The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thongchai.aoy, 2021-03-23 01:39:43

E-book กฏหมายการศึกษา

เล่ม e-book

กฎหมายการศกึ ษา

เรียบเรียงโดย

ธงชยั ออ้ ยหวาน

หนงั สอื เล่มน้จี ดั ทาโดย

นายธงชยั ออ้ ยหวาน 604150617
นกั ศึกษาขน้ั ปีที่ 4

สาขาคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี

คานา

หนงั สอื เลม่ น้ีจดั ทาข้ึนเพือ่ ประกอบการเรียนในรายวชิ ากฎหมายการศึกษา
(1064104) โดยมีจดุ ประสงคเ์ พือ่ ศกึ ษาความรูจ้ ากกฎหมายการศกึ ษา ระเบียบและ
ขอ้ ปฏบิ ตั ิในส่วนราชการไทย มาใชป้ ระกอบสาหรบั การนาไปจดั การเรียนการสอน
ซงึ่ มีเน้ือหาความรูท้ างดา้ นกฎหมาย ประกอบดว้ ย บทบญั ญตั ิดา้ นการศึกษาตาม
รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560 แผนการศึกษาแห่งชาติ
2560-2579 การศกึ ษาตามความถนดั กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
(กสศ.) พระราชบญั ญตั ิขอ้ มูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 การจดั การศึกษาท่ี
เนน้ ผูเ้ รียนเป็ นสาคญั กฎหมายและระเบียบขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา ระเบียบสานักนายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยการลาของขา้ ราชการ พ.ศ.2555
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าดว้ ยการพานักเรียนและนักศึกษาไปนอก
สถานศกึ ษา การลงโทษนกั เรยี น วนิ ยั ขา้ ราชการ และจรรยาบรรณวชิ าชีพครู

ผูจ้ ดั ทามีความหวงั วา่ หนงั สือ กฎหมายการศึกษา จะเป็นประโยชนต์ อ่ ผทู้ ีไ่ ด้
ทาการศึกษากฎหมายการศึกษาและจะเป็ นประโยชนแ์ ก่ผูท้ ่ีสนใจทุก ๆ ท่าน ใน
หนงั สือเลม่ น้ี หากผิดพลาดประการใดผจู้ ดั ทาขออภยั มาใน ณ ท่ีน้ี

ผูจ้ ดั ทา
นายธงชยั ออ้ ยหวาน



สารบญั หนา้

คานา 1
สารบญั
บทบญั ญตั ดิ า้ นการศึกษาตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย 5
พุทธศกั ราช 2560 13
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ 2560 - 2579 17
การศกึ ษาตามความถนดั 23
กองทุนเพ่อื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา (กสศ.) 31
พระราชบญั ญตั ขิ อ้ มูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 35
การจดั การศึกษาท่เี นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคญั 43
กฎหมายและระเบียบขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการลาของขา้ ราชการ 51
พ.ศ.2555
ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการวา่ ดว้ ยการพานกั เรยี นและนกั ศึกษาไป 57
นอกสถานศึกษา 61
การลงโทษนกั เรยี น 65
วนิ ยั ขา้ ราชการ
จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู



กฎหมายการศึกษา 1 บทบัญญัติด้านการศึกษาตามรัฐธรรม ูนญแห่งราชอาณาจักรไทย

บทบญั ญตั ดิ า้ นการศกึ ษาตามรฐั ธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560

รฐั ธรรมนญู ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560
รฐั ธรรมนูญราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 ที่เก่ียวขอ้ งกบั การศึกษา มี
ทงั้ หมด 3 หมวด 4 มาตรา ดงั น้ี

หมวด 4 มาตรา 4 (4)
หมวด 5 มาตรา 54 วรรคหนงึ่ ถึงวรรคหก
หมวด 16 มาตรา 258 จ (1) ถึง (4)

มาตรา 261 วรรคหนง่ึ ถงึ วรรคสอง
หมวดที่ 4 หนา้ ทข่ี องปวงชนชาวไทย

มาตรา 50 บุคคลมีหนา้ ทดี่ งั ต่อไปน้ี
- เขา้ รบั การศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบงั คบั

หมวดที่ 5 หนา้ ท่ีของรฐั
มาตรา 54 รฐั ตอ้ งดาเนินการใหเ้ ด็กทุกคนไดร้ บั การศึกษาเป็ นเวลาสิบสองปี

ตงั้ แต่วยั เรยี นจนจบการศกึ ษาภาคบงั คบั อย่างมคี ณุ ภาพโดยไมเ่ กบ็ ค่าใชจ้ า่ ย
- รฐั ตอ้ งดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพฒั นาก่อนเข้ารับ

การศึกษาตามวรรคหนึง่
- เพ่ือพฒั นารา่ งกาย จิตใจ วนิ ยั อารมณ์ สงั คม และสติปัญญาใหส้ มกบั

วยั โดยสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหอ้ งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินและภาคเอกชนเขา้ มีส่วน
รว่ มในการดาเนินการดว้ ย

- รฐั ตอ้ งดาเนินการใหป้ ระชาชนไดร้ บั การศึกษาตามความตอ้ งการในระบบ
ต่าง ๆ รวมทงั้ ส่งเสรมิ ใหม้ ีการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ และจดั ใหม้ กี ารร่วมมอื กนั ระหว่างรฐั
องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินภาคเอกชนในการจดั การศกึ ษาทุกระดบั

บทบญั ญตั ดิ า้ นการศกึ ษาตามรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย 2 กฎหมายการศึกษา

- โดยรฐั มีหน้าท่ีดาเนินการกากับ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจดั
การศึกษาดงั กล่าวมีคณุ ภาพไดม้ าตรฐานสากลทงั้ น้ี ตามกฎหมาย วา่ ดว้ ยการศึกษา
แหง่ ชาตซิ ง่ึ อยา่ งนอ้ ยตอ้ งมีบทบญั ญตั เิ กยี่ วกบั การจดั ทาแผนการศึกษาแห่งชาติและ
การดาเนนิ การและตรวจสอบการดาเนินการใหเ้ ป็ นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติ
ดว้ ย

- การศึกษาทงั้ ปวงตอ้ งมุ่งมนั่ พัฒนาผูเ้ รียนใหเ้ ป็ นคนดี มีวินยั ภูมิใจใน
ชาติ สามารถเชีย่ วชาญไดต้ ามความถนดั ของตน และมีความรบั ผิดชอบต่อครอบครวั
ชมุ ชน สงั คมและประเทศชาติ

- ในการดาเนินการใหเ้ ดก็ เลก็ ไดร้ บั การดูแลและพฒั นาตามวรรคสอง หรอื
ใหป้ ระชาชนไดร้ บั การศึกษาตามวรรคสาม รฐั ตอ้ งดาเนินการใหผ้ ูข้ าดแคลนทนั
ทรพั ยไ์ ดร้ บั การสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยในการศกึ ษาตามความถนดั ของตน
หมวดท่ี 16 การปฏริ ปู ประเทศ

มาตรา 258 ใหด้ าเนินการปฏิรูปประเทศอย่างนอ้ ยในดา้ นต่าง ๆ ใหเ้ กิดผล
ดงั ต่อไปน้ี

จ. ดา้ นการศึกษา
- ใหส้ ามารถเรมิ่ ดาเนนิ การใหเ้ ดก็ เล็กไดร้ บั การดแู ลและพฒั นาก่อนเขา้ รบั
การศกึ ษา ตามมาตรา 54 วรรคสอง เพือ่ ใหเ้ ดก็ เล็กไดร้ บั การพฒั นาร่างกาย จิตใจ
วนิ ยั อารมณ์ สงั คม และสติปัญญาใหส้ มกบั วยั โดยไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย
- ใหด้ าเนนิ การตรากฎหมายเพอื่ จดั ตงั้ กองทนุ ตามมาตรา 54 วรรคหก ให้
แลว้ เสรจ็ ภายในหน่ึงปี นบั แต่วนั ประกาศใชร้ ฐั ธรรมนญู น้ี
- ใหม้ กี ลไกและรบั บการผลิต คดั กรองและพฒั นาผูป้ ระกอบวชิ าชีพครูและ
อาจารย์ ใหไ้ ดผ้ ูม้ ีจติ วญิ ญาณของความเป็ นครู มีความรูค้ วามสามารถอย่างแทจ้ ริง
ไดร้ บั คา่ ตอบแทนท่ีเหมาะสมกบั ความสามารถและประสิทธภิ าพในการสอน รวมทงั้ มี
กลไกสรา้ งระบบคณุ ธรรมในการบรหิ ารงานบุคคลของผูป้ ระกอบวชิ าชพี ครู

กฎหมายการศึกษา 3 บทบัญญัติด้านการศึกษาตามรัฐธรรม ูนญแห่งราชอาณาจักรไทย

- ปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นการสอนทกุ ระดบั เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นสามารถเรียนได้
ตามความถนดั และปรบั ปรงุ โครงสรา้ งของหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งเพ่ือบรรลุเป้ าหมาย
ดงั กล่าว โดยสอดคลอ้ งกนั ทง้ั ในระดบั ชาตแิ ละระดบั พ้ืนที่

มาตรา 261 ในการปฏริ ูปตามมาตรา 258
จ.ดา้ นการศึกษา
- ใหม้ ีคณะกรรมการที่มีความเป็ นอสิ ระคณะหน่ึงท่ีคณะรฐั มนตรีแต่งตั้ง

ดาเนินการศึกษาและจดั ทาขอ้ เสนอแนะและร่างกฎหมาย ท่ีเกี่ยวข้องในการ
ดาเนินการใหบ้ รรลเุ ป้ าหมายเพือ่ เสนอคณะรฐั มนตรดี าเนินการต่อไปน้ี

- ใหค้ ณะรฐั มนตรแี ต่งตงั้ คณะกรรมการตามวรรคหน่ึงใหแ้ ลว้ เสร็จภายใน
ทุกสบิ วนั นบั แตว่ นั ประกาศใชร้ ฐั ธรรมนูญน้ี และใหค้ ณะกรรมการดาเนินการศึกษา
และจดั ทาขอ้ เสนอแนะและรา่ งกฎหมายใหแ้ ลว้ เสรจ็ และเสนอต่อคณะรฐั มนตรีภายใน
สองปีนบั แต่วนั ท่ไี ดร้ บั แต่งตงั้

4 กฎหมายการ ึศกษา

บทบญั ญตั ดิ า้ นการศกึ ษาตามรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย

กฎหมายการศกึ ษา 5 แผนการศึกษาแห่งชาติ

แผนการศกึ ษาแห่งชาติ 2560-2579

ความหมายของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ
เป็ นการวางกรอบเป้ าหมายและทิศทางการจดั การศึกษาของประเทศในการ

พฒั นาสกั ยาภาพและขีดความสามารถของคนไทยทุกช่วงวยั ใหเ้ ต็มตามศกั ยภาพ
สามารถแสวงหาความรแู้ ละเรยี นรไู้ ดด้ ว้ ยตนเองอย่างต่อเน่อื งตลอดชีวติ

สภาวการณแ์ ละบรบิ ทแวดลอ้ มทมี่ ผี ลต่อการพฒั นาการศกึ ษาของประเทศ
1. ความกา้ วหนา้ ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารแบบกา้ วกระโดดที่

ส่งผลตอ่ ระบบเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศภมู ภิ าคและของโลก
- การปฏวิ ตั ดิ จิ ทิ ลั ต่อการเปล่ียนแปลงการปฏวิ ตั ิอตุ สาหกรรม 4.0
- ผลกระทบของการเป็ นประชาคมอาเซียนต่อระบบเศรษฐกิจสงั คม
วฒั นธรรมและการเมืองและความมน่ั คง
- สญั ญาประชาโลก
- การปรบั เปล่ียนเศรษฐกจิ และสงั คมใหพ้ รอ้ มรองรบั ประเทศไทยยคุ 4.0

2.การเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งประชากร
- สถานการณส์ งั คมสูงวยั ในประเทศไทย

