เหตุการณ์
14 ตุลาคม
พ.ศ. 2516
KRU WANCHANA
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
เป็นเหตุการณ์ที่
นักศึกษา ประชาชน เคล่ือนไหวทางการเมือง
เรียกร้องรัฐธรรมนูญ
จากรัฐบาลทหารของจอมพลถนอม กิตติขจร
KRU WANCHANA
1.ไม่พอใจคณะรัฐบาลทหาร สาเหตุ ของเหตุการณ์
ของจอมพลถนอม กิตติขจร 14 ตุลาคม 2516
ผูกขาดอานาจและผลประโยชน์ KRU WANCHANA
ไม่ยอมเกษียณอายุราชการ
ทุจริตคอรัปชั่น
2.ความไม่พอใจคณะทหาร สาเหตุ ของเหตุการณ์
14 ตุลาคม 2516
ล่าสัตว์ที่ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร
นักศึกษาเรียกร้องให้ลงโทษผู้ทาความผิด
KRU WANCHANA
3.คณะนักศึกษาและอาจารย์ท่ี สาเหตุ ของเหตุการณ์
เรียกร้องรัฐธรรมนูญถูกจับ 14 ตุลาคม 2516
ประชาชน นักศึกษา รวมตัวเรียกร้องให้
ปล่อยตัว
เกิดการประท้วง เดินขบวน
KRU WANCHANA
เหตุการณ์
14 ตุลาคม 2516
ประชาชน นักศึกษา
เดินขบวนและปะทะกับ
ตารวจ ทหาร
มีการใช้อาวุธ มีผู้บาดเจ็บ
และเสียชีวิตจานวนมาก
KRU WANCHANA
เหตุการณ์
14 ตุลาคม 2516
-รัชกาลที่ 9 ทรงขอร้องให้
ทุกฝ่ายยุติ
-จอมพลถนอม จอมพล
ประภาส พันเอกณรงค์
เดินทางออกนอกประเทศ
KRU WANCHANA
ศาสตราจารย์ สัญญา ธรรมศกั ด์ิ
https://waymagazine.org/14_oct_timeline/
KRU WANCHANA
https://www.youtube.com/watch?v=9yYRNg_
hTI8&has_verified=1
https://www.youtube.com/watch?v=92nAVsU
0RCo
KRU WANCHANA
ผลกระทบหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
1 ประชาชนเกิดความตื่นตัวทาง
การเมือง
2 ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพในการ
แสดงออกทางการเมือง
KRU WANCHANA
เหตุการณ์
6 ตุลาคม
พ.ศ. 2519
KRU WANCHANA
เหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
สืบเน่ืองจาก 14 ตุลาคม 2516 กลุ่มนักศึกษา
ประท้วงต่อต้านการกลับมาของจอมพล
ถนอม กิตติขจร เจ้าหน้าท่ีตารวจปราบปราม
ผู้ชุมนุมอย่างรุ่นแรง
KRU WANCHANA
1. ไม่พอใจจอมพล ถนอม กิตติ สาเหตุ ของเหตุการณ์
ขจร เดินทางกลับเข้าประเทศ 6 ตุลาคม 2519
พนักงานการไฟฟ้านครปฐมถูกซ้อมตายระหว่างออกติด
โปสเตอร์ประท้วง
KRU WANCHANA
2. ความแตกแยกในสังคมไทย สาเหตุ ของเหตุการณ์
6 ตุลาคม 2519
ฝ่ายซ้ายจัด (คอมมิวนิสต์) สนับสนุน
ฝ่ายขวาจัด (อนุรักษ์นิยม) ต่อต้าน
KRU WANCHANA
เหตุการณ์
6 ตุลาคม 2519
มีการชุมนุมที่ลานโพธิ์
มีการแสดงละครเกี่ยวกับ
กรณีฆ่าแขวนคอพนักงาน
การไฟฟ้านครปฐม
KRU WANCHANA
เหตุการณ์
6 ตุลาคม 2519
-ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช
(ส่ังสลายการชุมนุม)
-เกิดเหตุการณ์นองเลือด
KRU WANCHANA
เหตุการณ์ KRU WANCHANA
6 ตุลาคม 2519
-ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช
(ส่ังสลายการชุมนุม)
-เกิดเหตุการณ์นองเลือด
HTTPS://DOCT6.COM/ARCHIVES/CATEGORY/DOCUMENTS/PHOTOS
พลเรือเอกสงัด ชะลออยู่
เหตุการณ์
6 ตุลาคม 2519
-พลเรือเอกสงัด ชะลออยู่
ยึดอานาจ ม.ร.ว. เสนีย์
ปราโมช
-แต่งต้ังนายธานินทร์
