The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thongchai.aoy, 2021-03-23 01:39:43

E-book กฏหมายการศึกษา

เล่ม e-book

กฎหมายการศึกษา 45 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ.2555

3. การลากิจสว่ นตวั
- ใหไ้ ดร้ บั เงินเดือนระหวา่ งลาในปีหนึง่ ไมเ่ กนิ 45 วนั ทาการ ยกเวน้ ขา้ ราชการ
บรรจใุ หมใ่ นปีแรก ใหไ้ ดร้ บั เงินเดือนระหวา่ งลาไดไ้ มเ่ กนิ 15 วนั ทาการ
- ใหจ้ ดั ส่งใบลาพรอ้ มเหตุผลความจาเป็ นต่อผูบ้ งั คบั บญั ชา เม่ือไดร้ บั อนุญาต
แลว้ จงึ หยุดราชการได้ ยกเวน้ มีเหตุจาเป็ นไม่สามารถรอรบั อนุญาตได้ ใหห้ ยุด
ราชการไปก่อนไดแ้ ตต่ อ้ งช้ีแจงเหตผุ ลใหผ้ ูม้ อี านาจ อนญุ าตทราบโดยเรว็
- กรณีลากิจสว่ นตวั เพ่อื เล้ียงดบู ุตร ใหม้ สี ิทธิลาตอ่ เน่ืองจากการลาคลอด บุตร
ไดไ้ ม่เกิน 150 วนั ทาการ แตไ่ มใ่ หไ้ ดร้ บั เงินเดือนระหวา่ งลา

4. การลาคลอดบตุ ร
- ลาในวนั ทค่ี ลอด ก่อน หรือหลงั วนั ที่คลอดบุตรก็ได้ รวมแลว้ ไม่เกิน 90 วนั
โดยใหไ้ ดร้ บั เงินเดอื นระหวา่ งลาได้
- ใหส้ ่งใบลาตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชาก่อนหรอื ในวนั ท่ลี า ยกเวน้ กรณีไม่สามารถ ลงช่ือ
ในใบลาได้ ใหผ้ ูอ้ น่ื ลาแทนได้ แตเ่ มื่อสามารถลงช่ือไดแ้ ลว้ ใหส้ ่งใบลาโดยเร็ว โดยไม่
ตอ้ งมใี บรบั รองแพทย์
- กรณีทไ่ี ม่ไดค้ ลอดบุตรตามกาหนด หากประสงคจ์ ะขอยกเลิกวนั ลา ท่ีหยุดไป
ใหผ้ มู้ อี านาจอนุญาตใหย้ กเลิกวนั ลาได้ โดยใหถ้ ือว่าวนั ท่ี หยุดไปแลว้ เป็ นวนั ลากิจ
ส่วนตวั
- กรณลี าคลอดบุตรคาบเกี่ยวกบั การลาประเภทใดที่ยงั ไม่ครบ กาหนดวนั ลา
ของการลาประเภทนั้นใหถ้ ือว่าการลาประเภทน้ัน ส้ินสุดลง และใหน้ บั เป็ นการลา
คลอดบุตรตง้ั แต่วนั เรม่ิ ลาคลอดบุตร

ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรีวา่ ดว้ ยการลาของขา้ ราชการ พ.ศ.2555 46 กฎหมายการศกึ ษา

5. การลาไปช่วยเหลอื ภรยิ าที่คลอดบุตร
- ใหม้ ีสิทธิลาไปช่วยเหลือภรยิ าที่คลอดบุตรไดภ้ ายใน 30 วนั นบั ตง้ั แต่วนั ที่
ภรยิ าคลอดบุตร และครงั้ หนงึ่ ติดต่อกนั ไดไ้ ม่เกนิ ๑๕ วนั ทาการ หากลาเม่ือพน้ 30
วัน นับแต่วันที่ภริยาคลอดบุตร ไม่ให้ไดร้ ับเงินเดือน ระหว่างลา ยกเว้น
ผูบ้ งั คบั บญั ชาตงั้ แต่ระดบั อธิบดีหรอื เทียบเท่าข้ึนไป เห็นสมควรใหจ้ า่ ยเงินเดือน
ระหวา่ งลาก็ได้ แต่ไม่เกิน 15 วนั ทาการ
- ใหจ้ ดั สง่ ใบลาต่อผูบ้ งั คบั บญั ชาก่อน หรอื ในวนั ท่ีลา ภายใน 90 วนั นบั ตง้ั แต่
วนั ทภี่ รยิ าคลอดบุตร

6. การลาอุปสมบทหรอื การลาไปประกอบพธิ ีฮจั ย์
- ใหม้ สี ทิ ธิลาอปุ สมบทหรอื ลาไปประกอบพธิ ีฮจั ย์ โดยไดร้ บั เงินเดือนระหวา่ งลา
ไดไ้ ม่เกิน 120 วนั ทง้ั น้ีตอ้ งรบั ราชการมาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 12 เดือน และยงั ไม่เคย
อปุ สมบทหรอื ประกอบพธิ ีฮจั ย์ ณ เมอื งเมกกะ ประเทศซาอดุ ิอาระเบีย ยกเวน้ กรณี
เคยอปุ สมบทโดยมี มติคณะรฐั มนตรไี มใ่ หถ้ ือเป็นวนั ลา
- ใหจ้ ดั ส่งใบลาต่อผูบ้ ังคบั บญั ชาก่อนวนั อุปสมบทหรือก่อนวันเดินทางไป
ประกอบพธิ ีฮจั ย์ ไม่นอ้ ยกวา่ 60 วนั หากไม่สามารถจดั ส่งไดก้ ่อนตามท่ีกาหนด ให้
ช้ีแจงเหตุผลความ จาเป็นและอยู่ในดลุ ยพนิ ิจของผูม้ ีอานาจพิจารณาหรอื อนุญาตให้
ลาหรอื ไม่ก็ได้
- ใหผ้ ูไ้ ดร้ บั อนญุ าตอปุ สมบทหรอื ออกเดินทางภายใน 10 วนั นบั ตงั้ แต่วนั เรมิ่ ลา
และ ตอ้ งกลบั มารายงานตวั เขา้ ปฏบิ ตั ิราชการภายใน 5 วนั นบั แต่วนั ที่ลาสิกขาหรือ
วนั เดนิ ทางกลบั ถึงประเทศไทย ทง้ั น้ี ตอ้ งนบั รวมอยู่ในระยะเวลาท่ีไดร้ บั อนญุ าต
- กรณีมีปัญหาอปุ สรรคทาใหไ้ ม่สามารถอปุ สมบทหรอื ไปประกอบพิธีฮจั ย์ได้
ตามท่ีขอลาไว้ ใหร้ ายงานตวั กลบั เขา้ ปฏิบตั ิราชการตามปกติและขอยกเลิกวนั ลา
โดยใหถ้ อื วา่ วนั ทีไ่ ดห้ ยดุ ไปแลว้ เป็ นวนั ลากิจส่วนตวั