3. สภาวการณก์ ารเปล่ยี นแปลงของโลก
- การเปล่ยี นแปลงทางธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มทีท่ วคี วามรุนแรงมากข้นึ
- แนวโนม้ ความขดั แยง้ และความรนุ แรงในสงั คม
- การเปลีย่ นแปลงดา้ นการสาธารณสขุ
- ความเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยดี ิจทิ ลั กบั การดารงชวี ติ

แผนการศกึ ษาแห่งชาติ 6 กฎหมายการศกึ ษา

4. ทกั ษะของประชากรในศตวรรษท่ี 21 : ความตอ้ งการกาลงั คนยคุ 4.0
3RS ประกอบดว้ ย อา่ นออก,เขยี นได,้ คดิ เลขเป็น
8CS ประกอบดว้ ย ทกั ษะดา้ นการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณและทกั ษะในการ

แกป้ ัญหา,ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์และนวตั กรรม,ทกั ษะด้านความเขา้ ใจต่าง
วฒั นธรรมตา่ งกระบวนทศั น,์ ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื การทางานเป็นทมี และภาวะผนู้ า
,ทกั ษะด้านการสื่อสารสารสนเทศและรูเ้ ท่าทันสื่อ,ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร,ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู,้ ความมีเมตตา
กรุณาวนิ ยั คณุ ธรรมจรยิ ธรรม

ผลการพฒั นาการศกึ ษาไทยปี 2552 - 2558
ดา้ นโอกาสทางการศกึ ษา
รฐั มีนโยบายส่งเสริมสนับสนุนโอกาสทางการศึกษาค่อนขา้ งมากส่งผลให้

ประชากรในวยั เรยี นรวมทง้ั เด็กดอ้ ยโอกาสและผูม้ คี วามตอ้ งการจาเป็นพิเศษมีโอกาส
ไดร้ บั การศึกษาสูงข้นึ แต่ยงั เขา้ เรยี นไดไ้ ม่ครบทุกคนและมีปัญหาการออกกลางคนั
อยบู่ า้ ง

ดา้ นคณุ ภาพการศกึ ษา
ผลการพฒั นายงั ไม่เป็ นท่ีน่าพึงพอใจเน่ืองจากผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนระดับ
การศึกษาขน้ั พ้ืนฐานมีคะแนนตา่ กว่าค่าเฉล่ียมากและตา่ กวา่ หลายประเทศในแถบ
เอเชียส่วนประเด็นคุณธรรมจริยธรรมของเด็กและเยาวชนยังตอ้ งมีการพัฒ นา
เพ่ิมข้ึนนอกจากน้ีคุณภาพของกาลงั แรงงานอายุ 15 ปี ข้ึนไปยังไม่ตรงกบั ความ
ตอ้ งการของตลาดงาน

กฎหมายการศกึ ษา 7 แผนการศึกษาแห่งชาติ

ดา้ นประสทิ ธิภาพของการจดั การเรยี นการสอนการบริหารจดั การ และการใช้
จา่ ยงบประมาณทางการศกึ ษา

ซง่ึ เป็ นปัญหาเชิงโครงสรา้ งและระบบการจดั การที่ตอ้ งไดร้ บั การปรบั ปรุงเป็ น
ลาดบั แรกโดยเฉพาะการบริหารจดั การสถานศึกษาขนาดเล็กซึ่งมีอยู่จานวนมาก
ส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคสว่ นในการจดั และสนบั สนนุ การศกึ ษาเพื่อลดภาระ
ค่าใชจ้ ่ายของภาครัฐและปฏิรูประบบการเงินเพื่อการศึกษาเพ่ือใหส้ ถานศึกษา
สามารถบรหิ ารจดั การศกึ ษาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพตอ่ ไป

กรอบแนวคดิ แผนการศกึ ษาแห่งชาติ
วิสยั ทศั น์ “คนไทยทกุ คนไดร้ บั การศกึ ษาและเรยี นรูต้ ลอดชีวิตอย่างมีคณุ ภาพ

ดารงชีวิตอย่างเป็ นสุขสอดคลอ้ งกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงแ ละการ
เปล่ยี นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21”

แผนการศกึ ษาแห่งชาติ 8 กฎหมายการศกึ ษา

6 ยุทธศาสตรข์ องแผนการศกึ ษาแห่งชาติ
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1: การจดั การศกึ ษาเพอื่ ความมน่ั คงของสงั คมและประเทศชาติ
คนทุกช่วงวยั มีความรกั ในสถาบันหลกั ของชาติและยึดนนั่ การปกครอง
ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ
คนทกุ ช่วงวยั ในเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละพ้ืนที่
พเิ ศษไดร้ บั การศกึ ษาและเรยี นรอู้ ย่างมีคณุ ภาพ
คนทุกช่วงวยั ไดร้ บั การศึกษาการดูแลและป้ องกนั จากภัยคุกคามในชีวิต
รูปแบบใหม่
ยุทธศาสตรท์ ่ี 2: การผลติ และพฒั นากาลงั คนการวิจยั และนวตั กรรรมเพอื่ สรา้ ง

ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
กาลงั คนมที กั ษะท่ีสาคญั จาเป็ นและมีสมรรถนะตรงตามความตอ้ งการของ

ตลาดงานและการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ
สถาบนั การศึกษาและหน่วยงานที่จดั การศึกษาผลิตบัณฑิตที่มคี วาม

เช่ียวชาญและเป็นเลิศเฉพาะดา้ น
การวจิ ยั และพฒั นาเพือ่ สรา้ งองคค์ วามรูแ้ ละนวตั กรรมที่สรา้ งผลผลิตและ

มูลคา่ เพ่มิ ทางเศรษฐกิจ
ยุทธศาสตรท์ ี่ 3: การพฒั นาศกั ยภาพคนทุกช่วงวยั และการสรา้ งสงั คมแห่งการ
เรยี นรู้

ผูเ้ รียนมีทักษะและคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทยและทักษะและ
คณุ ลกั ษณะท่จี าเป็ นในศตวรรษที่ 1

คนทุกช่วงวยั มีทักษะความรูค้ วามสามารถและสมากนะตามมาตรฐาน
การศกึ ษาและมาตรฐานวชิ าชพี และพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ไดต้ ามศกั ยภาพ

สถานศึกษาทกุ ระดบั การศกึ ษาสามารถจดั กิจกรรม / กระบวนการเรยี นรู้
ตามหลกั สูตรอยา่ งมีคณุ ภาพและมาตรฐาน

กฎหมายการศึกษา 9 แผนการศึกษาแห่งชาติ

แหล่งเรียนรูส้ ื่อตาราเรียนนวตั กรรมและส่ือการเรียนรูม้ ีคุณภาพและ
มาตรฐานและประชาชนสามารถเขา้ ถึงไดโ้ ดยไม่จากดั เวลาและสถานท่ี

ระบบและกลไกการวดั การติดตามและประเมินผลมปี ระสิทธภิ าพ
ระบบการผลิตครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาไดม้ าตรฐานระดับ
สากล
ครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาไดร้ บั การพฒั นาสมรรถนะตาม
มาตรฐาน
ยุทธศาสตร์ที่ 4: การสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมทาง
การศกึ ษา
ผูเ้ รียนทุกคนไดร้ บั โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศึกษาที่มี
คณุ ภาพ
การเพมิ่ โอกาสทางการศึกษาผา่ นเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพอ่ื การศกึ ษาสาหรบั คน
ทุกชว่ งวยั
ระบบขอ้ มูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุมถูกตอ้ ง
เป็ นปัจจบุ นั เพื่อการวางแผนการบรหิ ารจดั การศึกษาการติดตามประเมินและ
รายงานผล
ยุทธศาสตร์ที่ 5: การจดั การศกึ ษาเพือ่ สรา้ งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็ นมิตรกบั
สง่ิ แวดลอ้ ม
คนทุกช่วงวยั มีจิตสานึกรกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ มมีคุณธรรมจริยธรรมและนา
แนวคดิ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสูก่ ารปฏบิ ตั ิ
หลกั สูตรแหลง่ เรยี นรูแ้ ละส่ือการเรียนรูท้ ี่ส่งเสริมคณุ ภาพชีวิตที่เป็ นมิตร
กบั สิ่งแวดลอ้ มคุณธรรมจริยธรรมและการนาแนวคิดตามหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏบิ ตั ิ
การวจิ ยั เพือ่ พฒั นาองคค์ วามรูแ้ ละนวตั กรรมดา้ นการสรา้ งเสรมิ คุณภาพ
ชวี ติ ทีเ่ ป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม

แผนการศกึ ษาแห่งชาติ 10 กฎหมายการศกึ ษา

ยุทธศาสตรท์ ่ี 6: การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา
โครงสรา้ งบทบาทและระบบการบรหิ ารจดั การการศึกษามีความคล่องตวั

ชดั เจนและสามารถตรวจสอบได้
ระบบการบรหิ ารจดั การศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อ

คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา
ทุกภาคส่วนของสงั คมมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษาที่ตอบสนองความ

ตอ้ งการของประชาชนและพ้นื ท่ี
กฎหมายและรูปแบบการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรทางการศึกษารองรบั

ลกั ษณะทแี่ ตกตา่ งกนั ของผเู้ รยี นสถานศึกษาและความตอ้ งการกาลงั แรงงานของ
ประเทศ

ระบบบรหิ ารงานบุคคลของครูอาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศึกษามีความ
เป็นธรรมสรา้ งขวญั กาลงั ใจและสง่ เสรมิ ใหป้ ฏบิ ตั งิ านไดอ้ ย่างเต็มตามศกั ยภาพ

ปัจจยั ความสาเรจ็ ของการขบั เคลอื่ นแผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579
สาระของแผนการศึกษาแห่งชาติที่มีความชดั เจน ครบถว้ น และครอบคลุมทุก

กลุม่ เป้ าหมายและทกุ ระดบั การศกึ ษา
การมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการพฒั นาแผนการศึกษาแห่งชาติของผูเ้ กี่ยวขอ้ งทุก

ภาคสว่ นตง้ั แต่ระดบั นโยบาย ระดบั ปฏิบตั ิ ผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียและสาธารณชนการ
เผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธแ์ กผ่ เู้ กยี่ วขอ้ ง

การสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั แผนการศึกษาแหง่ ชาติ
การนาแผนการศกึ ษาแห่งชาตสิ ูก่ ารปฏิบตั ิที่ชดั เจนแก่ผูป้ ฏิบตั ิทุกระดบั เพ่ือให้
ทกุ ภาคส่วนไดเ้ ขา้ มามสี ่วนรว่ มในการพฒั นาการจดั การศึกษาของชาติ

กฎหมายการศกึ ษา 11 แผนการศึกษาแห่งชาติ

แนวทางการขบั เคลอื่ นแผนการศกึ ษาแห่งชาติสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
การสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจใหท้ ุกภาคสว่ นไดต้ ระหนกั ถงึ ความสาคญั และพรอ้ ม

เขา้ รว่ มในการผลกั ดนั แผนการศึกษาแห่งชาติการปฏิบตั ิการสรา้ งความเข้าใจกบั
หน่วยงานองคก์ รและภาคที กุ ภาคส่วน ถงึ วสิ ยั ทศั นแ์ ละเป้ าหมายของแผนการศึกษา
แหง่ ชาติ

การสรา้ งความเช่ือมโยงระหว่างแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี นโยบายรฐั บาลแผนพัฒนาการศึกษาระยะ 5 ปี
แผนปฏิบตั ิราชการระยะ 4 ปี และแผนปฏิบัติการประจาปี ของหน่วยงานโดย
สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งรว่ มจดั ทาและติดตาม
ประเมนิ ผลแผนดงั กล่าว

การปรบั ปรงุ กฎระเบียบและกฎหมายต่าง ๆ ใหเ้ อ้อื ต่อการขบั เคลอื่ นการพฒั นา
การศกึ ษาในระดบั ตา่ ง ๆ

การสรา้ งช่องทางใหป้ ระชาสงั คมมีโอกาสแสดงความคิดเห็น และมีส่วนร่วมใน
การจดั การศึกษาอย่างกวา้ งขวางทงั้ ระดบั นโยบาย และระดบั พ้นื ที่

