พบท่วี ัดสอ่ งคบ อาเภอเมอื ง จงั หวัดชยั นาท จารึกดว้ ยอักษรขอม - อกั ษรไทยสมยั อยุธยา พ.ศ. ๑๙๕๑

คาถามขอ้ คดิ สะกดิ ใจ แนวข้อสอบ O-Net

1. ขอ้ ใดคอื ภมู ิปัญญาไทย
1. ผลงานของไทยทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การดาเนนิ ชีวิต
2. เอกลกั ษณเ์ ฉพาะและพน้ื ฐานการใชช้ วี ติ ของคนไทย
3. เอกลกั ษณ์ทถี่ ่ายทอดจากคนรนุ่ หนง่ึ สคู่ นอีกร่นุ หน่ึง
4. วธิ ีการและผลงานของคนไทยท่เี ปน็ ประโยชน์ตอ่ การดารงชีวิต

2. วัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทยเกิดขึน้ เพราะมจี ดุ ประสงคห์ ลายประการ ยกเว้นดา้ นใด
1. ทาให้สงั คมสงบสขุ
2. ทาให้ผคู้ นมีความสุข
3. ทาให้การประกอบอาชพี คล่องตวั
4. ทาให้ความสัมพันธ์กับตา่ งประเทศดขี ้ึน

เฉลย คาถามข้อคดิ สะกดิ ใจ แนวขอ้ สอบ O-Net

1.ขอ้ ใดคอื ภูมปิ ัญญาไทย
1. ผลงานของไทยที่เกี่ยวข้องกบั การดาเนนิ ชวี ิต
2. เอกลักษณ์เฉพาะและพื้นฐานการใช้ชวี ิตของคนไทย
3. เอกลกั ษณ์ที่ถา่ ยทอดจากคนรุน่ หน่ึงสูค่ นอีกรุ่นหนงึ่
4. วธิ ีการและผลงานของคนไทยทเี่ ปน็ ประโยชน์ต่อการดารงชวี ิต

2. วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยเกดิ ขึ้นเพราะมจี ดุ ประสงค์หลายประการ ยกเว้น ดา้ นใด
1. ทาใหส้ งั คมสงบสขุ
2. ทาให้ผ้คู นมีความสุข
3. ทาใหก้ ารประกอบอาชีพคลอ่ งตัว
4. ทาให้ความสัมพนั ธก์ ับต่างประเทศดีขน้ึ

1. 4. วิธีการและผลงานของคนไทยทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อการดารงชวี ติ
2. 4. ทาให้ความสมั พนั ธ1์กับ1ตา่ งประเทศดขี ึน้

คาถามขอ้ คิด สะกิดใจ แนวขอ้ สอบ O-Net

3. ในอดีตของไทยท่ีมกี ารปลกู ฝงั ความเชือ่ ด้านจติ วญิ ญาณ ท้งั นี้เพอื่ จดุ ประสงค์ใด
1. การดารงชวี ติ
2. การประกอบอาชพี
3. การจดั ระเบียบสงั คม
4. การแสดงออกทางศิลปะ

4. หากจะศกึ ษาการใชย้ าตามแพทย์แผนโบราณ นกั เรยี นควรไปศกึ ษาทว่ี ดั ใด
1. วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพฯ
2. เจดยี ์พระธาตุพนม จงั หวัดนครพนม
3. วัดถ้ากระบอก จังหวัดสระบรุ ี
4. วดั พระพุทธบาท จงั หวดั สระบรุ ี

เฉลย คาถามข้อคดิ สะกดิ ใจ แนวข้อสอบ O-Net

3. ในอดีตของไทยทม่ี ีการปลกู ฝงั ความเชอื่ ด้านจติ วญิ ญาณ ทงั้ นเ้ี พื่อจุดประสงคใ์ ด
1. การดารงชวี ิต
2. การประกอบอาชพี
3. การจัดระเบียบสงั คม
4. การแสดงออกทางศลิ ปะ

4. หากจะศึกษาการใชย้ าตามแพทยแ์ ผนโบราณ นักเรยี นควรไปศกึ ษาท่วี ดั ใด
1. วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม กรุงเทพฯ
2. เจดีย์พระธาตุพนม จงั หวดั นครพนม
3. วดั ถา้ กระบอก จังหวดั สระบุรี
4. วดั พระพทุ ธบาท จงั หวัดสระบรุ ี

3. 3. การจัดระเบยี บสงั คม
4. 1. วดั พระเชตพุ นว1ิมล1มังคลาราม กรุงเทพฯ


Click to View FlipBook Version