กฎหมายการศกึ ษา 47 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ.2555

7. การลาเขา้ รบั การตรวจเลอื กหรอื เขา้ รบั การเตรยี มพล
- ใหไ้ ดร้ บั เงนิ เดือนระหวา่ งลาได้ แต่หากพน้ ระยะเวลาดงั กล่าวแลว้ ไม่รายงาน
ตวั เพื่อเขา้ ปฏบิ ตั ริ าชการภายใน ๗ วนั ใหง้ ดจา่ ยเงินเดือนหลงั จากน้ันจนถึง วนั เขา้
ปฏิบตั ิราชการ ยกเวน้ กรณมี เี หตุจาเป็น ใหผ้ ูบ้ งั คบั บญั ชาระดบั อธิบดี หรอื เทยี บเท่า
ข้นึ ไปใหจ้ า่ ยเงินเดอื นต่อไปได้ แตไ่ ม่เกนิ 15 วนั
- ใหข้ า้ ราชการท่ีไดร้ บั หมายเรียกเขา้ รบั การตรวจเลือก ใหร้ ายงานลาต่อ
ผูบ้ งั คบั บญั ชากอ่ นวนั เขา้ รบั การตรวจเลือกไมน่ อ้ ยกวา่ 48 ชว่ั โมง หรือ ขา้ ราชการที่
ไดร้ บั หมายเรียกเขา้ รบั การเตรียมพลใหร้ ายงานลาต่อ ผูบ้ งั คบั บญั ชาภายใน 48
ชวั่ โมง นบั แต่เวลารบั หมายเรยี ก และใหไ้ ปเขา้ รบั การตรวจเลอื ก หรอื เตรยี มพลโดย
ไมต่ อ้ งรอรบั คาสงั่ อนญุ าต

8. การลาไปศกึ ษา ฝึ กอบรม ปฏบิ ตั กิ ารวิจยั หรอื ดงู าน
ใหไ้ ดร้ บั เงินเดือนระหวา่ งลาไม่เกิน 4 ปี นบั แตว่ นั ไปศึกษา ฝึกอบรม ดงู านหรือ
ปฏิบตั กิ ารวจิ ยั จนถึงวนั กอ่ นวนั มารายงานตวั เพ่ือเขา้ ปฏิบตั ิราชการ ยกเวน้ กรณีที่
ผูบ้ ังคบั บญั ชาผูม้ ีอานาจ อนุญาตเห็นสมควรใหล้ าเกิน ๔ ปี ใหไ้ ดร้ บั เงินเดือน
ระหวา่ งลาได้ ทง้ั น้ี รวมทง้ั ส้นิ ตอ้ งไม่เกิน 6 ปี

9. การลาไปปฏบิ ตั งิ านในองคก์ ารระหว่างประเทศ
- ไม่ใหไ้ ดร้ บั เงินเดือนระหว่างลา ยกเวน้ อตั ราเงินเดือนท่ีไดร้ บั จากองค์การ
ระหว่างประเทศ ตา่ กว่าเงินเดือนของราชการที่ผูน้ น้ั ไดร้ บั ในขณะน้ัน ใหไ้ ดร้ บั
เงนิ เดือนจากราชการสมทบ ซึ่งเมื่อรวมกบั องคก์ ารระหว่างประเทศแลว้ ตอ้ งไม่เกิน
อตั ราเงินเดอื นท่ขี า้ ราชการผนู้ น้ั ไดร้ บั อยู่

ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรีวา่ ดว้ ยการลาของขา้ ราชการ พ.ศ.2555 48 กฎหมายการศกึ ษา

- กรณีลาไปเกิน 1 ปี เม่ือปฏิบตั ิงานแลว้ เสรจ็ ใหร้ ายงานตวั เขา้ ปฏิบตั ิหนา้ ท่ี
ราชการภายใน 15 วนั นบั แต่วนครบกาหนดเวลา แลว้ ใหร้ ายงานผลเกยี่ วกบั การลา
ไปปฏิบตั งิ านให้ รฐั มนตรเี จา้ สงั กดั ทราบตามแบบรายงานท่ีกาหนดภายใน 30 วนั
นบั แต่วนั ท่กี ลบั มาปฏบิ ตั ิ หนา้ ท่ีราชการ

10. การลาติดตามคสู่ มรส
- ไม่ไดใ้ หร้ บั เงนิ เดอื นระหวา่ งลา
- ใหจ้ ดั สง่ ใบลาตอ่ ผูบ้ งั คบั บญั ชาเพอื่ อนุญาตใหล้ าไดไ้ ม่เกิน 2 ปี โดยให้ ลาครง้ั
เดยี วหรอื หลายครง้ั กไ็ ด้ และคสู่ มรสอย่ปู ฏิบตั หิ นา้ ทเ่ี ป็นระยะเวลา ติดต่อกนั ไม่วา่ จะ
ในประเทศเดยี วกนั หรอื ไม่
- กรณจี าเป็นอาจใหล้ าต่อไดอ้ ีก 2 ปี แต่รวมแลว้ ไม่เกิน 4 ปี ถา้ เกิน 4 ปี ให้
ลาออกจากราชการ
- กรณีลาต่อตามคู่สมรสครบระยะเวลาท่ีกาหนด ท่ีคู่สมรสปฏิบตั ิหน้าท่ี
ติดตอ่ กนั คราวหน่ึงแลว้ ไมม่ ีสิทธขิ อลาติดตามคสู่ มรสอกี เวน้ แต่คสู่ มรส ไดก้ ลบั มา
ปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นประเทศไทยแลว้ ตอ่ มา ไดร้ บั คาสงั่ ใหไ้ ปปฏิบตั ิหนา้ ท่ีในต่างประเทศ
อกี จงึ จะมสี ทิ ธขิ อลาตดิ ตามคสู่ มรสไดใ้ หม่

11. การลาไปฟ้ื นฟูสมรรถภาพดา้ นอาชพี
- ใหข้ า้ ราชการทไี่ ดร้ บั อนั ตรายหรอื ป่ วยเจบ็ เพราะปฏิบตั ิหนา้ ที่จนเป็ นผู้ ทุพพล
ภาพหรอื พิการลาเพ่ือไปเขา้ รบั การฝึกอบรมหลกั สตู รเก่ียวกบั การ ฟ้ื นฟูสมรรถภาพ
ท่ีจาเป็ นต่อการปฏิบตั ิราชการหรอื ต่อการประกอบอาชีพ โดยใหไ้ ดร้ บั เงินเดือน
ระหว่างลาไดต้ ามระยะเวลาท่ีกาหนดในหลักสูตร แต่ ไม่เกิน ๑๒ เดือน ทง้ั น้ี
หลกั สูตรดงั กล่าวตอ้ งเป็นหลกั สตู รท่สี ว่ นราชการ หน่วยงานของรฐั องคก์ รการกุศล
อนั เป็ นสาธารณะหรอื สถาบนั ที่ไดร้ บั การ รบั รองจากหน่วยงานของรฐั เป็ นผูจ้ ดั หรอื
รว่ มจดั