12 กฎหมายการ ึศกษา

แผนการศกึ ษาแห่งชาติ

กฎหมายการศึกษา 13 การศึกษาตามความถนัด

การศกึ ษาตามความถนดั

ความหมาย
การเรียนรูท้ ี่มุ่งเนน้ การพฒั นาทกั ษะความสามารถตามความชอบหรือความ

ถนดั ของนกั เรียน โดยใชจ้ ติ วิทยาเชิงบวกเป็ นตวั ส่งเสรมิ โดยใหค้ วามสาคญั กบั
หลกั การทางจติ วทิ ยาและการอยดู่ มี สี ขุ ทางสงั คมของนกั เรยี นเป็นหลกั

โครงสรา้ งของหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
หลกั สตู รระดบั ประถมศกึ ษา (ชน้ั ประถมศึกษาปี ท่ี 1-6) การศึกษาระดบั น้ีเป็ น

ชว่ งแรกของการศกึ ษาภาคบงั คบั มุง่ เนน้ ทกั ษะพ้ืนฐานดา้ นการอา่ น การเขียน การคิด
คานวณทกั ษะการคดิ พ้นื ฐาน

หลกั สตู รระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1-3) มุ่งเนน้ ใหผ้ ูเ้ รยี น
ไดส้ ารวจความถนดั ส่งเสรมิ การพฒั นาบุคลิกภาพส่วนตนและคดิ แกป้ ัญหามีทกั ษะ
ในการดาเนินชวี ติ มที กั ษะการใชเ้ ทคโนโลยี

หลกั สูตรระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4-6) เนน้ การ
เพมิ่ พูนความรู้ และทกั ษะเฉพาะดา้ นสนองตอบความสามารถความถนดั และความ
สนใจของผเู้ รยี นแตล่ ะคนทง้ั ดา้ นวชิ าการและวชิ าชีพ

หมวด 4 แนวทางการจดั การศกึ ษา
มาตรา 24 การจดั กระบวนการเรยี นรู้
1. จดั เน้ือหาสาระและกิจกรรมใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสนใจและความถนัด
ของผูเ้ รยี น
2. ฝึ กทักษะกระบวนการคิดการจดั การการเผชิญสถานการณ์และการ
ประยุกตค์ วามรู้

การศึกษาตามความถนดั 14 กฎหมายการศกึ ษา

3. จดั กิจกรรมใหผ้ ูเ้ รยี นไดเ้ รยี นรจู้ ากประสบการณจ์ รงิ ฝึกการปฏิบตั ิใหท้ า
ไดค้ ดิ เป็นทาเป็นรกั การอา่ นและเกิดการใฝ่ รูอ้ ยา่ งตอ่ เน่ือง

4. จดั การเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระดา้ นต่างๆอย่างไดส้ ัดส่วน
สมดลุ กนั รวมทงั้ ปลูกฝังคณุ ธรรมคา่ นิยมทดี่ งี าม

5. ส่งเสริมสนบั สนุนผูส้ อนสามารถจดั บรรยากาศสภาพแวดลอ้ มส่ือการ
เรยี นและอานวยความสะดวกเพื่อใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้

6.จดั การเรยี นรใู้ หเ้ กิดข้นึ ไดท้ กุ เวลาทุกสถานทมี่ กี ารประสานความร่วมมือ
กบั บดิ ามารดาผูป้ กครอง

การจดั การเรยี นรทู้ ีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็ นสาคญั
ความหมายดา้ นผเู้ รยี น
คอื กระบวนการเรียนรูท้ ่ีผูเ้ รยี นมีส่วนรว่ มเนน้ การปฏิบตั ิจรงิ ไดพ้ ัฒนา
กระบวนการคดิ มีอสิ ระในการเรยี นรตู้ ามความถนดั และความสนใจสามารถสรา้ ง
องคค์ วามรูไ้ ดด้ ว้ ยตนเองดว้ ยวิธีการและแหล่งเรียนรูท้ ่ีหลากหลายนาความรู้
ประสบการณไ์ ปใชใ้ นชวี ติ ได้
ความหมายดา้ นผจู้ ดั
คอื กระบวนการจดั การเรยี นรูท้ ี่คานึงถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคลการ
เป็ นประโยชนส์ ูงสุดของผเู้ รยี นเป็ นสาคญั การเคารพในศกั ดิ์ศรีสิทธิของผูเ้ รียน
โดยมกี ารวางแผนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรอู้ ยา่ งเป็นนระบบ

ความแตกต่างระหว่างการสอนแบบเดิมกบั การจดั การเรียนรูท้ ่ีเนน้ ผูเ้ รียนเป็ น
ศนู ยก์ ลาง

แบบเดมิ
- เนน้ เน้ือหา
- ผูส้ อน บอก สงั่

กฎหมายการศกึ ษา 15

- การสื่อสารทางเดยี ว การศึกษาตามความถนัด
- ผเู้ รยี นจด จา สอน สืบ
- บรรยากาศปิดกนั้ ความคดิ
- ประเมินเน้ือหา
ผเู้ รยี นเป็ นศูนยก์ ลาง
- เนน้ กระบวนการและผลงาน
- ผูส้ อนสนบั สนุนใหเ้ กดิ การเรยี นรู้
- การสือ่ สารสองทาง
- ผูเ้ รยี นเรยี นรรู้ ว่ มกนั /คน้ ควา้ ความรผู้ า่ น
- กระบวนการคดิ
- บรรยากาศสรา้ งสรรคค์ วามคดิ
- ประเมินกระบวนการและผลงาน

16 กฎหมายการ ึศกษา

การศึกษาตามความถนดั

กฎหมายการศกึ ษา 17 กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา

กองทุนเพอ่ื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา (กสศ.)

กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา จัดตั้งข้ึนตามข้อเสนอของ
คณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา โดยปรากฏในรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.2560 มาตรา 54

ประกาศใชบ้ งั คบั เมื่อวนั ท่ี 14 พฤษภาคม 2561 มีวตั ถุประสงคเ์ พื่อสรา้ งความ
เสมอภาคทางการศึกษา ชว่ ยเหลือผูข้ าดแคลนทนุ ทรพั ย์ ลดความเหล่ือมลา้ ทางการ
ศึกษา รวมทงั้ เสริมสรา้ งและพฒั นาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยใหร้ ัฐเป็ นผู้
จดั สรรงบประมาณใหก้ องทนุ และมกี ารบรหิ ารงานทเ่ี ป็นอสิ ระ

สาเหตขุ องความเหลอื่ มลา้ ในการศกึ ษา
ฐานะทางเศรษฐกจิ หรอื สงั คม
คณุ ภาพหรอื ประสิทธิภาพของครู
คณุ ภพหรอื มาตรฐานของสถานศกึ ษา
*ความยากจนทาใหเ้ ด็กไทยมากกวา่ 5 แสนคน หลุดออกนอกระบบไปแลว้ และ
อกี 2 ลา้ นคน มแี นวโนม้ ทจี่ ะไมไ่ ดเ้ รยี นต่อ

ภารกิจของ กสศ.
กสศ. มภี ารกิจในการชว่ ยเหลือดแู ลกลุ่มเป้ าหมายซง่ึ เป็ นผูข้ าดแคลนทุนทรพั ย์

หรอื ดอ้ ยโอกาสนบั ตง้ั แต่แรกเกิดจนถงึ วยั แรงงานใหไ้ ดร้ บั โอกาสทางการศึกษา
1. สรา้ งเสรมิ องคค์ วามรูแ้ ละบริการจดั การเชิงระบบเพ่ือสรา้ งความเสมอภาค
ทางการศกึ ษา
2. ลงทุนโดยใชค้ วามรนู้ าเพอ่ื ชว่ ยเหลือและสรา้ งคณุ คา่ เพม่ิ แก่กลุ่มเป้ าหมาย

กองทุนเพ่อื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา 18 กฎหมายการศกึ ษา

3. ระดมการมีส่วนรว่ มอย่างสรา้ งสรรคจ์ ากทกุ ภาคส่วน
4. เสนอแนะมาตรการเพ่ือสรา้ งความเปลยี่ นแปลงของนโยบาย

วิสยั ทศั นข์ อง กสศ.
เด็กเยาวชนและประชาชนที่ขาดแคลนทุนทรพั ย์หรอื ดอ้ ยโอกาสทุกคนมีโอกาส

พฒั นาตนเองตามศกั ยภาพและเขา้ ถึงการศึกษาทีม่ คี ณุ ภาพ

กลุม่ เป้ าหมายในการทางานของ กสศ.
ผูข้ าดแคลนทุนทรพั ย์และเขา้ ไม่ถึงโอกาสทางการศึกษา 4.3 ลา้ น โดยการ

ดาเนินงานใน 3 ปีแรก มงุ่ สง่ เสรมิ ใหผ้ ูข้ าดแคลนทนุ ทรพั ย์ สามารถเขา้ ถงึ การศึกษา
ทส่ี อดคลอ้ งกบั ความจาเป็ นรายบุคคลตามศกั ยภาพในทกุ กลมุ่ เป้ ามายควบคู่กบั การ
พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นและหน่วยจดั การเรยี นรู้

การดาเนนิ การของกองทุนเพอ่ื สรา้ งความเสมอภาคทางการศกึ ษา
1. การตรวจสอบหลกั ฐานแสดงตนในการดาเนินการเพื่อช่วยเหลือเด็กและ

เยาวชนซง่ึ ขาดแคลนทนุ ทรพั ยห์ รอื ดอ้ ยโอกาส โดยครอบครวั ที่ขาดแคลนทุนทรพั ย์
จะตอ้ งใหส้ านกั งานกองทุนตรวจสอบหลกั ฐานแสดงตนและจดั ใหม้ ีการรบั รองขอ้ มูล
ดงั กล่าวโดยเจา้ หนา้ ท่ขี องรฐั

2. การจดั ทาระบบฐานขอ้ มูลเพ่ือประโยชนใ์ นการดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ใหส้ านกั งานกองทุนจดั ทาระบบฐานขอ้ มูลเกี่ยวกบั เด็กและเยาวชนซึ่งขาดแคลนทุน
ทรพั ยห์ รอื ดอ้ ยโอกาส โดยครอบครวั ที่ขาดแคลนทุนทรพั ยแ์ ละครู ร่วมดาเนินงาน
กบั หนว่ ยงานท่เี กยี่ วขอ้ ง รวมทง้ั ใหพ้ ฒั นาหรอื ปรบั ปรงุ ระบบฐานขอ้ มลู เป็นระยะ

กฎหมายการศึกษา 19 กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา

3. รายการที่ช่วยเหลอื การช่วยเหลือเด็กและเยาวชนซง่ึ ขาดแคลนทุนทรพั ย์หรือ
ดอ้ ยโอกาสจะมรี ายการขนั้ ตอน ดงั ตอ่ ไปน้ี

3.1 คา่ เล่าเรยี น
3.2 ค่าใชจ้ ่ายท่ีเก่ียวเน่ืองกบั การศึกษาซ่ึงรวมถึงค่าใชจ้ า่ ยในการเตรียม
ความพรอ้ มของเด็กเพ่อื ใหส้ ามารถกลบั เขา้ สู่ระบบการศึกษา
3.3 ค่าครองชีพซ่ึงรวมถึงค่าเล้ียงดูเด็กเล็กสาหรบั ครอบครวั ค่าใชจ้ ่าย
เดินทางมาเรยี นและอาหาร คา่ ครองชีพระหวา่ งเรียน และคา่ ใชจ้ ่ายในการ
ฝึ กอบรม
3.4. ทุนเพอื่ การฝึ กอบรมซึง่ รวมถึงค่าใชจ้ า่ ยในการจดั กิจกรรมฝึ กอบรม
หรอื เขา้ รบั การฝึกอบรมหรอื การพฒั นาตนเองของครู
3.5 คา่ ใชจ้ า่ ยในการฝึ กอบรมทกั ษะอาชีพสาหรบั เยาวชนผูข้ าดแคลนทุน
ทรพั ยห์ รอื ดอ้ ยโอกาศ
4. เกณฑใ์ นการพิจารณาการขาดแคลนทุนทรพั ยแ์ ละดอ้ ยโอกาสใหพ้ ิจารณา
ตามเกณฑด์ งั ตอ่ ไปน้ี
4.1 การขาดแคลนทุนทรพั ยแ์ ละระดบั ความรุนแรงใหพ้ ิจารณาจากขอ้ มูล
รายไดแ้ ละขอ้ มูลสถานะครวั เรือน โดยใหน้ าขอ้ มูลคา่ ครองชีพในแต่ละพ้ืน
ทมี่ าประกอบการพจิ ารณาดว้ ย
4.2 การดอ้ ยโอกาสใหพ้ จิ ารณาจากการประสบปัญหาความเดือดรอ้ นและ
ไดร้ บั ผลกระทบในดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม การศึกษา สาธารณสุข การเมือง
กฎหมาย วฒั นธรรม ภยั ธรรมชาติหรอื อยู่ในพ้ืนท่ีขาดโอกาสทจ่ี ะเขา้ ถึง
บรกิ ารขนั้ พ้นื ฐานของรฐั หรอื สมควรไดร้ บั การชว่ ยเหลือ