กรัยวิเชียร เป็นนายก
ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช นายธานินทร์ กรัยวิเชียร
KRU WANCHANA
http://119.59.99.174/~net2519/?page_id=515
KRU WANCHANA
https://www.youtube.com/watch?v=YwNiekqpFwY&t=1714s
https://www.youtube.com/watch?v=aWUMoIv2wWM
https://www.youtube.com/watch?v=7UBDnfRxytQ
KRU WANCHANA
ผลกระทบหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
1 สังคมไทยแบ่งฝ่าย
(อนุรักษ์นิยม)(คอมมิวนิสต์)
2 นักศึกษาส่วนหน่ึง
หลบหนีเข้าป่า (คอมมิวนิสต์)
KRU WANCHANA
เหตุการณ์
พฤษภาทมิฬ
พ.ศ. 2535
KRU WANCHANA
เหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535
เหตุการณ์ที่ประชาชน ประท้วงรัฐบาลของ
พลเอก สุจินดา ครามประยูร และนาไปสู่การ
จลาจล และรัฐบาลได้มีสั่งการให้ทหารเข้า
ปราบปราม มีการเสียเลือดเน้ือและชีวิตของ
ประชาชน
KRU WANCHANA
คณะ (รสช.) ยึดอานาจรัฐบาล สาเหตุ ของเหตุการณ์
พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ พฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535
คณะ รสช. นาโดย
- พลเอก สุนทร คงสมพงษ์
- พลเอก สุจินดา คราประยูร
- พลเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี
- พลอากาศเอกเกษตร โรจนนิล
แต่งตั้งให้ นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายก
พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ นายอานันท์ ปันยารชุน
KRU WANCHANA
ต่อมาได้มีการเลือกตั้งและพรรคท่ีได้ นายณรงค์ วงศ์วรรณ
คะแนนสูงสุดคือ พรรคสามัคคีธรรม
สาเหตุ ของเหตุการณ์
-นายณรงค์ วงศ์วรรณ ถูกเสนอให้เป็นนายก พฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535
แต่เป็นไม่ได้ เพราะมีความเก่ียวข้องกับคดียา
เสพติด
-พล.อ.สุจินดา คราประยูร ข้ึนเป็นนายก
แทน (ได้รับฉายา "เสียสัตย์เพ่ือชาติ")
พล.อ.สุจินดา คราประยูร
KRU WANCHANA
เหตุการณ์ พลตรีจาลอง ศรีเมือง
พฤษภาทมิฬ
พ.ศ. 2535
-ชนช้ันกลางและ
นักการเมืองคัดค้าน พลเอก
สุจินดา
- เดินขบวน นาโดยพลตรี
จาลอง ศรีเมือง
- มีคาส่ังปราบปรามผู้
ชุมนุม โดยใช้กาลังทหาร
และนาไปสู่ความรุนแรง
KRU WANCHANA
เหตุการณ์
พฤษภาทมิฬ
พ.ศ. 2535
-รัชกาลท่ี 9 รับส่ังให้พล
เอกสุจินดาและพลตรี
จาลองเข้าเฝ้ายุติความ
ขัดแย้ง
KRU WANCHANA
https://www.youtube.com/watch?v=bW0z3yXZ01s
KRU WANCHANA
ผลกระทบหลังเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535
1 -กองทัพขาดความน่าเช่ือถือ
-เศรษฐกิจของไทยชะลอตัว
เกิดรัฐธรรมนูญ
2 แห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2540
KRU WANCHANA
รัฐประหาร
19 กันยายน
พ.ศ. 2549
KRU WANCHANA
นาโดย
พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน ทาการรัฐประหารยึดอานาจรัฐบาล และแต่งตั้ง
พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน รัฐบาลทักษิณ ชินวัตร พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์
KRU WANCHANA
ยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับพุทธศักราช 2540
ประกาศใช้รัฐธรรมนูญบับ(ชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 (ฉบับที่ 17)
2540 ยกเลิก 2549 ช่ัวคราว 2550 ลงประชามติ
KRU WANCHANA
https://www.youtube.com/watch?v=CwJylN67Ad8
KRU WANCHANA
รัฐประหาร
22 พฤษภาคม
พ.ศ. 2557
KRU WANCHANA
คสช. นาโดย พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ทาการรัฐประหารยึดอานาจรัฐบาล
และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ แต่งต้ัง พลเอกเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็น
นายกรัฐมนตรี
พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา รัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา
KRU WANCHANA
ยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับพุทธศักราช 2550 (ยกเว้นหมวด 2)
ประกาศใช้รัฐธรรมนูญบับ(ช่ัวคราว) พุทธศักราช 2557 (ฉบับท่ี 19)
2550 ยกเลิก 2557 ช่ัวคราว 2560 ลงประชามติ
KRU WANCHANA
https://www.youtube.com/watch?v=fZCLYriz1Js
KRU WANCHANA
หลักปฏิบัติในการเลือกรับข้อมูลข่าวสาร
1.ติดตามข้อมูล 2. พิจารณา 3. รับข้อมูล 4. ไม่ควร
ข่าวสารจากแหล่ง ความน่าเชื่อถือ อย่างมีสติ เผยแพร่ข่าวสาร
ของแหล่งท่ีมา มีวิจารณญาณ
ต่างๆ ไม่มีอคติ ท่ียังไม่มีการ
เพื่อเป็นข้อมูล ของข่าวสาร ตรวจสอบ
ปัจจุบัน
ประกอบการคิด
พิจารณา
KRU WANCHANA
ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี 5
เรียนรู้วัฒนธรรมเอเชีย
ครูวันชนะ ด้วงโยธา
วัฒนธรรม
วิถีการดาํ เนินชีวิต ความคดิ ความเชื่อ
ทมี่ นษุ ยส์ รา้ งขึ้นจากการเรยี นรู้
จนเกิดเป็นแบบอยา่ งพฤตกิ รรมและ
ถา่ ยทอดสืบต่อกนั มา
ครูวันชนะ ด้วงโยธา
จากภาพ บคุ คลใดเป็นคนไทย ?
ครูวันชนะ ด้วงโยธา
วัฒนธรรมไทย
เกิดจาการรับอิทธิพลจาก
2.สภาพส่ิงแวดล้อม 3.การรับผสมผสาน
วัฒนธรรมจาก
ภายนอก
1.หลักธรรมใน
พรพุทธศาสนา
ครูวันชนะ ด้วงโยธา
วฒั นธรรมจีน
CHINESE CULTURE
ศาสนา : ลัทธิขงจ้ือ
ภาษา : จีนไหหล่าํ จีนแต้จิ๋ว จีนกลาง เป็น
ต้น
อาหาร : ก๋วยเตีย๋ ว, ต่ิมซาํ
อุปกรณท่ีเป็นเอกลักษณ์ เช่น
ตะเกียบ
ครูวันชนะ ด้วงโยธา
วฒั นธรรมอินเดีย
INDIAN CULTURE
ศาสนา : พุทธศาสนา, พราหมณ์-ฮินดู
ภาษา : ฮินดี
อาหาร : โรตี, มัสม่ัน, มะตะบะ
ครูวันชนะ ด้วงโยธา
วฒั นธรรมใน
สังคมเอเชยี
ครูวันชนะ ด้วงโยธา
เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้
ศาสนา
- ไทย , ลาว , กัมพชู า , พม่า นับถือ พทุ ธศาสนา
- ฟิลปิ ปนิ ส์ , ตมิ อร์ตะวันออก นับถือ ครสิ ตศ์ าสนา
- มาเลเซยี , สงิ ค์โปร์ , บรไู นดารสุ ซาลาม นบั ถือ อสิ ลาม
ภาษา
- ภาษามลายู ประเทศที่ใช้ เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ และ
บรไู น
- ภาษาไทย / ภาษาเวยี ดนาม / ภาษาลาว เป็นต้น
อาหาร นยิ มบรโิ ภค ขา้ วเป็นหลัก
การแตง่ กาย
ชุดประจาํ ชาตทิ เี่ ป็นเอกลกั ษณเ์ ฉพาะตัวเอง
ครูวันชนะ ด้วงโยธา
ครูวันชนะ ด้วงโยธา