กฎหมายการศกึ ษา 49 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ.2555

- ใหส้ ่งใบลาพรอ้ มแสดงหลกั ฐานเกยี่ วกบั หลกั สูตรทีป่ ระสงคจ์ ะลา และ เอกสาร
ทเี่ กย่ี วขอ้ ง (ถา้ มี) ตอ่ ผูบ้ งั คบั บญั ชา และไดร้ บั อนญุ าตแลว้ จึงหยดุ ราชการได้

กาหนดรายละเอยี ดการลาอนื่ ๆ
- การลาในชว่ งกอ่ นและหลงั วนั หยุดราชการ ประจาสปั ดาห์หรือประจาปี เพื่อให้

มีวนั หยุดตอ่ เนือ่ งกนั ใหผ้ ูม้ ีอานาจพิจารณาตามความเหมาะสมและจาเป็น โดยใหน้ บั
วนั หยุดราชการท่ีอยู่ในระหว่างวนั ลาประเภทเดียวกนั รวมเป็ นวนั ลา ดว้ ย ยกเวน้
การลาพกั ผ่อน การลาไปช่วยเหลอื ภรยิ าทคี่ ลอดบุตร การลากิจ ส่วนตวั ใหน้ บั เฉพาะ
วนั ทาการ

- ขา้ ราชการที่ไดร้ บั อนุญาตใหล้ าไปช่วยเหลือภริยาท่ีคลอดบุตร การลากิจ
ส่วนตวั หรอื ลาพกั ผ่อน ซงึ่ ไดห้ ยุดราชการไปยงั ไมค่ รบกาหนด ถา้ มีราชการ จาเป็ น
ผูบ้ งั คบั บญั ชาจะเรยี กตวั มาปฏิบตั ริ าชการระหวา่ งลาก็ได้

- ผูท้ ่ีไดร้ บั คาสง่ั ใหไ้ ปช่วยราชการ ณ หน่วยงานอ่ืน หากประสงคจ์ ะลาป่ วย ลา
คลอดบุตร ลากจิ ส่วนตวั ลาพกั ผ่อน หรอื ลาเขา้ รบั การตรวจเลือกหรือเตรียม พล
ใหข้ ออนุญาตลาตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชาของหนว่ ยงานที่ไปช่วยราชการ แลว้ ใหห้ น่วยงาน
นน้ั รายงานจานวนวนั ลาใหห้ น่วยงานตน้ สงั กดั ของผนู้ นั้ ทราบ อย่างนอ้ ยปีละครง้ั

50 กฎหมายการ ึศกษา

ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรีวา่ ดว้ ยการลาของขา้ ราชการ พ.ศ.2555

กฎหมายการศกึ ษา 51 ระเบียบการพานักเรียนและนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา

ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการว่าดว้ ยการพานกั เรยี นและ
นกั ศกึ ษาไปนอกสถานศกึ ษา

ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่าดว้ ยการพานกั เรยี นและนกั ศกึ ษา
ไปนอกสถานศกึ ษา พ.ศ. 2562

ขอ้ 3
ใหย้ กเลิกระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการ วา่ ดว้ ยการพานกั เรียนและนกั ศึกษาไป

นอกสถานศึกษา พ.ศ. 2548
ขอ้ 4

“นักเรียนและนักศึกษา” หมายความว่า บุคคลซ่ึงกาลังรับการศึกษาใน
สถานศึกษา

“สถานศึกษา” หมายความวา่ สถานศึกษาในสงั กดั กระทรวงศึกษาธิการ ที่อยู่
ในกากบั ดูแล หรอื อยใู่ นความควบคมุ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

“หวั หนา้ สถานศกึ ษา” หมายความวา่ ผอู้ านวยการ หรือ ตาแหน่งที่เรียกว่าชื่อ
อยา่ งอนื่ ที่มีอานาจหนา้ ทีใ่ นลกั ษณะเดยี วกนั ทง้ั ของรฐั และเอกชน

“การพานกั เรียนและนกั ศึกษาไปนอกสถานศึกษา” หมายความว่า การท่ี
หวั หนา้ สถานศึกษาหรอื ผูท้ ห่ี วั หนา้ สถานศึกษามอบหมาย พานกั เรียนและนกั ศึกษา
ไปทากิจกรรมการเรียนการสอน นอกสถานศึกษาซ่งึ อาจไปเวลาเปิ ดทาการสอน
หรอื ไมก่ ไ็ ด้ หรอื ไปทากจิ กรรมการเดนิ ทางไกล และ การเขา้ ค่ายพกั แรมของลูกเสือ
เนตรนารี และยวุ กาชาด แต่ไม่รวมถงึ การไปนอกสถานทตี่ ามคาสงั่ ในทางราชการ
ขอ้ 5

จาแนกเป็น 3 ประเภท ดงั น้ี
1. การพาไปนอกสถานศกึ ษาไมพ่ กั แรม
2. การพาไปนอกสถานศึกษาพกั แรม

ระเบยี บการพานกั เรียนและนกั ศกึ ษาไปนอกสถานศกึ ษา 52 กฎหมายการศกึ ษา

3. การพาไปนอกราชอาณาจกั ร
ขอ้ 6

การพานกั เรยี นและนกั ศึกษาไปนอกสถานศึกษาใหเ้ ป็นไปตามความสมคั ร
ใจของนกั เรยี นและนกั ศึกษา โดยความยนิ ยอมของผปู้ กครองตามแบบท่ีกาหนดทา้ ย
ระเบียบน้ี
ขอ้ 7
การพานกั เรยี นและนกั ศกึ ษาไปนอกสถานศึกษาทกุ ประเภทใหป้ ฏบิ ตั ิ ดงั น้ี

1. ตอ้ งคานึงถึงความปลอดภยั ในการเดินทาง และการพกั แรมเป็นอนั ดบั แรก
2. ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตก่อนโดยขออนุญาตตามแบบทกี่ าหนดทา้ ยระเบียบน้ี
3. ใหห้ วั หนา้ สถานศกึ ษาจานวน 1 คน เป็ นผูค้ วบคมุ และจะตอ้ งมีครูจานวน 1
คน ตอ่ นกั เรยี นไมเ่ กิน 30 คนเป็นผชู้ ่วยผูค้ วบคมุ
กรณที ีม่ นี กั เรยี นและนกั ศึกษาเป็ นหญงิ ไปดว้ ย ใหม้ คี รสู ตรคี วบคมุ ไปดว้ ยตามความ
เหมาะสม
4. ใหห้ วั หนา้ สถานศกึ ษาเป็นผูพ้ ิจารณาเลือกเสน้ ทางท่ีจะเดนิ ทาง ยานพาหนะที่
จะใช้ ในการเดินทางซง่ึ ตอ้ งอยู่ในสภาพมนั่ คงแข็งแรง รวมถึงพนกั งานขบั รถหรือ
ควบคมุ ยานพาหนะทีม่ คี วามรู้ ความชานาญดว้ ย
5. ในการเดินทางใหพ้ ิจารณาขอความรว่ มมือไปยงั หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งเพ่ือขอ
คาแนะนาหรอื ขอความรว่ มมอื อนื่ ๆ เทา่ ทจี่ าเป็น รวมถึงจดั ใหม้ ีป้ ายขอ้ ความที่ระบุ
โครงการ กิจกรรม และ สถานศึกษาแสดงใหเ้ ห็นเด่นชดั ติดที่ดา้ นขา้ งรถ และมี
หมายเลขกากบั ติดที่ดา้ นหนา้ และดา้ นหลงั รถ ในตาแหน่งที่เห็นชดั เจน กรณีการพา
นกั เรยี นและนกั ศกึ ษาไปนอกสถานศึกษาโดยใชร้ ถโดยสารไม่ตา่ กวา่ 40 ที่นง่ั จานวน
3 คนั ข้ึนไป ควรจดั ใหม้ ีรถนาขบวน สาหรบั การใชร้ ถโดยสารตา่ กว่า 40 ท่ีนัง่
จานวน 3 คนั ข้นึ ไป ใหห้ วั หนา้ สถานศึกษาพจิ ารณาตามความเหมาะสม
6. จดั ใหม้ ีอปุ กรณ์ปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ประจารถหรอื ยานพาหนะ และดูแล
นกั เรยี นและ นกั ศกึ ษาท่ีมโี รคประจาตวั เป็ นพิเศษ