กองทุนเพ่อื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา 20 กฎหมายการศึกษา

เงนิ และทรพั ยส์ นิ ของกองทุนเพอ่ื สรา้ งความเสมอภาคทางการศกึ ษา
1. เงินและทรพั ยส์ ินทไี่ ดร้ บั โอนมาตามกฎหมาย
2. เงินทร่ี ฐั บาลจดั สรรใหเ้ ป็นทนุ ประเดิมจานวน 1 พนั ลา้ นบาท
3. เงินอดุ หนนุ ทีร่ ฐั บาลจดั สรรใหเ้ ป็นรายปีตามแผนการใชเ้ งินที่คณะกรรมการ

และคณะรฐั มนตรีใหค้ วามเห็นชอบแลว้ ซึ่งรฐั บาลตอ้ งจดั สรรให้เพียงพอตาม
แผนการใชเ้ งินและตอ้ งสอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตรช์ าติ และแผนและขน้ั ตอนการปฏิรูป
ประเทศ

4. เงินรายไดท้ ่ีไดร้ บั จากสานักงานสลากกินแบ่งรฐั บาลตามท่ีคณะรฐั มนตรี
กาหนด

5. รายไดจ้ ากการดาเนินงานและการลงทุนของกองทนุ
6. เงนิ และทรพั ยส์ นิ ทม่ี ผี ูบ้ รจิ าคใหซ้ ง่ึ ผบู้ รจิ าคเงินใหแ้ ก่กองทนุ มีสิทธินาจานวน
เงนิ ทีบ่ รจิ าคไปหกั เป็ นคา่ ลดหย่อนภาษีหรอื รายจา่ ยได้
7. รายไดห้ รอื ผลประโยชนอ์ นื่ ทก่ี องทนุ ไดร้ บั ไม่วา่ โดยทางใด
8. ดอกผลของเงินและทรพั ยส์ นิ ของกองทุน

การตรวจสอบประเมนิ ผลและการกากบั ดแู ล
1. กาหนดใหก้ องทนุ ตอ้ งจดั ใหม้ รี ะบบบญั ชที ่ีเหมาะสมจดั ทารายงานการเงนิ เพอ่ื

แสดงผลการดาเนินงานและฐานะการเงินของกองทุนเสนอผูส้ อบบญั ชีภายใน 120
วนั นบั แตว่ นั ส้นิ ปี บญั ชี และใหม้ ีคณะกรรมการตรวจสอบทาหนา้ ท่ีตรวจสอบภายใน
เพอื่ รายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่อคณะกรรมการ

2. กาหนดให้กองทุนจัดทารายงานประจาปี เสนอต่อคณะรฐั มนตรีสภา
ผูแ้ ทนราษฎรและวุฒิสภา เพ่ือทราบภายใน 60 วนั นบั แต่วนั ที่ไดร้ บั รายงานการ
สอบบัญชีจากผูส้ อบบัญชี และเปิ ดเผยใหป้ ระชาชนทราบในระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศของกองทนุ

กฎหมายการศกึ ษา 21 กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา

3. ทกุ 3 ปี จะมีการประเมินใหค้ ณะรฐั มนตรีแต่งตง้ั คณะกรรมการประเมินผล
การดาเนินงานของกองทนุ เพ่อื ทาหนา้ ที่ ดงั ตอ่ ไปน้ี

3.1 ประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิตามวตั ถุประสงคแ์ ละเป้ าหมายของกองทุน
3.2 รายงานขอ้ จากดั หรอื อปุ สรรคของการดาเนินกจิ การของกองทุน
3.3 ตรวจสอบและประเมนิ ผลการดาเนนิ งานของกองทนุ
3.4 รายงานผลการปฏิบตั ิงานพรอ้ มทงั้ ขอ้ เสนอแนะต่อคณะกรรมการใน
ทกุ รอบการประเมนิ
3.5 รายงานผลการประเมินใหค้ ณะรฐั มนตรที ราบภายใน 180 วนั นบั แต่
วนั ส้ินรอบการประเมิน และเมื่อคณะรฐั มนตรีมีมติรบั ทราบใหแ้ จง้ ให้
กองทุนทราบ และใหก้ องทุนเผยแพร่ใหป้ ระชาชนทัว่ ไปทราบในระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศของกองทนุ
4. เพ่ือประโยชนใ์ นการดาเนินการตามพระราชบญั ญตั ิน้ีใหน้ ายกรฐั มนตรีมี
อานาจสงั่ ใหก้ องทุนช้ีแจงแสดงความคดิ เห็นทารายงานหรือยบั ยงั้ การกระทาที่ไม่
เป็ นไปตามวตั ถุประสงค์ตามมาตรา 5 หรือไม่สอดคลอ้ งกบั หนา้ ที่ของรฐั ตามท่ี
บญั ญตั ไิ วใ้ นรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย

22 กฎหมายการ ึศกษา

กองทุนเพ่อื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา

กฎหมายการศึกษา 23 พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540

พระราชบญั ญตั ขิ อ้ มูลข่าวสาร
ของราชการ พ.ศ.2540

บทบญั ญตั ิของกฎหมาย พ.ร.บ.ขอ้ มูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
7 หมวด 1 บทเฉพาะกาล 43 มาตรา

- หมวด 1 การเปิดเผยขอ้ มลู ข่าวสาร
- หมวด 2 ขอ้ มลู ขา่ วสารทีไ่ มต่ อ้ งเปิ ดเผย
- หมวด 3 ขอ้ มลู ข่าวสารส่วนบุคคล
- หมวด 4 เอกสารประวตั ิศาสตร์
- หมวด 5 คณะกรรมการขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการ
- หมวด 6 คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั การเปิดเผยขอ้ มูลข่าวสาร
- หมวด 7 บทกาหนดโทษ
- บทเฉพาะกาล

หลกั การและเหตผุ ลของพระราชบญั ญตั ิขอ้ มูลข่าวสารของราชการ
ในระบอบประชาธิปไตย การใหป้ ระชาชนมีโอกาสกวา้ งขวางในการไดร้ บั ขอ้ มูล

ข่าวสารเกี่ยวกับการดาเนินการต่าง ๆ ของรฐั เป็ นสิ่งจาเป็ น เพื่อท่ีประชาชนจะ
สามารถแสดงความคิดเห็นและใชส้ ิทธิทางการเมืองไดโ้ ดยถูกตอ้ งกบั ความจริงอนั
เป็ นการส่งเสริมใหม้ ีความเป็ นรฐั บาลโดยประชาชนมากย่ิงข้ึนสมควรกาหนดให้
ประชาชนมสี ทิ ธิไดร้ ูข้ อ้ มูลข่าวสารของราชการ โดยมีขอ้ ยกเวน้ อนั ไม่ตอ้ งเปิ ดเผยที่
แจง้ ชัดและจากดั เฉพาะขอ้ มูลข่าวสารท่ีหากเปิ ดเผยแลว้ จะเกิดความเสียหายต่อ
ประเทศชาตหิ รอื ต่อประโยชนท์ สี่ าคญั ของเอกชน

พระราชบญั ญตั ขิ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ.2540 24 กฎหมายการศึกษา

กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560

หมวด 3 สิทธแิ ละเสรภี าพของปวงชนชาวไทย
- มาตรา 41 บุคคลและชมุ ชนยอ่ มมีสิทธิ (1) ไดร้ บั ทราบและ เขา้ ถึงขอ้ มูล
หรอื ขา่ วสารสาธารณะในครอบครองของ หน่วยงานของรฐั ตามที่กฎหมาย
บญั ญตั ิ

หมวด 4 หนา้ ท่ขี องรฐั
- มาตรา 59 รฐั ตอ้ งเปิ ดเผยขอ้ มูลหรอื ข่าวสารสาธารณะใน ครอบครอง
ของหน่วยงานของรฐั ที่มิใช่ขอ้ มูลเกี่ยวกับความมน่ั คง ของรฐั หรือเป็ น
ความลบั ของทางราชการตามที่กฎหมายบญั ญตั ิ และตอ้ งจดั ใหป้ ระชาชน
เขา้ ถึงขอ้ มลู ดงั กล่าวไดโ้ ดยสะดวก

ผทู้ รงสทิ ธริ บั รขู้ อ้ มูลข่าวสารของราชการ
- ประชาชนคนไทย
- คนตา่ งดา้ วทีม่ ถี นิ่ ทีอ่ ยใู่ นประเทศไทย
- เจา้ หนา้ ท่ขี องรฐั (ในกรณที ี่กระทบสทิ ธิของตน)
- บุคคลธรรมดา และนติ บิ ุคคล/กลมุ่ บุคคล

ความหมายขอ้ มูลข่าวสารของราชการ
“ขอ้ มูลข่าวสาร” หมายความวา่ สิ่งท่ีสื่อความหมายใหร้ ูเ้ ร่ืองราวขอ้ เท็จจริง

ขอ้ มูล หรอื สงิ่ ใด ๆ ไมว่ า่ การส่อื ความหมายนนั้ จะทาไดโ้ ดยสภาพของส่ิงนนั้ เองหรือ
โดยผา่ นวธิ กี ารใด ๆ และไมว่ า่ จะไดจ้ ดั ทาไวใ้ นรปู ของเอกสาร แฟ้ ม รายงาน หนงั สือ
แผนผงั แผนท่ี ภาพวาด ภาพถ่าย ฟิ ลม์ การบนั ทึกภาพหรอื เสียง การบนั ทึกโดย
เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ หรอื วธิ อี น่ื ใดท่ที าใหส้ ่งิ ทบี่ นั ทกึ ไวป้ รากฏได้

กฎหมายการศึกษา 25 พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540

ขอ้ มูลข่าวสารของราชการ” หมายความว่า ขอ้ มูลข่าวสารที่อยู่ในความ
ครอบครองหรอื ควบคมุ ดแู ลของหน่วยงานของรฐั ไม่วา่ จะเป็นขอ้ มลู ข่าวสารเก่ียวกบั
การดาเนนิ งานของรฐั หรอื ขอ้ มลู ขา่ วสารเกี่ยวกบั เอกชน

ขอ้ มูลข่าวสารท่ีหน่วยงานของรฐั ตอ้ งจดั ไวใ้ หป้ ระชาชนเขา้ ตรวจดู ตามหลกั เกณฑ์
และวิธกี ารท่ีคณะกรรมการกาหนด

(1) ผลการพิจารณาหรอื คาวนิ จิ ฉยั ทม่ี ีผลโดยตรงตอ่ เอกชน
(2) นโยบายหรือการตีความที่ไม่เขา้ ข่ายตอ้ งลงพิมพ์ในราชกิจจานเุ บกษา
ตามมาตรา 7 (4)
(3) แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจา่ ยประจาปีทกี่ าลงั ดาเนินการ
(4) คมู่ อื หรอื คาสง่ั เกย่ี วกบั วธิ ปี ฏบิ ตั งิ านของเจา้ หนา้ ท่ีของรฐั ซงึ่ มีผลกระทบถึง
สิทธิหนา้ ท่ขี องเอกชน
(5) สิ่งพมิ พท์ ี่ไดม้ กี ารอา้ งองิ ถึงตามมาตรา 7 วรรคสอง
(6) สญั ญาสมั ปทาน สญั ญาทม่ี ีลกั ษณะเป็ นการผูกขาดตดั ตอนหรอื สญั ญารว่ ม
ทุนกบั เอกชนในการจดั ทาบรกิ ารสาธารณะ
(7) มตคิ ณะรฐั มนตรี
(8) ขอ้ มูลขา่ วสารอนื่ ตามทคี่ ณะกรรมการกาหนด (มาตรา 9)