กฎหมายการศึกษา 53 ระเบียบการพานักเรียนและนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา

7. เพอ่ื การคมุ้ ครองความปลอดภยั ในชีวติ และรา่ งกายของนกั เรยี นและนกั ศึกษา
ในการ พานักเรยี นและนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา ใหส้ ถานศึกษาจดั ใหม้ ีก าร
ประกนั ภยั การเดินทางแก่นกั เรียน และนกั ศึกษา เวน้ แต่สถานศึกษาไดจ้ ัดใหม้ ีการ
ประกนั ภยั ที่คมุ้ ครองกรณีดงั กลา่ วแกน่ กั เรยี นและ นกั ศกึ ษาอยู่ก่อนแลว้
ขอ้ 8

1. หวั หนา้ สถานศกึ ษา สาหรบั การพาไปนอกสถานศึกษาไม่พกั แรมตามข้อ 5
(1)

2. ผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ผูอ้ นุญาตตามกฎหมายวา่ ดว้ ย
โรงเรยี นเอกชน ผมู้ ีอานาจเหนอื สถานศกึ ษาข้ึนไปอกี ชน้ั หน่ึง หรือผูไ้ ดร้ บั มอบหมาย
แลว้ แตก่ รณี สาหรบั การพา ไปนอกสถานศึกษาพกั แรมตามขอ้ 5 (2)

3. หัวหน้าส่วนราชการหรือผู้ไดร้ ับมอบหมาย สาหรับการพาไปนอก
ราชอาณาจกั รตามขอ้ 5 (3)
ขอ้ 9

ใหส้ ถานศกึ ษาส่งคาขออนญุ าตพรอ้ มโครงการที่จะพานกั เรยี นและนกั ศึกษาไป
นอกสถานศกึ ษาตอ่ ผูม้ อี านาจพิจารณาอนุญาตก่อนวนั เดินทางไม่นอ้ ยกว่า 15 วนั
หากไม่สามารถยื่นคาขอไดท้ นั ภายในกาหนดเวลาดงั กล่าว ใหช้ ้ีแจงเหตุผลความ
จาเป็นดว้ ยเม่อื ไดร้ บั อนุญาตแลว้ จงึ ออกเดนิ ทางได้
ขอ้ 10
ใหผ้ คู้ วบคมุ และผชู้ ว่ ยผคู้ วบคมุ มหี นา้ ทต่ี อ้ งปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี

1. ดาเนินการใหน้ กั เรยี นและนกั ศึกษาอยู่ในระเบียบวินยั เพื่อใหก้ ารเดินทาง
เป็นไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ยและปลอดภยั

2. ไม่เสพสรุ าสิ่งเสพตดิ ของมึนเมา
3. จดั ใหม้ ีช่องทางหรือระบบการติดต่อส่ือสารและหมายเลขโทรศัพท์ของ
หนว่ ยงานท่เี ก่ยี วขอ้ ง เพอื่ ประสานงานทุกระยะ

ระเบยี บการพานกั เรียนและนกั ศกึ ษาไปนอกสถานศกึ ษา 54 กฎหมายการศกึ ษา

4. ดูแลนกั เรยี นและนกั ศกึ ษาใหไ้ ดร้ บั ความปลอดภยั ตลอดเวลาที่อยู่ในระหวา่ ง
การเดนิ ทาง

5. เมื่อปรากฏว่ามีกรณีอุบตั ิเหตุท่ีเป็ นอนั ตรายต่อความปลอดภยั ในชีวิตและ
รา่ งกายของนกั เรยี นใหผ้ ูค้ วบคมุ และผูช้ ่วยผูค้ วบคมุ ดแู ลนกั เรยี น ดาเนินการรายงาน
หวั หนา้ สถานศกึ ษาทราบโดยเรว็
ขอ้ 11

ผูค้ วบคุมและผู้ช่วยผู้ควบคุมต้องกากับให้พนักงานขับรถหรื อควบคุม
ยานพาหนะปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี

1. ควบคมุ ยานพาหนะใหเ้ ป็ นไปตามลาดบั หมายเลขตามเสน้ ทางที่กาหนดใน
แผนการเดนิ ทาง

2. ตรวจสอบสภาพรถหรอื ยานพาหนะและอุปกรณ์ต่าง ๆ ใหอ้ ยู่ในสภาพดีและ
พรอ้ มทีจ่ ะใชง้ านไดต้ ลอดเวลา

3. ขบั รถหรือควบคุมยานพาหนะดว้ ยความระมัดระวงั ไม่ขับรถหรือควบคุม
ยานพาหนะในลกั ษณะประมาทหรอื นา่ หวาดเสียว

4. ไม่ใชโ้ ทรศพั ทเ์ คลื่อนที่ในขณะขบั รถ เวน้ แต่การใชโ้ ทรศพั ท์เคลื่อนท่ีโดยใช้
อปุ กรณเ์ สรมิ สาหรบั การสนทนา

5. ไม่ขบั รถในขณะที่มีอาการมึนเมาหรอื เสพสรุ า
ขอ้ 12
การพานกั เรยี นและนกั ศกึ ษาไปนอกสถานศกึ ษาพกั แรมใหผ้ ูค้ วบคมุ ปฏิบัติ ดงั น้ี

1. เม่ือเดินทางถึงสถานที่จดั กิจกรรมตอ้ งจดั ใหม้ ีการปฐมนิเทศ เพ่ือแจง้
กฎระเบยี บ ขอ้ ปฏิบตั ิในการใชส้ ถานท่ี

2. จดั สถานท่พี กั แยกชาย หญิงใหเ้ ป็ นสดั ส่วน
3. จดั ใหม้ รี ะบบดูแลรกั ษาความปลอดภยั ตลอดช่วงเวลาจดั กจิ กรรม
4. จดั เจา้ หนา้ ท่ีหรอื บุคคลผูม้ ีความรูใ้ นการดา้ นการรกั ษาพยาบาล เพื่อดูแล
นกั เรยี นระหวา่ งการทากจิ กรรม