ขอ้ มูลข่าวสารของราชการที่เปิ ดเผยเป็ นการเฉพาะ
ข้อมูล ข่า วสา รส่ วนบุ คคล หมา ย ความว่า ข้อมูล ข่าวสา รเกี่ยวกับ

เฉพาะตวั บุคคล เช่น การศึกษา ฐานะการเงิน ประวตั ิสุขภาพ ประวตั ิอาชญากรรม
หรือประวตั ิการทางาน บรรดาที่มีช่ือของผูน้ นั้ หรือมีเลขหมายรหัสหรือส่ิงบอก
ลกั ษณะอนื่ ที่ทาใหร้ ูต้ วั ผนู้ นั้ ไดเ้ ชน่ ลายพิมพ์น้ิวมือ แผ่นบนั ทึกลกั ษณะเสียงของคน
หรอื รปู ถา่ ย และใหห้ มายความรวมถงึ ขอ้ มูลขา่ วสารเกี่ยวกบั สิ่งเฉพาะตวั ของผูท้ ี่ถึง
แก่กรรมแลว้ ดว้ ย (มาตรา 4)

พระราชบญั ญตั ขิ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ.2540 26 กฎหมายการศึกษา

บุคคล หมายความวา่ บุคคลธรรมดาท่ีมีสญั ชาติไทยและบุคคลธรรมดาท่ีไม่มี
สญั ชาตไิ ทยแตม่ ีถ่ินที่อยู่ในประเทศไทย (มาตรา 21)

ขอ้ มูลข่าวสารทไี่ ม่ตอ้ งเปิ ดเผย
➢ขอ้ มูลข่าวสารของราชการท่ีเปิ ดเผยไม่ได้ ขอ้ มูลข่าวสารของราชการท่ีอาจ

กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสียหายตอ่ สถาบนั พระมหากษตั รยิ จ์ ะเปิดเผยมไิ ด้
➢ขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการที่เจา้ หนา้ ท่ีหรอื หน่วยงานของรฐั อาจมีคาสงั่ มิให้

เปิ ดเผย
(1) การเปิดเผยจะกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายต่อความมน่ั คงของประเทศ
(2) การเปิ ดเผยจะทาใหก้ ารบงั คบั ใชก้ ฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ
(3) ความเห็นหรอื คาแนะนาภายในหนว่ ยงานของรฐั
(4) การเปิดเผยจะกอ่ ใหเ้ กิดอนั ตรายต่อชีวติ หรอื ความปลอดภยั ของบุคคล
อน่ื
(5) รายงานการแพทยห์ รอื ขอ้ มูลขา่ วสารสว่ นบุคคล
(6) ขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการทม่ี ีกฎหมายคมุ้ ครองมิใหเ้ ปิ ดเผยหรือขอ้ มูล
ข่าวสาร
(7) กรณอี น่ื ตามทกี่ าหนดในพระราชกฤษฎีกา

หน่วยงานของรฐั และเจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั
หน่วยงานของรฐั และเจา้ หน้าที่ของรฐั จะต้องดาเนินการและปฏิบัติตาม

พระราชบญั ญตั นิ ้ี ดงั น้ี
1. หน่วยงานของรฐั ตอ้ งจดั พิมพห์ รอื จดั ใหม้ ขี อ้ มลู ขา่ วสารตามมาตรา 7 มาตรา

8 และมาตรา 9 ไวเ้ พือ่ ใหป้ ระชาชนเขา้ ตรวจดู

กฎหมายการศกึ ษา 27 พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540

2. หน่วยงานของรฐั ตอ้ งส่งขอ้ มลู ข่าวสารของราชการตามท่ีกาหนดในมาตรา 7
ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา และรวบรวมและจดั ใหม้ ีขอ้ มูลข่าวสารดังกล่ าวไว้
เผยแพร่เพ่ือขายหรอื จาหน่ายจ่ายแจก ณ ที่ทาการของหน่วยงานของรฐั แห่งน้ัน
ตามทเี่ หน็ สมควร

3. หน่วยงานของรฐั โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการขอ้ มูลข่าวสารของ
ราชการวางหลกั เกณฑเ์ รยี กคา่ ธรรมเนยี มเก่ยี วกบั การขอสาเนาหรอื ขอสาเนาท่ีมีคา
รบั รองถูกตอ้ งของขอ้ มลู ข่าวสารของราชการกไ็ ดใ้ นการน้ีใหค้ านงึ ถงึ การชว่ ยเหลือผูม้ ี
รายไดน้ อ้ ยประกอบดว้ ย

4. หน่วยงานของรฐั ตอ้ งจดั หาขอ้ มูลข่าวสารของราชการนอกจากที่ลงพิมพใ์ น
ราชกจิ จานุเบกษาหรอื จดั ไวใ้ หป้ ระชาชนตรวจดู และถา้ ขอ้ มูลข่าวสารของราชการนน้ั
มสี ภาพอาจบุบสลายไดง้ ่าย หน่วยงานของรฐั จะขอขยายเวลาในการจดั หาใหห้ รือจะ
จดั ทาสาเนาอย่างหนงึ่ อยา่ งใด เพ่ือมใิ หเ้ กิดความเสยี หายแกข่ อ้ มูลขา่ วสารนนั้

5. หนว่ ยงานของรฐั ตอ้ งแนะนาใหผ้ ูข้ อขอ้ มูลขา่ วสารของราชการตามมาตรา 11
ท่ีอยู่ในความควบคมุ ดแู ลของหน่วยงาน ส่วนกลางหรอื ส่วนสาขาของหน่วยงานแห่ง
นน้ั

6. หน่วยงานของรฐั หรอื เจา้ หนา้ ท่ีของรฐั อาจมีคาสงั่ มิใหเ้ ปิ ดเผยขอ้ มูลข่าวสาร
ของราชการท่ีมลี กั ษณะอย่างหน่งึ อย่างใดดงั ต่อไปน้ีกไ็ ดโ้ ดยคานึงถงึ การปฏิบตั หิ นา้ ท่ี
ตามกฎหมายของหน่วยงานของรฐั ประโยชนส์ าธารณะ และประโยชน์ของเอกชน ที่
เก่ียวขอ้ งประกอบกนั

7. ในกรณที ี่การเปิดเผยขอ้ มูลข่าวสารของราชการใดอาจกระทบถึงประโยชน์ได้
เสียของผใู้ ด ใหเ้ จา้ หนา้ ทีข่ องรฐั แจง้ ใหผ้ นู้ น้ั เสนอคาคดั คา้ นภายในเวลาท่ีกาหนด ไม่
นอ้ ยกวา่ สิบหา้ วนั นบั แตว่ นั ทไ่ี ดร้ บั แจง้

8. การเปิดเผยขอ้ มลู ข่าวสารใดแมจ้ ะเขา้ ขา่ ยตอ้ งมีความรบั ผิดตามกฎหมายใด
ใหถ้ ือวา่ เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ไมต่ อ้ งรบั ผดิ หากเป็นการกระทาโดยสุจรติ

พระราชบญั ญตั ขิ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ.2540 28 กฎหมายการศกึ ษา

9. หนว่ ยงานของรฐั ทีค่ วบคมุ ดแู ลขอ้ มลู ข่าวสารส่วนบุคคลตอ้ งปฏิบตั ิเกี่ยวกบั
การจดั ระบบขอ้ มลู ข่าวสารสว่ นบุคคล

10. สานกั ขา่ วกรองแห่งชาติสานกั งานสภาความมน่ั คงแห่งชาติ และหน่วยงาน
ของรฐั แห่งอน่ื ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง อาจออกระเบียบโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการ กาหนดหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงอ่ื นไขทมี่ ใิ หน้ าบทบญั ญตั ิวรรคหน่ึง
(3) ของมาตรา 23 มาใชบ้ ังคบั กับข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่อยู่ ในความ
ควบคมุ ดูแลของหนว่ ยงานดงั กลา่ วก็ได้

11. หน่วยงานของรัฐจะเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่อยู่ในความ
ควบคุมดูแลของตนต่อหน่วยงานของรฐั แห่งอ่ืนหรือ ผูอ้ ื่น โดยปราศจากความ
ยนิ ยอมเป็นหนงั สอื ของเจา้ ของขอ้ มลู ท่ีใหไ้ วล้ ่วงหนา้ หรอื ในขณะนน้ั มิได้ เวน้ แต่เป็ น
การเปิดเผย (ตามขอ้ 1-9)

12. เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั จะเปิ ดเผยรายงานการแพทยท์ ่เี กีย่ วกบั บุคคลใดจะเปิ ดเผย
ต่อเฉพาะแพทยท์ บี่ ุคคลนนั้ มอบหมายกไ็ ดถ้ า้ กรณีมเี หตุอนั สมควร

13. หน่วยงานของรฐั ตอ้ งส่งมอบขอ้ มูลข่าวสารของราชการท่ีไม่ประสงคจ์ ะเก็บ
รกั ษาหรอื มีอายุครบกาหนดเวลา ครบ 75 ปี หรอื 20 ปี นบั ตงั้ แต่วนั ทเี่ สรจ็ ส้ิน

14. หน่วยงานของรฐั หรอื เจา้ หนา้ ท่ีของรฐั ตอ้ ง ยินยอมใหค้ ณะกรรมการหรอื ผู้
ซงึ่ คณะกรรมการมอบหมายเขา้ ตรวจสอบขอ้ มูลข่าวสารที่อยูใ่ นความครอบครองของ
ตนได้ ไม่วา่ จะเป็ นขอ้ มูลขา่ วสารท่เี ปิ ดเผยไดห้ รอื ไมก่ ็ตาม

สทิ ธขิ องประชาชนหรอื เอกชน
1. สิทธิในการขอคาปรกึ ษาการปฏิบตั ิตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
2. สิทธิเขา้ ตรวจดูขอ้ มูลข่าวสารของราชการ บุคคลไม่ว่าจะมีส่วนได้เสีย

เกี่ยวขอ้ งหรอื ไม่ก็ตามย่อมมีสิทธิเขา้ ตรวจดู ขอสาเนา หรือขอสาเนาที่มีคารบั รอง
ถกู ตอ้ งของขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการ ตามมาตรา 9 ได้

กฎหมายการศึกษา 29 พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540

3. สทิ ธขิ อขอ้ มูลข่าวสารอนื่ ใดของราชการนอกจากขอ้ มูลข่าวสารของราชการท่ี
ลงพิมพใ์ นราชกิจจานุเบกษาแลว้ หรอื ทีจ่ ดั ไวใ้ ห้ ประชาชนเขา้ ตรวจดูไดแ้ ลว้ หรอื ที่มี
การจดั ใหป้ ระชาชนไดค้ น้ ควา้ ตามมาตรา 26 แลว้ โดยคาขอนน้ั ไดร้ ะบุขอ้ มูลข่าวสาร
ที่ ตอ้ งการในลกั ษณะทอ่ี าจเขา้ ใจไดต้ ามสมควร (มาตรา 11)

4. สิทธทิ จ่ี ะไดร้ ูถ้ ึงขอ้ มูลข่าวสารส่วนบุคคลที่เกี่ยวกบั งานซง่ึ หน่วยงานของรฐั
จะตอ้ งใหก้ บั บุคคลนนั้ หรอื ผูก้ ระทาแทนไดต้ รวจดูหรอื ไดร้ บั สาเนาขอ้ มลู ข่าวสารส่วน
บุคคลทเ่ี ก่ียวกบั บุคคลนนั้

5. สิทธิในการดาเนินการแทนผูเ้ ยาว์ คนไรค้ วามสามารถ คนเสมือนไร้
ความสามารถ หรอื เจา้ ของขอ้ มลู ท่ถี ึงแกก่ รรม