กฎหมายการศกึ ษา 55 ระเบียบการพานักเรียนและนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา

ขอ้ 13
เม่ือกลบั จากการพานกั เรยี นและนกั ศกึ ษาไปนอกสถานศึกษาแลว้ ใหร้ ายงานใหผ้ ู้

อนญุ าตตามขอ้ 8 ทราบตามทีก่ าหนดทา้ ยระเบยี บน้ี
ขอ้ 14

ใหถ้ ือวา่ ครู อาจารย์ ผูค้ วบคมุ หรือผูช้ ่วยผูค้ วบคมุ ท่ีพานกั เรยี นและนกั ศึกษา
ไปนอกสถานศกึ ษาเป็ นการปฏบิ ตั ิหนา้ ทรี่ าชการและใหเ้ บิกคา่ ใชจ้ า่ ยในการเดินทาง
ไดต้ ามระเบยี บของทางราชการ
ขอ้ 15

ใหป้ ลดั กระทรวงศึกษาธิการ รกั ษาการใหเ้ ป็ นไปตามระเบียบน้ีและให้มีอานาจ
ตีความและวนิ จิ ฉยั ช้ขี าดปัญหา ท่ีเกิดจากการปฏบิ ตั ิตามระเบียบน้ี

ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่าดว้ ยการพานกั เรยี นและนกั ศกึ ษาไปนอก
สถานศกึ ษา (ฉบบทั 2่ี ) พ.ศ. 2563

ขอ้ 3
ให้ยกเลิกความในขอ้ 8 และใหใ้ ช้ขอ้ ความต่อไปน้ีแทน “ขอ้ 8 ให้บุคคล

ดงั ตอ่ ไปน้ี เป็นผูม้ อี านาจพิจารณาอนญุ าตตามขอ้ 5
1. หวั หนา้ สถานศึกษา สาหรบั การพาไปนอกสถานศึกษาไม่พกั แรม
2. ผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา ผูม้ อี านาจเหนือสถานศึกษาข้ึนไป

อกี ชนั้ หนงึ่ หรอื ผูท้ ไ่ี ดร้ บั มอบหมายแลว้ แต่กรณีสาหรบั การพาไปนอกสถานศึกษาพกั
แรม

3. หัวหน้าส่วนราชการหรือผู้ได้รับมอบหมายสาหรับการพาไปนอก
ราชอาณาจกั ร

สาหรบั สถานศึกษาเอกชนประเภทโรงเรียนในระบบตามกฎหมายว่าดว้ ย
โรงเรยี นเอกชนใหห้ วั หนา้ สถานศึกษาเป็นผมู้ ีอานาจพจิ ารณาอนุญาตการพาไปนอก
สถานศกึ ษาไมพ่ กั แรมตามขอ้ 5

ระเบยี บการพานกั เรียนและนกั ศกึ ษาไปนอกสถานศกึ ษา 56 กฎหมายการศกึ ษา

ขอ้ 4
ให้เพิ่มความต่อไปน้ีเป็ นวรรคสามและวรรคส่ีของข้อ 9 แห่งระเบียบ

กระทรวงศึกษาธิการวา่ ดว้ ยการพานกั เรยี นและนกั ศึกษาไปนอกสถานศึกษา พ. ศ.
2562

ใหส้ ถานศกึ ษาเอกชนประเภทโรงเรียนในระบบตามกฎ หมายวา่ ดว้ ยโรงเรยี น
เอกชนรายงานการพิจารณาอนญุ าตตามขอ้ 8 วรรคทา้ ย ต่อผอู้ นญุ าตตามกฎหมาย
วา่ ดว้ ยโรงเรยี นเอกชนก่อนวนั เดินทางไม่นอ้ ยกวา่ 3 วนั ทาการตามแบบที่กาหนด
ทา้ ยระเบยี บน้ี

ในกรณีท่ีผูอ้ นุญาตตามกฎหมายวา่ ดว้ ยโรงเรียนเอกชนเห็นว่า การพิจารณา
อนุญาตตามขอ้ 8 วรรคทา้ ยอาจมภี ยั อนั ตรายต่อนกั เรยี นหรอื สถานทีท่ ่ีจะเดินทางไป
นอกสถานศึกษา มีสภาพขดั ต่อสขุ ภาพหรอื อนามยั หรอื มเี หตอุ นั อาจเป็นภยั อนั ตราย
ต่อนกั เรียน ใหผ้ ูอ้ นุญาตตามกฎหมายว่าดว้ ยโรงเรียนเอกชนมีอานาจสงั่ ใหร้ ะงบั
ยบั ยง้ั แกไ้ ขเปลย่ี นแปลงหรอื ยกเลกิ ไดต้ ามท่เี ห็นสมควร
ขอ้ 5

ใหเ้ พ่ิมความตอ่ ไปน้เี ป็นวรรคสองของขอ้ 13 แห่งระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ
วา่ ดว้ ยการพานกั เรยี นและนกั ศกึ ษาไปนอกสถานศึกษา 2562

สาหรับสถานศึกษาเอกชนประเภทโรงเรียนในระบบตามกฎหมายว่าดว้ ย
โรงเรยี นเอกชนนอกจากการรายงานตามวรรคหน่ึงแลว้ ในกรณีพาไปสถานศึกษาพกั
แรมตามขอ้ 5 และการพาไปนอกราชอาณาจกั รตามขอ้ 5ตอ้ งรายงานผลการพา
นกั เรียนไปนอกสถานศึกษาใหก้ บั ผูอ้ นุญาตตามกฎหมายว่าดว้ ยโรงเรียนเอกชน
ทราบภายใน 15 วนั หลงั จากการพานกั เรยี นไปนอกสถานศึกษาเสรจ็ ส้นิ แลว้

กฎหมายการศกึ ษา 57 การลงโทษนักเรียน

การลงโทษนกั เรยี น

ระเบยี บการลงโทษนกั เรยี นและนกั ศกึ ษา
วา่ ดว้ ยเรอ่ื งระเบยี บการลงโทษนกั เรียนและนกั ศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

พ.ศ. 2548 ไดม้ กี าหนดวธิ ีการลงโทษไวใ้ นประกาศ โดยมีประเดน็ สาคญั ดงั น้ี
ขอ้ 4 กลา่ ววา่ “การลงโทษ” หมายความวา่ การลงโทษนกั เรียนหรือนกั ศึกษา

ที่กระทาความผิด โดยมีความมงุ่ หมายเพื่อการอบรมสง่ั สอน
ขอ้ 5 กลา่ ววา่ โทษทจี่ ะลงโทษแกน่ กั เรียนหรอื นกั ศึกษาที่กระทาความผิด มี 4