6. สิทธิในการรอ้ งเรียนผูใ้ ดเห็นว่าหน่วยงานของรฐั ไม่จดั พิมพ์ขอ้ มูลข่าวสาร
ตามมาตรา 7 หรอื ไม่จดั ขอ้ มลู ขา่ วสารไวใ้ หป้ ระชาชนตรวจดไู ดต้ ามมาตรา 9 หรอื ไม่
จดั หาขอ้ มูลข่าวสารใหแ้ ก่ตนตามมาตรา 11 หรือฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบัติตาม
พระราชบญั ญตั นิ ้ี หรอื ปฏิบตั หิ นา้ ท่ลี า่ ชา้ หรอื เห็นวา่ ตนไม่ไดร้ บั ความสะดวกโดยไม่
มเี หตอุ นั สมควร ผูน้ นั้ มีสทิ ธิรอ้ งเรยี น ตอ่ คณะกรรมการขอ้ มลู ข่าวสารของราชการ

7. สิทธิในการอทุ ธรณ์ในกรณีที่เจา้ หนา้ ท่ีของรฐั มีคาสั่งมิใหเ้ ปิ ดเผยขอ้ มูล
ข่าวสารใดตามมาตรา 14 หรือมาตรา 15 หรอื มีคาสง่ั ไม่รบั ฟังคาคดั คา้ นของผูม้ ี
ประโยชนไ์ ดเ้ สียตามมาตรา 17 ผูน้ นั้ อาจอุทธรณต์ ่อคณะกรรมการภายใน 15 วนั
นบั แต่วนั ทไี่ ดร้ บั แจง้ นน้ั

คณะกรรมการขอ้ มูลข่าวสารของราชการ

ประกอบดว้ ยรฐั มนตรี ซงึ่ นายกรฐั มนตรมี อบหมายเป็นประธาน

- ปลดั สานกั นายกรฐั มนตรี - ปลดั กระทรวงกลางโหม

- ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - ปลดั กระทรวงการคลงั

- ปลดั กระทรวงการต่างประเทศ - ปลดั กระทรวงมหาดไทย

- เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา - ปลดั กระทรวงพาณิชย์

30 กฎหมายการศึกษา

- เลขาธกิ ารสภาความมน่ั คงแห่งชาติ - เลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร

- ผอู้ านวยการสานกั ขา่ วกรองแห่งชาติ - ผูอ้ านวยการสานกั งบประมาณ

- เลขาธกิ ารคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น

และผูท้ รงคุณวุฒิอืน่ จากภาครฐั และเอกชน ซง่ึ คณะรฐั มนตรีแต่งตงั้ อกี เกา้ คน

เป็นกรรมการ ใหป้ ลดั สานกั นายกรฐั มนตรตี งั้ แตข่ า้ ราชการของสานกั งานปลดั สานกั

นายกรฐั มนตรคี นหน่ึงเป็ นเลขานุการ และอกี สองคนเป็นผชู้ ว่ ยเลขา

พระราชบญั ญตั ขิ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ.2540 คณะกรรมการวินจิ ฉยั การเปิ ดเผยขอ้ มูลข่าวสาร
ใหม้ ีคณะกรรมการวินิจฉยั การเปิ ดเผยขอ้ มูลข่าวสารสาขาต่าง ๆ ตามความ

เหมาะสมซ่ึงคณะรฐั มนตรีแต่งตง้ั ตามขอ้ เสนอของคณะกรรมการ มีอานาจหนา้ ที่
พิจารณาวนิ ิจฉยั อทุ ธรณค์ าสง่ั มใิ หเ้ ปิดเผยขอ้ มูลขา่ วสาร

บทกาหนดโทษ
ผูใ้ ดไม่ปฏบิ ตั ิตามคาสง่ั ของคณะกรรมการที่สงั่ ตามมาตรา 32 ตอ้ งระวางโทษ

จาคกุ ไม่เกินสามเดือน หรอื ปรบั ไม่เกิน หา้ พนั บาทหรือทงั้ จาทั้งปรบั (มาตรา 40)
ผูใ้ ดฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ิตามขอ้ จากดั หรือเงื่อนไขที่เจา้ หนา้ ท่ีของรฐั กาหนดตาม
มาตรา 20 ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไม่เกนิ หน่ึงปี หรอื ปรบั ไมเ่ กินสองหม่ืนบาท หรอื ทง้ั
จาทงั้ ปรบั (มาตรา 41)

กฎหมายการศกึ ษา 31 การจัดการศึกษาท่ีเน้น ูผ้เรียนเ ็ปนสาคัญ

การจดั การศกึ ษาทีเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเป็ นสาคญั

ความหมาย
การจดั การเรยี นการสอนใหผ้ ูเ้ รียนมีบทบาทสาคญั ในการเป็ นผูเ้ รียนรูโ้ ดย

พยายามจดั กิจกรรมใหผ้ ูเ้ รียนไดส้ รา้ งความรูไ้ ดม้ ี” ปฏิสัมพนั ธ์กบั บุคคลสื่อและ
ส่ิงแวดลอ้ มต่าง ๆ โดยใชก้ ระบวนการต่าง ๆ เป็ นเครื่องมือในการเรียนรูแ้ ละ
นกั เรยี นมีโอกาสนาความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นสถานการณอ์ น่ื

เทคนคิ การจดั การเรยี นรกู้ ารสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเป็ นสาคญั 3 ประเดน็ คอื
1. เทคนคิ การจดั กจิ กรรมท่ีสง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นสรา้ งความรูด้ ว้ ยตวั เอง
2. เทคนิคการจดั กิจกรรมท่ีสง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นไดท้ างานรว่ มกบั คนอน่ื
3. เทคนิคการจดั กิจกรรมท่ีส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียนนาความรูไ้ ปประยุกต์ใชใ้ น

ชวี ติ ประจาวนั

หลกั การของการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รยี นเป็ นสาคญั
1. การวเิ คราะห์ผูเ้ รียน ช่วยใหค้ รูผูส้ อนมีขอ้ มูลท่ีสาคญั ในการออกแบบการ

จดั การเรียนรูท้ ี่เหมาะสม และคานึงถึงองคป์ ระกอบที่สาคญั 3 องค์ประกอบ คือ
ธรรมชาติของผูเ้ รียน ประสบการณแ์ ละพ้ืนฐานความรูเ้ ดิม และวิธีการเรียนรูข้ อง
ผูเ้ รยี น

2. การใชจ้ ติ วิทยา การเรยี นรูแ้ ละการบูรณาการคณุ ธรรม ค่านิยมในการจดั
กจิ กรรมการเรยี นรู้

3. การวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานเช่อื มโยงกบั การพฒั นาหลกั สูตร
และการจดั การเรยี นรใู้ นสถานศกึ ษา

การจดั การศึกษาทเ่ี นน้ ผเู้รยี นเป็นสาคญั 32 กฎหมายการศกึ ษา

4. การออกแบบการเรยี นรู้ ตามสภาพจริงใหส้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานหลกั สูตร
และเชอ่ื มโยงบูรณาการระหวา่ งกลุม่ วชิ า

5. การออกแบบการวดั และประเมนิ ผล จะตอ้ งประเมินผลตามสภาพจริงโดยใช้
เครอ่ื งมือวดั ทห่ี ลากหลาย เพ่ือสะทอ้ นภาพไดช้ ดั เจนและแน่นอนว่าผูเ้ รยี นเกิดการ
เรยี นรดู้ า้ นตา่ ง ๆ

กระบวนการเรยี นที่เนน้ ผูเ้ รยี นเป็ นสาคญั
1. มกี ารจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนหลากหลายเหมาะสมกบั ผูเ้ รยี น
3.กระตุน้ ใหผ้ ูเ้ รยี นรูจ้ กั ศึกษาหาความรูแ้ สวงหาคาตอบ และสร้างองคค์ วามรู้

ดว้ ยตนเอง
4. นาภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น เทคโนโลยีและส่ือท่ีเหมาะสมมาประยุกต์ใชใ้ นการ

จดั การเรยี นการสอน
5. ฝึกและสง่ เสรมิ คณุ ธรรม และจรยิ ธรรมของผูเ้ รยี น

กฎหมายการศกึ ษา 33 การจัดการศึกษาท่ีเน้น ูผ้เรียนเ ็ปนสาคัญ

6. ผูเ้ รยี นไดร้ บั การพฒั นาสุนทรยี ภาพอย่างครบถว้ นทงั้ ดา้ นดนตรศี ิลปะ และ
กฬี า

7. ส่งเสริมความเป็ นประชาธิปไตย การทางานร่วมกับผูอ้ ่ืน และความ
รบั ผดิ ชอบต่อกลมุ่ รว่ มกนั

8. จดั กจิ กรรมใหผ้ ูเ้ รยี นรกั สถานศึกษาของตนเอง และมีความกระตือรือรน้ ใน
การเรยี น

9. ประเมินพฒั นาการผูเ้ รยี นดว้ ยวธิ กี ารทีห่ ลากหลายและต่อเนือ่ ง

ตวั บง่ ช้กี ารสอนของผสู้ อน
1. ผูส้ อนเตรยี มการสอนทง้ั เน้อื หา และวธิ กี าร
2. ผูส้ อนจดั สิ่งแวดลอ้ มและบรรยากาศท่ีปลุกเรา้ จูงใจ และเสรมิ แรงใหผ้ ูเ้ รยี น

เกิดการเรยี นรู้
3. ผูส้ อนเอาใจใส่ผูเ้ รยี นเป็นรายบุคคล และแสดงความเมตตาต่อผูเ้ รียนอย่าง

ทวั่ ถงึ
4. ผูส้ อนจดั กิจกรรมและสถานการณ์ใหผ้ ู้เรียนไดแ้ สดงออกและคิดอย่าง

สรา้ งสรรค์
5. ผสู้ อนสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นฝึกคดิ ฝึกทา และฝึกปรบั ปรงุ ดว้ ยตนเอง

ตวั บง่ ช้กี ารเรยี นของผเู้ รยี น
1. ผูเ้ รยี นมีประสบการณต์ รงสมั พนั ธก์ บั ธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
2. ผูเ้ รยี นฝึกปฏิบตั ิจนคน้ พบความถนดั และวธิ กี ารของตนเอง
3. ผูเ้ รยี นทากิจกรรมแลกเปล่ียนเรยี นรูจ้ ากกลมุ่
4. ผูเ้ รียนฝึ กคิดอย่างหลากหลายและสรา้ งสรรค์จินตนาการ ตลอดจนได้

แสดงออกอย่างชดั เจนและมีเหตุผล
5. ผูเ้ รยี นไดร้ บั การเสรมิ แรงใหค้ น้ หาคาตอบแกป้ ัญหาทงั้ ดว้ ยตนเองและรว่ ม

ดว้ ยชว่ ยกนั

34 กฎหมายการ ึศกษา

การจดั การศึกษาทเ่ี นน้ ผเู้รยี นเป็นสาคญั

กฎหมายการศกึ ษา 35 กฎหมายและระเบียบข้าราชการค ูรและบุคลากรทางการศึกษา

กฎหมายและระเบยี บขา้ ราชการครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษา

พระราชบญั ญตั ิระเบยี บขา้ ราชการและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547
มาตรา 1 พระราชบญั ญตั นิ ้ีเรยี กวา่ “พระราชบญั ญตั ริ ะเบียบขา้ ราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547”
มาตรา 4 ในพระราชบญั ญตั ิน้ี

“ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า บุคคลซึง่ ไดร้ บั
การบรรจแุ ละแต่งตง้ั ตามพระราชบญั ญตั ิน้ีใหร้ บั ราชการโดยไดร้ บั เงินเดือนจากเงิน
งบประมาณแผ่นดนิ งบบุคลากรท่ีจา่ ยในลกั ษณะเงินเดือนในกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกฬี า กระทรวงวฒั นธรรม หรอื กระทรวงอน่ื ท่ีกาหนดใน
พระราชกฤษฎีกา

“ขา้ ราชการครู” หมายความว่า ผูท้ ี่ประกอบวิชาชีพซ่ึงทาหนา้ ท่ีหลัก
ทางดา้ นการเรยี นการสอนและส่งเสรมิ การเรยี นรูข้ องผูเ้ รียนดว้ ยวิธีการต่าง ๆ ใน
สถานศกึ ษาของรฐั