สถาน ดงั น้ี
1. วา่ กลา่ วตกั เตือน
2. ทาทณั ฑบ์ น
3. ตดั คะแนนความประพฤติ
4ทากิจกรรมเพ่อื ใหป้ รบั เปลีย่ นพฤตกิ รรม

ขอ้ 6 กลา่ ววา่ หา้ มลงโทษนกั เรียนและนกั ศึกษาดว้ ยวิธีรุนแรง หรือแบบกลน่ั
แกลง้ หรอื ลงโทษดว้ ยความโกรธ หรอื ดว้ ยความพยาบาท โดยใหค้ านึงถึงอายุของ
นกั เรยี นหรอื นกั ศึกษา และความรา้ ยแรงของพฤติการณป์ ระกอบการลงโทษดว้ ย

ขอ้ 7 กล่าวว่า การว่ากล่าวตักเตือน ในกรณีนักเรียนหรอื นกั ศึกษากระทา
ความผดิ ไมร่ า้ ยแรง

ขอ้ 8 กล่าววา่ การทาทณั ฑบ์ น ใชใ้ นกรณีนกั เรียนหรอื นกั ศึกษาท่ีประพฤติตน
ไมเ่ หมาะสมกบั สภาพ นกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษา ตามกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยความประพฤติ
นกั เรียนและนักศึกษา หรือกรณีทาให้เส่ือมเสียช่ือเสียงและเกียรติศักด์ิของ
สถานศึกษา หรอื ฝ่ าฝืนระเบียบของสถานศกึ ษา หรอื ไดร้ บั โทษวา่ กลา่ วตกั เตือนแลว้

ขอ้ 9 กล่าววา่ การตดั คะแนนความประพฤติ ใหเ้ ป็ นไปตามระเบียบปฏิบตั ิว่า
ดว้ ยการตัดคะแนนความประพฤตินกั เรียนและ นกั ศึกษาของแต่ละสถานศึกษา
กาหนด และใหท้ าบนั ทกึ ขอ้ มูลไวเ้ ป็นหลกั ฐาน

การลงโทษนกั เรยี น 58 กฎหมายการศกึ ษา

ขอ้ 10 กลา่ ววา่ ทากิจกรรมเพ่ือใหป้ รบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม ใชใ้ นกรณีที่นกั เรียน
และนกั ศกึ ษากระทาความผดิ ทีส่ มควรตอ้ งปรบั เปลี่ยน พฤติกรรม การจดั กิจกรรม
ใหเ้ ป็นไปตามแนวทางทีก่ ระทรวงศึกษาธิการกาหนด

กฎหมายที่มคี วามเก่ยี วขอ้ งกบั พระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองเดก็ พ.ศ. 2546
หมวด 2 การปฏบิ ตั ติ ่อเดก็

มาตรา 26 ภายใตบ้ งั คบั บทบญั ญตั แิ ห่งกฎหมายอนื่ ไมว่ า่ เดก็ จะยินยอมหรอื ไม่
หา้ มมิใหผ้ ูใ้ ดกระทาการ ดงั ตอ่ ไปน้ีคอื กระทาหรอื ละเวน้ การกระทาอนั เป็นการทารุณ
กรรมต่อรา่ งกายหรอื จติ ใจของเด็ก
หมวด 7 การสง่ เสรมิ ความประพฤตินกั เรยี นและนกั ศกึ ษา

มาตรา 64 นกั เรยี นและนกั ศึกษาตอ้ งประพฤติตนตามระเบยี บของโรงเรยี นหรือ
สถานศกึ ษาและตามท่กี าหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 65 นกั เรียนหรือนกั ศึกษาผูใ้ ดฝ่ าฝื นมาตรา 64 ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ที่
ปฏิบัติตามระเบียบที่รฐั มนตรีกกาหนด และมีอานาจนาตวั ไปมอบแก่ผูบ้ ริหาร
โรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษาของนกั เรยี นหรอื นกั ศึกษานนั้ เพ่ือดาเนินการสอบถามและ
อบรมสงั่ สอนหรอื ลงโทษตามระเบียบ ในกรณีท่ีไม่สามารถนาตวั ไปมอบไดจ้ ะแจง้
ดว้ ยวาจาหรอื เป็นหนงั สอื ก็ได้
หมวด 9 บทกาหนดโทษ

มาตรา 78 ผูใ้ ดฝ่ าฝืนมาตรา 26 ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กิน 3 เดือน หรือปรบั
ไม่เกิน 30,000 บาท หรอื ทงั้ จาทงั้ ปรบั

กฎหมายการศกึ ษา 59

ประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 295 ผูใ้ ดทารา้ ยผูอ้ ืน่ จนเป็ นเหตุใหเ้ กิดอนั ตรายแก่กายหรอื จิตใจของ

ผอู้ นื่ นน้ั ผูน้ นั้ กระทาความผิดฐานทารา้ ยร่างกาย ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไม่เกิน 2 ปี
หรอื ปรบั ไม่เกนิ 40,000 บาท หรอื ทง้ั จาทงั้ ปรบั

มาตรา 391 ผูใ้ ดใชก้ าลงั ทารา้ ยผูอ้ น่ื โดยไม่ถึงกบั เป็ นเหตุใหเ้ กิดอนั ตรายแก่
กายหรอื จติ ใจ ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 เดือน หรอื ปรบั ไม่เกิน 10,000 บาท
หรอื ทงั้ จาทง้ั ปรบั

การลงโทษนักเรียน

60 กฎหมายการศกึ ษา

การลงโทษนกั เรยี น

กฎหมายการศึกษา 61 วิน ัยข ้าราชการ

วินยั ขา้ ราชการ

ความหมาย
กฎระเบยี บตา่ ง ๆ ที่วางหลกั ข้ึนมาเป็ นกรอบควบคมุ ใหข้ า้ ราชการปฏิบตั ิหนา้ ที่

และกาหนดแบบแผนความประพฤติของขา้ ราชการ เพ่ือใหข้ า้ ราชการประพฤติปฏิบตั ิ
หนา้ ที่ราชการเป็ นไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย โดยกาหนดให้ขา้ ราชการวางตัวให้
เหมาะสมเพอ่ื ใหบ้ รรลจุ ดุ มงุ่ หมายขององคก์ รขา้ ราชการ

ขอ้ กาหนดวินยั
มาตรา 80
ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ตอ้ งรกั ษาวนิ ยั โดยกระทาการหรอื ไม่กระทาการตามท่ี

บญั ญตั ิไวใ้ นหมวดน้ีโดยเครง่ ครดั อยูเ่ สมอ
ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ผปู้ ฏบิ ตั ิราชการในต่างประเทศ นอกจากจะตอ้ งรกั ษา

วนิ ยั ตามทไี่ ดบ้ ญั ญตั ไิ วใ้ นหมวดน้ี แลว้ ตอ้ งรกั ษาวินยั โดยกระทาการหรอื ไม่กระทา
การตามท่กี าหนดในกฎ ก.พ.ดว้ ย