“บุคลากรทางการศกึ ษา” หมายความวา่ ผูบ้ ริหารสถานศึกษา ผูบ้ รหิ าร
การศึกษา รวมทงั้ ผสู้ นบั สนุนการศึกษาซง่ึ เป็ นผูท้ าหนา้ ท่ีใหบ้ รกิ าร หรอื ปฏิบตั ิงาน
เกี่ยวเน่ืองกบั การจดั กระบวนการเรยี นการสอน การนิเทศ การบริหารการศึกษา
และปฏบิ ตั งิ านอนื่ ในหนว่ ยงานการศึกษา

มาตรา 7 ใหม้ ีคณะกรรมการบรหิ ารงานบุคคลของขา้ ราชการครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษาคณะหน่ึง เรยี กวา่ “คณะกรรมการขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา” เรยี กโดย ย่อวา่ “ ก.ค.ศ. ”

มาตรา 27 ใหผ้ ูบ้ ริหารสถานศึกษาเป็ นผูบ้ งั คบั บญั ชาของขา้ ราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาและมอี านาจและหนา้ ท่ี

กฎหมายและระเบยี บขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 36 กฎหมายการศกึ ษา

มาตรา 31 อตั ราเงินเดือน เงินวทิ ยฐานะ และเงินประจาตาแหน่งของขา้ ราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา ใหเ้ ป็ นไปตามกฎหมายว่าดว้ ยเงินเดือน เงินวิทยฐานะ
และเงินประจาตาแหน่งขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

เงนิ วทิ ยฐานะ
ชานาญการ : 3,500 บาท
ชานาญการพิเศษ : 5,600 + 5,600 บาท
เช่ียวชาญ : 9,900 + 9,900บาท
สถานศกึ ษาของรฐั เช่ียวชาญพเิ ศษ : 13,000/15,600 + 13,000/15,600

มาตรา 33 ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาอาจไดร้ บั เงินเพ่ิมสาหรบั
ตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษตามระเบียบที่ ก.ค.ศ. กาหนดโดยความเห็นชอบของ
คณะรฐั มนตรี

หมวด 3 การกาหนดตาแหน่ง วทิ ยฐานะ และการใหไ้ ดร้ บั เงินเดือน เงินวิทยฐานะ
และเงินประจาตาแหนง่

ขา้ ราชการครู
ผปู้ ระกอบวชิ าชพี : ซง่ึ ทาหนา้ ทหี่ ลกั
- ทางดา้ นการเรยี นการสอน
- ส่งเสรมิ เรยี นรู้

บุคลากรทางการศกึ ษา
- ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา
- ผูบ้ รหิ ารการศกึ ษา
- ผูส้ นบั สนนุ การศกึ ษา
- ผูท้ าหนา้ ทใี่ หบ้ รกิ ารหรอื ปฏิบตั งิ าน
- การนเิ ทศ
- การบรหิ ารการศึกษา
- ปฏิบตั งิ านอน่ื

กฎหมายการศกึ ษา 37 กฎหมายและระเบียบข้าราชการค ูรและบุคลากรทางการศึกษา

มาตรา 42 ให้ ก.ค.ศ. จดั ทามาตรฐานตาแหน่ง มาตรฐานวิทยฐานะและ
มาตรฐานตาแหน่งทางวชิ าการของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาไวเ้ ป็ น
บรรทดั ฐานทกุ ตาแหนง่ ทุกวทิ ยฐานะเพ่อื ใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน

การยา้ ยสายครผู สู้ อน
ตอ้ งเขยี นคารอ้ งขอยา้ ย ไดเ้ พียง 1 ครง้ั ภายในเดือน มกราคม ของปี โดยการ

ยา้ ยสายแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดงั น้ี
1. การยา้ ยกรณีปกติ
2. การยา้ ยกรณพี ิเศษ
3. การยา้ ยกรณเี พ่อื ความเหมาะสมและประโยชนข์ องทางราชการ

หลกั เกณฑก์ ารยา้ ย
กรณีปกติ: ไดป้ ฏบิ ตั ิงานในตาแหนง่ “คร”ู ในสถานศึกษาปัจจุบนั ติดต่อกนั ไม่

นอ้ ยกวา่ 24 เดือน (ครผู ูช้ ว่ ย 2 ปี + ครู 2 ปี = 4 ปี)
พจิ ารณายา้ ยปีละ 2 ครง้ั ไดแ้ ก่ครงั้ ที่ 1: เมษายน และครง้ั ที่ 2: กนั ยายน
กรณีพิเศษ: พิจารณาไดต้ ลอดปี
กรณีเพื่อความเหมาะสมและประโยชนข์ องทางราชการ: พิจารณาไดต้ ลอดปี

การลาบ่อยครง้ั
ขา้ ราชการในสถานศกึ ษา : ลาไมเ่ กนิ 6 ครงั้
ขา้ ราชการในสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา : ลาไมเ่ กิน 8 ครง้ั

การมาทางานสาย
ขา้ ราชการในสถานศกึ ษา : สายเกิน 8 ครงั้
ขา้ ราชการในสานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา : สายเกนิ 9 ครงั้

กฎหมายและระเบยี บขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 38 กฎหมายการศกึ ษา

ลกั ษณะของวนิ ยั ของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
1. ใชเ้ ฉพาะขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
2. ไมม่ อี ายคุ วาม
3. บดิ า มารดา รอ้ งแทนได้
4. ถอนคารอ้ ง : ไมม่ ผี ลระงบั การดาเนินการทางวนิ ยั
5. ยอมความกนั ไมไ่ ด/้ ไม่อาจชดใชด้ ว้ ยเงิน
6. วินยั ไม่รา้ ยแรง : ตาย/ลาออก/เกษียณ : งด วนิ ยั รา้ ยแรง : ตาย/ลาออก/

เกษยี ณ : ไม่งด
7. ความผดิ ชดั แจง้ : ไมต่ อ้ งตงั้ กรรมการสอบก็ได้
8. รบั สารภาพ : ไม่เป็นเหตุลดหยอ่ น

การอุทธรณ์
1. มีคาสงั่ ลงโทษ
2. เพ่ือยกเรอ่ื งมาพิจารณาใหม่
3. ภาค/ตดั /ลด > ก.ค.ศ. ภายใน 30 วนั
4. ปลด/ไล่ > ก.ค.ศ. ภายใน 30 วนั
5. อทุ ธรณต์ ่อ ก.ค.ศ. ไมร่ บั ความเป็นธรรม >ศาลปกครอง

มาตรา 61 การเล่ือนตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษาซ่ึงเป็ นตาแหน่งที่มิได้
กาหนดใหม้ ีวิทยฐานะเพ่ือใหไ้ ดร้ บั เงินเดือนในระดบั ที่สูงข้ึน ใหก้ ระทาไดโ้ ดยการ
สอบแข่งขนั สอบคดั เลือก คดั เลือก หรอื ประเมินดว้ ยวธิ ีการอน่ื
ผูป้ ระสงคจ์ ะลาออก

1. ย่ืนต่อ ผอ. เพื่อใหม้ ีอานาจตามมาตรา 53 พิจารณาอนุญาต (ผูม้ ีอานาจ
ยบั ยงั้ ไมเ่ กนิ 90 วนั )

2. ลาออกไปเลน่ การเมือง มผี ลทนั ที

กฎหมายการศกึ ษา 39 กฎหมายและระเบียบข้าราชการค ูรและบุคลากรทางการศึกษา

พระราชบญั ญตั ิ ระเบยี บขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
(ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2551

หมวด 1
มาตรา 7 ใหม้ ีคณะกรรมการบริหารงานบุคคลของขา้ ราชการครูและบุคลากร

ทางการศึกษาคณะหนึ่ง เรยี กวา่ “คณะกรรมการขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการ
ศกึ ษา” เรยี กโดยยอ่ วา่ “ก.ค.ศ.”
หมวด 2

มาตรา 31 อตั ราเงินเดอื น เงนิ วทิ ยฐานะ และเงนิ ประจาตาแหน่งของขา้ ราชการ
ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายวา่ ดว้ ยเงินเดอื น เงินวิทยฐานะ
และเงนิ ประจาตาแหนง่ ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
หมวด 3

มาตรา 38 ตาแหน่งขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษามี 3 ประเภท ดงั น้ี
ก. ตาแหน่งซง่ึ มีหนา้ ที่เป็ นผูส้ อนในหน่วยงานการศึกษา คือ ครูและครูผูช้ ่วย
ข. ตาแหน่งผูบ้ ริหารสถานศึกษาและผูบ้ ริหารการศึกษา คือ ผูอ้ านวยการ
สถานศกึ ษา และ รองผูอ้ านวยการสถานศึกษา ผูอ้ านวยการและรองผูอ้ านวยการ
สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ค. ตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอ่ืน คือ ศึกษานิเทศก์ และ สานักงาน
คณะกรรมการขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
หมวด 4
มาตรา 53 การบรรจแุ ละแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหน่งรองผูอ้ านวยการสถานศึกษา
ตาแหน่งผูอ้ านวยการสถานศึกษา ใหผ้ ูอ้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาเป็นผู้
มอี านาจสงั่ บรรจแุ ละแต่งตงั้ โดยอนมุ ตั ิ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้นื ท่กี ารศึกษา
มาตรา 59 การยา้ ยขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดไปดารง
ตาแหน่ง ในหน่วยงานการศึกษาอื่นภายในส่วนราชการหรือภายในเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาหรอื ตา่ งเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา ตอ้ งได้ รบั อนมุ ตั ิจาก อ.ก.ค.ศ.

กฎหมายและระเบยี บขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 40 กฎหมายการศึกษา

มาตรา 80 ใหม้ ีการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตง้ั
ใหด้ ารงตาแหน่งบางตาแหน่งและบางวิทยฐานะ เพื่อเพ่ิมพูนความรู้ ทักษะ
เจตคตทิ ีด่ ี คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชพี ทเ่ี หมาะสม

พระราชบญั ญตั ิ ระเบยี บขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
(ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2553

มาตรา 5 ใหก้ รรมการ ก.ค.ศ. ในส่วนของกรรมการผูแ้ ทนขา้ ราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาตามมาตรา 7 (5) ซง่ึ ปฏบิ ตั ิหนา้ ทีอ่ ยู่ในวนั ท่ีพระราชบญั ญตั นิ ้ี
ใชบ้ งั คบั ปฏิบตั ิหนา้ ท่ตี ่อไปจนกวา่ จะไดม้ ีการเลอื กตง้ั กรรมการผูแ้ ทนขา้ ราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษาตามพระราชบญั ญตั ิน้ี

มาตรา 6 ให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนท่ีการศึกษาท่ีมีอยู่ในวนั ท่ีพระราชบญั ญตั ิน้ีใช้
บงั คบั ทาหนา้ ทเ่ี ป็ น อ.ก.ค.ศ. เขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี

มาตรา 7 การใดอยู่ระหวา่ งดาเนินการหรอื เคยดาเนนิ การตามอานาจหน้าท่ีของ
อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนที่การศึกษา ในวนั ที่พระราชบัญญตั ิน้ีใชบ้ งั คบั เฉพาะเร่ืองการ
บรหิ ารงานบุคคล การดาเนินการทางวนิ ยั และการอุทธรณท์ ี่เก่ียวกบั ขา้ ราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษาการดาเนินการต่อไปในเรอื่ งนัน้ จะสมควรดาเนินการ
ประการใด และอยใู่ นอานาจของ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา เขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา ใหเ้ ป็ นไปตามหลกั เกณฑท์ ี่ ก.ค.ศ. กาหนด

พระราชบญั ญตั ิ ระเบยี บขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
(ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. 2562

มาตรา 1 พระราชบญั ญตั นิ ้ีเรยี กวา่ “พระราชบญั ญตั ริ ะเบียบขา้ ราชการครูและ
บุคลากร ทางการศึกษา (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. 2562”

มาตรา 2 พระราชบญั ญตั ิน้ีใหใ้ ชบ้ งั คบั ตง้ั แต่วนั ถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา เป็นตน้ ไป

กฎหมายการศึกษา 41 กฎหมายและระเบียบข้าราชการค ูรและบุคลากรทางการศึกษา

มาตรา 3 ใหย้ กเลกิ ความในมาตรา 102 แหง่ พระราชบญั ญตั ิระเบยี บขา้ ราชการ
ครูและ บุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547 และใหใ้ ชค้ วามต่อไปน้แี ทน

มาตรา 102 ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาผูใ้ ดซง่ึ ออกจากราชการอนั
มใิ ชเ่ พราะเหตุตาย มีกรณีถูกกล่าวหาเป็ นหนงั สือก่อนออกจากราชการว่า ขณะรบั
ราชการไดก้ ระทาหรอื ละเวน้ กระทาการใด อนั เป็นความผิดวนิ ยั อย่างรา้ ยแรง ถา้ เป็ น
การกล่าวหาต่อผูบ้ งั คบั บญั ชาของผูน้ น้ั หรือต่อผูม้ ีหนา้ ท่ีสืบสวน สอบสวนหรือ
ตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ หรือเป็ นการกล่าวหาของ
ผูบ้ งั คบั บญั ชา ของผูน้ น้ั หรอื มีกรณีถูกฟ้ องคดีอาญาหรือตอ้ งหาคดีอาญาก่อนออก
จากราชการวา่ ในขณะรบั ราชการได้ กระทาความผิดอาญาอนั มิใช่เป็ นความผิดที่ได้
กระทาโดยประมาทที่ไม่เกย่ี วกบั ราชการหรือความผิดลหุโทษ ผูม้ ีอานาจดาเนินการ
ทางวนิ ยั มอี านาจดาเนินการสืบสวนหรอื พจิ ารณา ดาเนินการทางวนิ ยั และสง่ั ลงโทษ
ตามท่บี ญั ญตั ไิ วใ้ นหมวดน้ีต่อไปไดเ้ สมอื นวา่ ผูน้ น้ั ยงั มไิ ดอ้ อกจากราชการ แต่ตอ้ งสงั่
ลงโทษภายในสามปี นบั แต่วนั ทผี่ ูน้ นั้ ออกจากราชการ

กรณีตามวรรคหน่ึง ถ้าเป็ นการกล่าวหา หรือฟ้ องคดีอาญาหรือต้องหา
คดีอาญาหลงั จากที่ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาผใู้ ดออกจากราชการแลว้
ใหผ้ ูม้ ีอานาจดาเนนิ การทางวนิ ยั มอี านาจดาเนินการสบื สวนหรอื พิจารณา ดาเนินการ
ทางวนิ ยั และสงั่ ลงโทษตามที่บญั ญตั ิไวใ้ นหมวดน้ตี อ่ ไปไดเ้ สมือนวา่ ผนู้ นั้ ยงั มิไดอ้ อก
จากราชการ โดยตอ้ งเรมิ่ ดาเนินการสอบสวนภายในหนึ่งปี นบั แต่วนั ที่ผูน้ น้ั ออกจาก
ราชการ และตอ้ งสง่ั ลงโทษภายในสามปี นบั แต่วนั ที่ผูน้ นั้ ออกจากราชการ สาหรบั
กรณีท่ีเป็ นความผิดที่ปรากฏชดั แจง้ ตามมาตรา 98 วรรคเจ็ด จะตอ้ งสงั่ ลงโทษ
ภายในสามปี นบั แต่วนั ทผี่ นู้ น้ั ออกจากราชการ

กฎหมายและระเบยี บขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 42 กฎหมายการศึกษา

ในกรณีที่ศาลปกครองมีคาพิพากษาถึงท่ีสุดใหเ้ พิกถอนคาส่งั ลงโทษ หรือ
องคก์ รพิจารณาอุทธรณ์คาสงั่ ลงโทษทางวินัยหรือองคก์ รตรวจสอบรายงานการ
ดาเนินการทางวนิ ยั มคี าวนิ ิจฉยั ถึงท่ีสุดหรอื มีมติใหเ้ พิกถอนคาสงั่ ลงโทษตามวรรค
หนึง่ หรอื วรรคสอง เพราะเหตกุ ระบวนการดาเนินการทางวนิ ยั ไม่ชอบดว้ ยกฎหมาย
ใหผ้ ูม้ ีอานาจดาเนนิ การทางวนิ ยั ดาเนินการทางวนิ ยั ใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในสองปี นบั แต่
วนั ทมี่ ีคาพิพากษาถงึ ทสี่ ุด หรอื มคี าวนิ จิ ฉยั ถงึ ทสี่ ุดหรอื มมี ติ แลว้ แตก่ รณี

การดาเนินการทางวินยั ตามวรรคหน่ึง วรรคสอง และวรรคสาม ถา้ ผลการ
สอบสวนพิจารณาปรากฏว่าผูน้ ัน้ กระทาผิดวินยั ไม่รา้ ยแรงก็ใหง้ ดโท ษ ความใน
มาตราน้มี ใิ หใ้ ชบ้ งั คบั แกข่ า้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาซงึ่ ถูกสง่ั ใหอ้ อกจาก
ราชการไวก้ อ่ นตามมาตรา 103

มาตรา 4 ใหเ้ พิม่ ความต่อไปน้เี ป็ นมาตรา 102/1 แห่งพระราชบญั ญตั ิระเบียบ
ขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547

มาตรา 102/1 ในกรณีที่คณะกรรมการป้ องกนั และปราบปรามการทุจริต
แห่งชาติ หรือคณะกรรมการป้ องกนั และปราบปรามการทุจรติ ในภาครฐั มีมติช้ีมูล
ความผิดขา้ ราชการครแู ละบุคลากร ทางการศึกษาผูใ้ ดซง่ึ ออกจากราชการแลว้ การ
ดาเนนิ การทางวนิ ยั และสงั่ ลงโทษแก่ขา้ ราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาผนู้ น้ั ให้
เป็ นไปตามหลกั เกณฑแ์ ละเง่ือนไขที่กาหนดไวใ้ นกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนูญ ว่า
ดว้ ยการป้ องกนั และปราบปรามการทุจริตหรือกฎหมายวา่ ดว้ ยมาตรการของฝ่ าย
บรหิ ารในการป้ องกนั และปราบปรามการทุจรติ แลว้ แต่กรณี การดาเนินการทาง
วนิ ยั ตามวรรคหนึ่ง หากปรากฏวา่ ผนู้ นั้ กระทาผิดวนิ ยั ไมร่ า้ ยแรงก็ใหง้ ดโทษ

กฎหมายการศึกษา 43 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ.2555

ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรวี ่าดว้ ยการลา
ของขา้ ราชการ พ.ศ.2555

ความเป็ นมา
ระเบียบสานักนายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยการลาของขา้ ราชการ พ.ศ. 2555 ได้

ประกาศใชบ้ งั คบั เป็ นระยะเวลาหน่ึง และไดเ้ พม่ิ เติมสิทธิการลาของขา้ ราชการรวม 2
ประเภท ไดแ้ ก่ การลาไปชว่ ยเหลอื ภรยิ าที่คลอดบุตร และการลาไปฟ้ื นฟูสมรถภาพ
ดา้ นอาชีพ เนื่องจากไดม้ ีการปรบั ปรุงระเบียบว่าดว้ ยการลาของขา้ ราชการใหม้ ี
ความหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั การปฏบิ ตั ริ าชการ ท่ีขา้ ราชการไดร้ บั นอกเหนือจาก
เงินเดือนซงึ่ เป็นคา่ ตอบแทนในการปฏบิ ตั งิ าน และใชร้ ะเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรวี า่
ดว้ ยการลาของขา้ ราชการ พ.ศ. 2555 เป็ นขอ้ บงั คบั ในการดาเนินการ เพื่อความ
สะดวกในการปฏิบตั ิของขา้ ราชการ หรอื ผูป้ ฏิบตั ิงานหน่วยงานราชการต่างก็มี
แนวทางปฏบิ ตั ทิ ่ีแตกตา่ งกนั และระเบยี บดงั กล่าวมผี ลต่อเน่ืองถึงการจ่ายเงินเดือน
ตลอดจนการจา่ ยเงินบาเหนจ็ บานาญใหแ้ กข่ า้ ราชการเมอื่ พน้ จากสว่ นราชการ

กฎหมายและระเบยี บท่เี กย่ี วขอ้ ง
ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการลาของขา้ ราชการ พ.ศ. 2555
- ใหป้ ลดั สานกั นายกรฐั มนตรรี กั ษาการตามระเบียบน้ีและมีอานาจตีความ
และวนิ จิ ฉยั ปัญหาเก่ียวกบั การปฏบิ ตั ิตามระเบียบน้ี
- พระราชกฤษฎกี าการจา่ ยเงนิ เดือน เงนิ ปี บาเหน็จ บานาญและเงนิ อ่นื ใน
ลกั ษณะเดยี วกนั พ.ศ. 2535
- พระราชกฤษฎีกาการจา่ ยเงินเดือน เงินปี บาเหนจ็ บานาญและเงนิ อ่นื ใน
ลกั ษณะเดียวกนั (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2539
- พระราชกฤษฎกี าการจา่ ยเงินเดือน เงนิ ปี บาเหนจ็ บานาญและเงินอ่ืน ในลกั ษ
ณะเดยี วกนั (ฉบบั ที่ 5) พ.ศ. 2555

ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรีวา่ ดว้ ยการลาของขา้ ราชการ พ.ศ.2555 44 กฎหมายการศึกษา

ประเภทการลา
ประเภทการลา แบ่งออกเป็น 11 ประเภท ดงั น้ี
1. การลาป่ วย
- ใหไ้ ดร้ บั เงนิ เดือนระหวา่ งลาไดใ้ นปี หนึ่งไม่เกิน 60 วนั ทาการ ยกเวน้ กรณีท่ี

ผูบ้ งั คบั บญั ชาระดบั อธบิ ดหี รอื เทยี บเท่าข้นึ ไปเหน็ สมควร ใหจ้ ่าย เงินเดือนต่อไปได้
อกี แตไ่ ม่เกนิ 60 วนั ทาการ

- ใหส้ ง่ ใบลาต่อผูบ้ งั คบั บญั ชากอ่ นหรอื ในวนั ท่ีลา เวน้ แตก่ รณีจาเป็นใหส้ ่ง ใบลา
ในวนั แรกที่มาปฏิบตั ิราชการ หากไมส่ ามารถลงชื่อในใบลาได้ ให้ ผอู้ นื่ ลาแทนได้ แต่
หากสามารถลงช่ือไดแ้ ลว้ ใหส้ ง่ ใบลาโดยเรว็

- กรณลี าป่ วยตงั้ แต่ 30 วนั ข้นึ ไป ตอ้ งมีใบรบั รองแพทย์
- กรณีลาป่ วยไมถ่ ึง 30 วนั ผูม้ อี านาจอนุญาตจะสง่ั ใหม้ ใี บรบั รองแพทยห์ รอื สง่ั
ใหผ้ ูล้ าไปรบั การตรวจจากแพทยก์ ไ็ ด้

2. การลาพกั ผอ่ น
- มีสิทธิลาพกั ผ่อน ในปี งบประมาณหน่ึงได้ 10 วนั ทาการ ยกเวน้ ขา้ ราชการ
ดงั ต่อไปน้ี

1. ขา้ ราชการบรรจใุ หม่ไมถ่ ึง 6 เดอื น
2. ขา้ ราชการท่ีลาออกเพราะเหตุส่วนตัว หรือเพ่ือดารงตาแหน่งทาง
การเมืองหรือเพื่อสมัครรบั เลือกต้ัง หรืออ่ืนๆ บรรจุกลบั เขา้ รบั ราชการไม่ถึง 6
เดอื น ยกเวน้ กรณีไปรบั ราชการทหารตามกฎหมาย และ ไปปฏิบตั ิงานตามความ
ประสงคข์ องทางราชการ
- หากปีใดลาไม่ครบ 10 วนั ทาการ ใหส้ ะสมรวมกบั ปี ต่อไปไดไ้ ม่เกิน 20 วนั ทา
การ ยกเวน้ ผทู้ ร่ี บั ราชการ ติดตอ่ กนั ไมน่ อ้ ยกวา่ 10 ปี ใหส้ ะสมรวมกบั ปีตอ่ ไปได้ ไม่
เกิน 30 วนั ทาการ
- ใหส้ ง่ ใบลาต่อผบู้ งั คบั บญั ชา เม่ือไดร้ บั อนญุ าตแลว้ จงึ หยุดราชการได้


Click to View FlipBook Version