มาตรา 81
ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ตอ้ งสบบั สนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็ นประมขุ ดว้ ยความบรสิ ทุ ธิ์ใจ
มาตรา 82
ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ตอ้ งกระทาการอนั เป็นขอ้ ปฏบิ ตั ิ ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ตอ้ งปฏบิ ตั ิหนา้ ท่รี าชการดว้ ยความซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ และเท่ียงธรรม
2. ตอ้ งปฏิบตั ิหนา้ ที่ราชการใหเ้ ป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบยี บของทางราชการ
มตขิ องคณะรฐั มนตรี นโยบายของรฐั บาลและปฏิบตั ิตามระเบียบแบบแผนของทาง
ราชการ

วนิ ยั ขา้ ราชการ 62 กฎหมายการศึกษา

3. ตอ้ งปฏิบตั ิหนา้ ที่ราชการใหเ้ กิดผลดีหรือความกา้ วหนา้ แก่ราชการ ดว้ ย
ความตงั้ ใจ อตุ สาหะ เอาใจใส่และรกั ษาประโยชนข์ องทางราชการ

4. ตอ้ งปฏิบตั ิตามคาสงั่ ของผูบ้ งั คบั บญั ชา ซึง่ สงั่ ในหนา้ ที่ราชการโดยชอบดว้ ย
กฎหมายและระเบียบของทางราชการ โดยไมข่ ดั ขืนหรอื หลีกเล่ยี ง

5. ตอ้ งอทุ ิศเวลาของตนใหแ้ ก่ราชการ จะละท้งิ หรอื ทอดท้ิงหนา้ ท่ีราชการมิได้
6. ตอ้ งรกั ษาความลบั ของทางราชการ
7. ตอ้ งสภุ าพเรยี บรอ้ ย รกั ษาความสามคั คี และตอ้ งชว่ ยเหลือกนั ในการปฏิบตั ิ
ราชการระหวา่ งขา้ ราชการดว้ ยกนั และผรู้ ว่ มปฏบิ ตั ิราชการ
8. ตอ้ งตอ้ นรบั ใหค้ วามสะดวก ใหค้ วามเป็ นธรรม และใหก้ ารสงเคราะห์แก่
ประชาชนผมู้ าติดต่อราชการเกี่ยวกบั หนา้ ทขี่ องตน
9. ตอ้ งวางตัวเป็ นกลางทางการเมืองในการปฏิบตั ิหนา้ ที่ราชการ และในการ
ปฏิบตั ิการอน่ื ทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั ประชาชน
10. ตอ้ งรกั ษาชือ่ เสยี งของตน และรกั ษาเกียรติศกั ดิข์ องตาแหนง่ หนา้ ท่ีราชการ
ของตนมิใหเ้ สื่อมเสยี
11. กระทาการอนื่ ใดตามที่กาหนดในกฎ ก.พ.
มาตรา 83
ขา้ ราชการพลเรอื นสามยั ตอ้ งไม่กระทาการใดอนั เป็นขอ้ หา้ ม ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ตอ้ งไม่รายงานเทจ็ ตอ่ ผูบ้ งั คบั บญั ชา การรายงานโดยปกปิ ดขอ้ ความซึง่ ควร
ตอ้ งแจง้ ถือวา่ เป็นการรายงานเทจ็ ดว้ ย
2. ตอ้ งไมป่ ฏิบตั ิราชการอนั เป็นการกระทาการขา้ มผูบ้ งั คบั บญั ชาเหนอื ตน
3. ตอ้ งไม่อาศัยหรือยอมใหผ้ ู้อื่นอาศัยตาแหน่งหนา้ ที่ราชการของตนหา
ประโยชนใ์ หแ้ กต่ นเองหรอื ผอู้ นื่
4. ตอ้ งไมป่ ระมาทเลนิ เล่อในหนา้ ทีร่ าชการ
5. ตอ้ งไมก่ ระทาการหรอื ยอมใหผ้ ูอ้ นื่ กระทาการหาประโยชน์ อนั อาจทาใหเ้ สีย
ความเทย่ี งธรรม หรอื เสือ่ มเสียเกียรตศิ กั ดิ์ของตาแหน่งหนา้ ทร่ี าชการของตน

กฎหมายการศึกษา 63 วิน ัยข ้าราชการ

6. ตอ้ งไม่เป็ นกรรมการผูจ้ ดั การ หรอื ผูจ้ ดั การ หรอื ดารงตาแหน่งอน่ื ใด ท่ีมี
ลกั ษณะงานคลา้ ยคลึงกนั นน้ั ในหา้ งหนุ้ ส่วนหรอื บรษิ ทั

7. ตอ้ งไม่กระทาการอย่างใดท่ีเป็ นการกลนั่ แกลง้ กดข่ีหรอื ข่มเหงกนั ในการ
ปฏิบตั ิราชการ

8. ตอ้ งไม่กระทาการอนั เป็นการลว่ งละเมิดหรือคุกคามทางเพศ ตามที่กาหนด
ในกฎ ก.พ.

9. ตอ้ งไมด่ หู ม่ิน เหยยี ดหยาม กดข่ี หรอื ข่มเหง ประชาชนผูต้ ิดต่อราชการ
10. ไมก่ ระทาการอนื่ ใดตามทีก่ าหนดในกฎ ก.พ.
มาตรา 85
การกระทาผดิ วนิ ยั ในลกั ษณะดงั ต่อไปน้ี เป็นความผดิ วนิ ยั อย่างรา้ ยแรง
1. ปฏิบัติหรือละเวน้ การปฏิบัติหนา้ ที่ราชการโดยมิชอบ เพ่ือใหเ้ กิดความ
เสยี หายอยา่ งรา้ ยแรงแกผ่ ูห้ น่งึ ผใู้ ด หรอื ปฏบิ ตั ิ หรอื ละเวน้ การปฏิบตั ิหนา้ ท่ีราชการ
โดยทจุ รติ
2. ละท้ิงหรอื ทอดท้ิงหนา้ ทร่ี าชการโดยไม่มีเหตุอนั สมควร เป็ นเหตุใหเ้ สียหาย
แกร่ าชการอย่างรา้ ยแรง
3. ละท้งิ หนา้ ท่รี าชการตดิ ต่อในคราวเดยี วกนั เป็นเวลาเกิน 15 วนั โดยไม่มีเหตุ
อนั สมควร หรอื โดยมีพฤติการณ์อนั แสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบตั ิตามระเบียบของ
ทางราชการ
4. กระทาการอนั ไดช้ ่อื วา่ เป็ นผูป้ ระพฤติชว่ั อย่างรา้ ยแรง
5. ดหู มิ่น เหยยี ดหยาม กดขี่ ขม่ เหง หรอื ทารา้ ยรา่ งกายประชาชน ผูม้ าติดต่อ
ราชการอย่างรา้ ยแรง
6. กระทาความผิดอาญา จนไดร้ บั โทษจาคุกหรือโทษท่ีหนกั กวา่ จาคกุ โดยคา
พิพากษาถึงที่สุดใหจ้ าคุกหรอื ใหร้ บั โทษท่ีหนกั กว่าจาคกุ เวน้ แต่เป็ นโทษสาหรบั
ความผิดทไ่ี ดก้ ระทาโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหุโทษ

64 กฎหมายการศึกษา

7. ละเวน้ การกระทาหรอื กระทาการใด ๆ อนั เป็ นการไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 82
หรอื ฝ่ าฝืนขอ้ หา้ มตามมาตรา 83 อนั เป็นเหตใุ หเ้ สยี หายแกร่ าชการอยา่ งรา้ ยแรง

8. ละเวน้ การกระทาหรอื กระทาการใด ๆ อนั เป็ นการไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 80
วรรคสอง และมาตรา 82(11) หรอื ฝ่ าฝืนขอ้ หา้ มตามมาตรา 83 (10) ท่ีมี กฎ ก.พ.
กาหนดใหเ้ ป็นความผดิ วนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรง

การโทษทางวนิ ยั

ขา้ ราชการพลเรอื นกระทาผิดวนิ ยั จะตอ้ งไดร้ บั โทษทางวนิ ยั เวน้ แต่มีเหตุอนั ควร

งดโทษ ตามทบี่ ญั ญตั ไิ วใ้ นพระราชบญั ญตั ิระเบียบขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

หมวด 7 การดาเนินการทางวนิ ยั ซง่ึ โทษทางวนิ ยั ไดก้ าหนดไวใ้ นมาตรา 88 โดยมี 5

สถาน ดงั ต่อไปน้ี

วนิ ยั ขา้ ราชการ 1. ภาคทณั ฑ์ 2. ตดั เงินเดือน

3. ลดเงินเดือน 4. ปลดออก

5. ไล่ออก

ขอ้ ควรรเู้ ก่ยี วกบั วินยั ขา้ ราชการ
1. ความผิดทางวินัยไม่มีอายุความ แมจ้ ะกระทาผิดวินยั ไวน้ านเท่าใด หาก

ตรวจสอบพบกส็ ามารถดาเนนิ การทางวนิ ยั และลงโทษไดเ้ สมอ
2. การลงโทษทางวนิ ยั ตอ้ งดาเนนิ การตามกระบวนการทางกฎหมาย เชน่ ตอ้ งมี

การสอบสวน การแจง้ ขอ้ กล่าวหาและสรปุ พยานหลกั ฐานที่สนบั สนุนขอ้ กล่าวหาใหผ้ ู้
ถูกกลา่ วหาทราบ และใหโ้ อกาสผูถ้ กู กลา่ วหาช้แี จงแกข้ อ้ กล่าวหา

3. ผูส้ ง่ั ลงโทษตอ้ งเป็ นผบู้ งั คบั บญั ชาซงึ่ มีอานาจสงั่ บรรจตุ ามมาตรา 57
4. สภาพการเป็นขา้ ราชการ กรณจี ะเป็นความผดิ วนิ ยั จะตอ้ งกระทาผิดในขณะที่
เป็ นขา้ ราชการ จะนาเหตทุ ีเ่ คยกระทาผดิ ก่อนเป็นขา้ ราชการมาลงโทษทางวนิ ยั ไม่ได้

กฎหมายการศกึ ษา 65 จรรยาบรรณวิชาชีพค ูร

จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู

ความหมาย
กฎแห่งความประพฤติสาหรบั สมาชิกวชาชพี ครูซง่ึ องคก์ รวชิ าชพี ครูเป็นผกู้ าหนด

และสมาชิกในวิชาชีพทุกคนตอ้ งถือปฏิบตั ิโดยเครง่ ครดั หากมีการละเมิดจะมีการ
ลงโทษ

ลกั ษณะของจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู
1. เป็ นคามน่ั สญั ญาหรอื พนั ธะผูกพนั ตอ่ ผเู้ รยี น (Commitment to the

student)
2. เป็นคามน่ั สญั ญาหรอื พนั ธะผกู พนั ตอ่ สงั คม (Commitment to the society)
3. เป็ นคามน่ั สญั ญาหรอื พนั ธะผกู พนั ต่อวชิ าชีพ (Commitment to the

profession)
4. เป็ นคามน่ั สญั ญาหรอื พนั ธะผกู พนั ต่อสถานปฏิบตั ิงาน (Commitment to

the employment practice)

ขอ้ บงั คบั ครุ สุ ภาว่าดว้ ยจรรยาบรรณของวิชาชพี พ.ศ. 2556
จรรยาบรรณวชิ าชพี ครมู ี 5 หมวด 9 ขอ้

หมวด 1 จรรยาบรรณต่อตนเอง
ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาตอ้ งมีวินยั ในตนเองพฒั นาตนเองดา้ นวิชาชีพ
บุคลิกภาพและวิสยั ทัศน์ใหท้ ันต่อการพฒั นาทางวิทยาการเศรษฐกิจสังคมและ
การเมอื งอย่เู สมอ
หมวด 2 จรรยาบรรณต่อวชิ าชพี
ผูป้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษาตอ้ งรกั ศรทั ธาซอื่ สตั ยส์ ุจรติ รบั ผิดชอบตอ่ วชิ าชพี
และเป็นสมาชกิ ท่ดี ีขององคก์ รวชิ าชพี

จรรยาบรรณวชิ าชีพครู 66 กฎหมายการศกึ ษา

หมวด 3 จรรยาบรรณต่อผรู้ บั บรกิ าร
ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาตอ้ งรกั เมตตาเอาใจใส่ช่วยเหลือส่งเส รมิ ให้
กาลงั ใจแก่ศิษยแ์ ละผูร้ บั บรกิ ารตามบทบาทหนา้ ท่ีโดยเสมอหนา้
ผูป้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษาตอ้ งส่งเสรมิ ใหเ้ กิดการเรยี นรูท้ ักษะและนิสยั ท่ี
ถกู ตอ้ งดีงามแก่ศิษยแ์ ละผูร้ บั บรกิ ารตามบทบาทหนา้ ท่ีอย่างเต็มความสามารถดว้ ย
ความบรสิ ทุ ธ์ใิ จ
ผูป้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษาตอ้ งประพฤตปิ ฏิบตั ิตนเป็นแบบอย่างทดี่ ีทง้ั ทาง
กายวาจาและจติ ใจ
หมวด 4 จรรยาบรรณต่อผรู้ ่วมประกอบวชิ าชพี
ผูป้ ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษาซง่ึ ชว่ ยเหลอื เก้ือกูลซง่ึ กนั และกนั อยา่ งสรา้ งสรรค์
โดยยึดมนั่ ในระบบคณุ ธรรมสรา้ งความสามคั คใี นหมคู่ ณะ
หมวด 5 จรรยาบรรณต่อสงั คม
ผูป้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษาพึงประพฤติปฏิบตั ิตนเป็ นผูน้ าในการอนุรกั ษ์
พฒั นาเศรษฐกิจสังคมศาสนาศิลปะวฒั นธรรมภูมิปัญญาส่ิงแวดล้อมรักษา
ผลประโยชน์ของส่วนรวมและยึดม่นั ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข

ขอบคณุ ครบั


Click to View FlipBook Version